แองเกิล (อังกฤษ: Angles) เป็นคำภาษาอังกฤษใหม่สำหรับเรียกกลุ่มผู้พูดภาษากลุ่มเจอร์แมนิกที่ได้ชื่อมาจากบริเวณการตั้งถิ่นฐานอังเงิลน์ (Angeln) ที่อยู่ในบริเวณรัฐชเลสวิช-ฮ็อลชไตน์ (Schleswig-Holstein) ในเยอรมนีปัจจุบัน แองเกิลเป็นกลุ่มชนหลักที่มาตั้งถิ่นฐานในบริเตนในช่วงเวลาหลังจากการล่มสลายของจักรวรรดิโรมัน (Fall of the Roman Empire) และก่อตั้งอาณาจักรหลายอาณาจักรในสมัยแองโกล-แซกซันของอังกฤษและ "Angles" เป็นรากของคำว่า "England" (อังกฤษ)
ที่มา
ชื่อกลุ่มชน "แองเกิล" สะกดได้หลายอย่าง แรกสุดสะกด "Anglii" ซึ่งเป็นการสะกดแบบละตินของกลุ่มชนเจอร์แมนิก ที่กล่าวถึงในหนังสือ "Germania" โดยนักประวัติศาสตร์โรมันแทซิทัส "Anglii" เป็นคุณศัพท์ ถ้าเป็นบุคคลในเผ่าที่เป็นผู้ชายก็จะเรียกว่า "Anglius" ถ้าเป็นผู้หญิงก็จะเรียกว่า "Anglia" (พหูพจน์ "Anglii" และ "Angliae" ตามลำดับ) คำเรียกผู้ชายเป็นคำที่ใช้เรียกทั่วไป
คำนามเดิมที่เป็นที่มาของคุณศัพท์ยังไม่ทราบแน่นอนว่าเป็นคำใด รากคำสันนิษฐานกันว่ามาจากโครงสร้าง *Ang?l/r- ทฤษฎีทางศัพท์มูลวิทยาต่าง ๆ ที่พยายามอธิบายที่มาของคำก็ได้แก่
- มาจากภาษาละตินของคำว่า "Angulus" ที่แปลว่า "Angle"
- มาจากภาษาอังกฤษเก่าที่ใช้เรียกบริเวณอังเงิลน์ในทะเลบอลติก ที่เชื่อกันว่าเป็นที่ตั้งถิ่นฐานเดิม ซึ่งเป็นทฤษฎีที่เป็นที่น่าเชื่อถือกว่าทฤษฎีอื่นในบรรดานักประวัติศาสตร์ และอาจจะมีส่วนเกี่ยวข้องกับคำว่า "Angle" (แหลมมีลักษณะเป็นเหลี่ยม)
- อาจจะหมายถึง "ผู้ตั้งถิ่นฐานใกล้บริเวณลำน้ำที่แคบ" (เช่น ปากน้ำชไล) จากรากจากภาษาอินโด-ยูโรเปียนดั้งเดิม "ang-" ที่แปลว่า "แคบ"
- มาจากชื่อ "Ingwaz" ผู้เป็นพระเจ้าของชนเจอร์แมนิก หรือ สหพันธ์ "Ingvaeones" ที่ชาวแองเกิลเป็นส่วนหนึ่ง (สระตัวแรกอาจจะเป็น "a" หรือ "e")
ทรงเปลี่ยนให้เขียนให้ง่ายขึ้นจาก "Anglii" เป็น "Angli" ในจดหมายของพระองค์ ซึ่งกลายเป็นคำที่นิยมใช้กันในบริเตนและยุโรปต่อมา แต่การเรียกประเทศยังคงใช้คำว่า "Anglia" ในภาษาละติน ขณะเดียวกันก็มีคำที่คล้ายคลึงกันทั้งการสะกดและความหมายในวรรณกรรมภาษาอังกฤษเก่า: งานแปล "โอโรเซียส" ของสมเด็จพระเจ้าอัลเฟรดมหาราช ใช้คำว่า "Angelcynn" (Angel-kin) ในการบรรยายดินแดนและชนอังกฤษ; นักบุญบีด ใช้คำว่า "Angelfolc" (Angel--folk); นอกจานั้นก็ยังมีการใช้คำว่า "Engel", "Englan" (ชน), "Englaland" และ "Englisc" ที่แสดงให้เห็นความวิวัฒนาการของการออกเสียงที่ต่อมากลายเป็นลักษณะที่นิยมกัน
"Angle" เป็นรากของภาษาฝรั่งเศสและของคำว่า "Angleterre" (Angleland = อังกฤษ) และ "Anglais" (ภาษาอังกฤษ)
อ้างอิง
- This article incorporates text from the article "Angli" by Hector Munro Chadwick, in the Encyclopædia Britannica, Eleventh Edition, a publication now in the public domain.
