บทความนี้ไม่มีจาก |
จูลีโอ โรมาโน (อิตาลี: Giulio Romano) (ราว ค.ศ. 1499 - 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1546) เป็นจิตรกรและสถาปนิกสมัยเรอเนซองส์ชาวอิตาลีผู้มีความเชี่ยวชาญทางการเขียนจิตรกรรมฝาผนัง จูลีโอ โรมาโนเป็นลูกศิษย์คนสำคัญของราฟาเอล ลักษณะการเขียนแบบเรอเนซองส์สูงของจูลีโอมีส่วนช่วยในการวางพื้นฐานของงานศิลปะยุคต่อมาในคริสต์ศตวรรษที่ 16 ที่เรียกว่าแมนเนอริสม์ งานเขียนเส้นของจูลีโอเป็นงานที่เป็นที่นิยมของนักสะสม ซึ่งมาร์คานโตนิโอ ราอิมอนดินำไปแกะพิมพ์เป็นการทำให้เป็นการเผยแพร่งานแบบอิตาลีไปทั่วยุโรป
จูลีโอ โรมาโน |
---|
ดูเพิ่ม
แหล่งข้อมูลอื่น
วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ จูลีโอ โรมาโน วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ จิตรกรรมฝาผนังในวังเตที่มานตัว
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir bthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha culiox ormaon xitali Giulio Romano raw kh s 1499 1 phvscikayn kh s 1546 epncitrkraelasthapniksmyerxensxngschawxitaliphumikhwamechiywchaythangkarekhiyncitrkrrmfaphnng culiox ormaonepnluksisykhnsakhykhxngrafaexl lksnakarekhiynaebberxensxngssungkhxngculioxmiswnchwyinkarwangphunthankhxngngansilpayukhtxmainkhriststwrrsthi 16 thieriykwaaemnenxrism nganekhiynesnkhxngculioxepnnganthiepnthiniymkhxngnksasm sungmarkhanotniox raximxndinaipaekaphimphepnkarthaihepnkarephyaephrnganaebbxitaliipthwyuorpculiox ormaonduephimsilpaerxensxngs citrkrrmfaphnng hxngrafaexlaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb culiox ormaon wikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb culiox ormaon wikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb citrkrrmfaphnnginwngetthimantw bthkhwamchiwprawtiniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk