ในทาง ชะทอยยันซี (อังกฤษ: chatoyancy, /ʃəˈtɔɪ.ənsi/) หรือปรากฏการณ์ตาแมว คือการเหลือบแสงเป็นปรากฏการณ์การสะท้อนแสงของแร่โปร่งแสงบางชนิด ทำให้เกิดความวาวคล้ายไหมหรือคล้ายตาแมว มีลักษณะเป็นแถบแสงเหลือบตั้งฉากกับความยาวของเส้นใยหรือแนวของมลทิน เนื่องจากแร่นั้นประกอบด้วยเส้นใยรูปเข็มหรือรูปท่อ ช่องว่างที่เป็นแนวยาวคล้ายเสี้ยน หรือมลทินที่เรียงตัวขนานกัน การเหลือบแสงนี้พบได้ชัดเจนในแร่ที่เจียระไนแบบหลังเบี้ยโดยการจัดให้รับแสง เช่น แร่คริโซเบริลชนิดไพฑูรย์ (แก้วตาแมว) แร่ควอตซ์แทนที่แร่ (แก้วตาเสือ) โอปอล


อ้างอิง
- พจนานุกรม ศัพท์ธรณีวิทยา พ.ศ. 2530
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inthang chathxyynsi xngkvs chatoyancy ʃeˈtɔɪ ensi hruxpraktkarntaaemw khuxkarehluxbaesngepnpraktkarnkarsathxnaesngkhxngaeroprngaesngbangchnid thaihekidkhwamwawkhlayihmhruxkhlaytaaemw milksnaepnaethbaesngehluxbtngchakkbkhwamyawkhxngesniyhruxaenwkhxngmlthin enuxngcakaernnprakxbdwyesniyrupekhmhruxrupthx chxngwangthiepnaenwyawkhlayesiyn hruxmlthinthieriyngtwkhnankn karehluxbaesngniphbidchdecninaerthieciyrainaebbhlngebiyodykarcdihrbaesng echn aerkhriosebrilchnidiphthury aekwtaaemw aerkhwxtsaethnthiaer aekwtaesux oxpxlaekwtaesuxxangxingphcnanukrm sphththrniwithya ph s 2530