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha aexngekil xngkvs Angles epnkhaphasaxngkvsihmsahrberiykklumphuphudphasaklumecxraemnikthiidchuxmacakbriewnkartngthinthanxngengiln Angeln thixyuinbriewnrthchelswich hxlchitn Schleswig Holstein ineyxrmnipccubn aexngekilepnklumchnhlkthimatngthinthaninbrietninchwngewlahlngcakkarlmslaykhxngckrwrrdiormn Fall of the Roman Empire aelakxtngxanackrhlayxanackrinsmyaexngokl aesksnkhxngxngkvsaela Angles epnrakkhxngkhawa England xngkvs ckrwrrdiormnphayitckrphrrdiehedriyn pkkhrxng kh s 117 kh s 138 aesdngthitngkhxng Anglii thitngthinthanbriewnkhxaehlm ednmark thimachuxklumchn aexngekil sakdidhlayxyang aerksudsakd Anglii sungepnkarsakdaebblatinkhxngklumchnecxraemnik thiklawthunginhnngsux Germania odynkprawtisastrormnaethsiths Anglii epnkhunsphth thaepnbukhkhlinephathiepnphuchaykcaeriykwa Anglius thaepnphuhyingkcaeriykwa Anglia phhuphcn Anglii aela Angliae tamladb khaeriykphuchayepnkhathiicheriykthwip khanamedimthiepnthimakhxngkhunsphthyngimthrabaennxnwaepnkhaid rakkhasnnisthanknwamacakokhrngsrang Ang l r thvsdithangsphthmulwithyatang thiphyayamxthibaythimakhxngkhakidaek macakphasalatinkhxngkhawa Angulus thiaeplwa Angle macakphasaxngkvsekathiicheriykbriewnxngengilninthaelbxltik thiechuxknwaepnthitngthinthanedim sungepnthvsdithiepnthinaechuxthuxkwathvsdixuninbrrdankprawtisastr aelaxaccamiswnekiywkhxngkbkhawa Angle aehlmmilksnaepnehliym xaccahmaythung phutngthinthaniklbriewnlanathiaekhb echn paknachil cakrakcakphasaxinod yuorepiyndngedim ang thiaeplwa aekhb macakchux Ingwaz phuepnphraecakhxngchnecxraemnik hrux shphnth Ingvaeones thichawaexngekilepnswnhnung sratwaerkxaccaepn a hrux e thrngepliynihekhiynihngaykhuncak Anglii epn Angli incdhmaykhxngphraxngkh sungklayepnkhathiniymichkninbrietnaelayuorptxma aetkareriykpraethsyngkhngichkhawa Anglia inphasalatin khnaediywknkmikhathikhlaykhlungknthngkarsakdaelakhwamhmayinwrrnkrrmphasaxngkvseka nganaepl oxoresiys khxngsmedcphraecaxlefrdmharach ichkhawa Angelcynn Angel kin inkarbrryaydinaednaelachnxngkvs nkbuybid ichkhawa Angelfolc Angel folk nxkcannkyngmikarichkhawa Engel Englan chn Englaland aela Englisc thiaesdngihehnkhwamwiwthnakarkhxngkarxxkesiyngthitxmaklayepnlksnathiniymkn Angle epnrakkhxngphasafrngessaelakhxngkhawa Angleterre Angleland xngkvs aela Anglais phasaxngkvs xangxingThis article incorporates text from the article Angli by Hector Munro Chadwick in the Encyclopaedia Britannica Eleventh Edition a publication now in the public domain duephimprawtisastrxngkvs prawtisastrkhxnghmuekaaxngkvsbthkhwamprawtisastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk