ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (อังกฤษ: geographic information system, GIS) คือ กระบวนการทำงานเกี่ยวกับ (spatial data) ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยการกำหนดข้อมูลเชิงบรรยายหรือข้อมูลคุณลักษณะ (attribute data) และสารสนเทศ เช่น ที่อยู่ บ้านเลขที่ ที่มีความสัมพันธ์กับตำแหน่งในเชิงพื้นที่ (spatial data) เช่น ตำแหน่งบ้าน ถนน แม่น้ำ เป็นต้น ในรูปของ ตารางข้อมูล และ ฐานข้อมูล
ระบบ GIS ประกอบไปด้วยชุดของเครื่องมือที่มีความสามารถในการเก็บรวบรวม ปรับปรุงและการสืบค้นข้อมูล เพื่อจัดเตรียม ปรับแต่ง วิเคราะห์และการแสดงผลข้อมูลเชิงพื้นที่ เพื่อให้สอดคล้องตามวัตถุประสงค์การใช้งาน ซึ่งรูปแบบและความสัมพันธ์ของข้อมูลเชิงพื้นที่ทั้งหลาย จะสามารถนำมาวิเคราะห์ด้วย GIS ให้สื่อความหมายในเรื่องการเปลี่ยนแปลงที่สัมพันธ์กับช่วงเวลาได้ เช่น
- การแพร่ขยายของโรคระบาด
- การบุกรุกทำลาย
- การเปลี่ยนแปลงของการใช้พื้นที่
ข้อมูลเหล่านี้ เมื่อปรากฏบนแผนที่ทำให้สามารถแปล สื่อความหมาย และนำไปใช้งานได้ง่าย
ข้อมูลใน GIS ทั้งข้อมูลเชิงพื้นที่และข้อมูลเชิงบรรยาย สามารถอ้างอิงถึงตำแหน่งที่มีอยู่จริงบนพื้นโลกได้โดยอาศัยระบบพิกัดทางภูมิศาสตร์ (geocode) ซึ่งจะสามารถอ้างอิงได้ทั้งทางตรงและทางอ้อม ข้อมูลใน GIS ที่อ้างอิงกับพื้นผิวโลกโดยตรง หมายถึง ข้อมูลที่มีค่าพิกัดหรือมีตำแหน่งจริงบนพื้นโลกหรือในแผนที่ เช่น ตำแหน่งอาคาร ถนน ฯลฯ สำหรับข้อมูล GIS ที่จะอ้างอิงกับข้อมูลบนพื้นโลกได้โดยทางอ้อมได้แก่ ข้อมูลของบ้าน (รวมถึงบ้านเลขที่ เขต แขวง จังหวัด และรหัสไปรษณีย์) โดยจากข้อมูลที่อยู่ เราสามารถทราบได้ว่าบ้านหลังนี้มีตำแหน่งอยู่ ณ ที่ใดบนพื้นโลก เนื่องจากบ้านทุกหลังจะมีที่อยู่ไม่ซ้ำกัน
องค์ประกอบ
องค์ประกอบหลักของระบบ GIS จัดแบ่งออกเป็น 5 ส่วนใหญ่ ๆ คือ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ (hardware) โปรแกรม (software) ขั้นตอนการทำงาน (methods) ข้อมูล (data) และบุคลากร (people) โดยมีรายละเอียดของแต่ละองค์ประกอบดังต่อไปนี้
- อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ คือ เครื่องคอมพิวเตอร์รวมไปถึงอุปกรณ์ต่อพ่วงต่าง ๆ เช่น ดิจิไทเซอร์ สแกนเนอร์ เครื่องพิมพ์ หรืออื่น ๆ เพื่อใช้ในการนำเข้าข้อมูล ประมวลผล แสดงผล และผลิตผลลัพธ์ของการทำงาน
- โปรแกรม คือชุดของคำสั่งสำเร็จรูป เช่น โปรแกรม Arc/Info, MapInfo ฯลฯ ซึ่งประกอบด้วยฟังก์ชัน การทำงานและเครื่องมือที่จำเป็นต่าง ๆ สำหรับนำเข้าและปรับแต่งข้อมูล, จัดการระบบฐานข้อมูล, เรียกค้น, วิเคราะห์ และ จำลองภาพ
- ข้อมูล คือข้อมูลต่าง ๆ ที่จะใช้ในระบบ GIS และถูกจัดเก็บในรูปแบบของฐานข้อมูล โดยได้รับการดูแลจากระบบจัดการฐานข้อมูลหรือ DBMS ข้อมูลจะเป็นองค์ประกอบที่สำคัญรองลงมาจากบุคลากร
- บุคลากร คือ ผู้ปฏิบัติงานซึ่งเกี่ยวข้องกับระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เช่น ผู้นำเข้าข้อมูล ช่างเทคนิค ผู้ดูแลระบบฐานข้อมูล ผู้เชี่ยวชาญสำหรับวิเคราะห์ข้อมูล ผู้บริหารซึ่งต้องใช้ข้อมูลในการตัดสินใจ บุคลากรจะเป็นองค์ประกอบที่สำคัญที่สุดในระบบ GIS เนื่องจากถ้าขาดบุคลากร ข้อมูลที่มีอยู่มากมายมหาศาลนั้น ก็จะเป็นเพียงขยะไม่มีคุณค่าใดเลยเพราะไม่ได้ถูกนำไปใช้งาน อาจจะกล่าวได้ว่า ถ้าขาดบุคลากรก็จะไม่มีระบบ GIS
- วิธีการหรือขั้นตอนการทำงาน คือวิธีการที่องค์กรนั้น ๆ นำเอาระบบ GIS ไปใช้งานโดยแต่ละระบบแต่ละองค์กรย่อมมีความแตกต่างกันออกไป ฉะนั้นผู้ปฏิบัติงานต้องเลือกวิธีการในการจัดการกับปัญหาที่เหมาะสมที่สุดสำหรับของหน่วยงานนั้น ๆ เอง
การทำงาน
ภาระหน้าที่หลัก ๆ ของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์มีอยู่ด้วยกัน 5 อย่างดังนี้
- การนำเข้าข้อมูล (input) ก่อนที่ข้อมูลทางภูมิศาสตร์จะถูกใช้งานได้ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ข้อมูลจะต้องได้รับการแปลง ให้มาอยู่ในรูปแบบของข้อมูล เชิงตัวเลข (digital format) เสียก่อน เช่น จากแผนที่กระดาษไปสู่ข้อมูลใน รูปแบบดิจิตอลหรือแฟ้มข้อมูลบนเครื่องคอมพิวเตอร์อุปกรณ์ที่ใช้ในการนำเข้าเช่น Digitizer Scanner หรือ Keyboard เป็นต้น
- การปรับแต่งข้อมูล (manipulation) ข้อมูลที่ได้รับเข้าสู่ระบบบางอย่างจำเป็นต้องได้รับการปรับแต่งให้เหมาะสมกับงาน เช่น ข้อมูลบางอย่างมีขนาด หรือสเกล (scale) ที่แตกต่างกัน หรือใช้ระบบพิกัดแผนที่ที่แตกต่างกัน ข้อมูลเหล่านี้จะต้องได้รับการปรับให้อยู่ใน ระดับเดียวกันเสียก่อน
- การบริหารข้อมูล (management) ระบบจัดการฐานข้อมูลหรือ DBMS จะถูกนำมาใช้ในการบริหารข้อมูลเพื่อการทำงานที่มีประสิทธิภาพในระบบ GIS DBMS ที่ได้รับการเชื่อถือและนิยมใช้กันอย่างกว้างขวางที่สุดคือ DBMS แบบ Relational หรือระบบจัดการฐานข้อมูลแบบสัมพัทธ์ () ซึ่งมีหลักการทำงานพื้นฐาน ดังนี้คือ ข้อมูลจะถูกจัดเก็บ ในรูปของตารางหลาย ๆ ตาราง
- การเรียกค้นและวิเคราะห์ข้อมูล (query and analysis) เมื่อระบบ GIS มีความพร้อมในเรื่องของข้อมูลแล้ว ขั้นตอนต่อไป คือ การนำข้อมูลเหล่านี่มาใช้ให้เกิด ประโยชน์ เช่น ใครคือเจ้าของกรรมสิทธิ์ในที่ดินผืนที่ติดกับโรงเรียน? เมืองสองเมืองนี้มีระยะห่างกันกี่กิโลเมตร? ดินชนิดใดบ้างที่เหมาะสำหรับปลูกอ้อย? หรือ ต้องมีการสอบถามอย่างง่าย ๆ เช่น ชี้เมาส์ไปในบริเวณที่ต้องการแล้วเลือก (point and click) เพื่อสอบถามหรือเรียกค้นข้อมูล นอกจากนี้ระบบ GIS ยังมีเครื่องมือในการวิเคราะห์ เช่น การวิเคราะห์เชิงประมาณค่า (proximity หรือ buffer) การวิเคราะห์เชิงซ้อน (overlay analysis) เป็นต้น
- การนำเสนอข้อมูล (visualization) จากการดำเนินการเรียกค้นและวิเคราะห์ข้อมูล ผลลัพธ์ที่ได้จะอยู่ในรูปของตัวเลขหรือตัวอักษร ซึ่งยากต่อการตีความหมายหรือทำความเข้าใจ การนำเสนอข้อมูลที่ดี เช่น การแสดงชาร์ต (chart) แบบ 2 มิติ หรือ 3 มิติ รูปภาพจากสถานที่จริง ภาพเคลื่อนไหว แผนที่ หรือแม้กระทั่งระบบมัลติมีเดีย สื่อต่าง ๆ เหล่านี้จะทำให้ผู้ใช้เข้าใจความหมายและมองภาพของผลลัพธ์ที่กำลังนำเสนอได้ดียิ่งขึ้นอีก
ลักษณะข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
โลกมีความสลับซับซ้อนมากเกินกว่าที่จะเก็บข้อมูลทั้งหมดเกี่ยวกับโลกไว้ในรูปข้อมูลด้วยระบบคอมพิวเตอร์ จึงต้องเปลี่ยนปรากฏการณ์บน ผิวโลกจัดเก็บในรูปของตัวเลขเชิงรหัส (digital form) โดยแทนปรากฏการณ์เหล่านั้นด้วยลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่เรียกว่าฟีเจอร์ (feature)
ประเภทของคุณลักษณะ
ประเภทของคุณลักษณะของจีไอเอส ลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่เป็นตัวแทนของปรากฏการณ์ทางภูมิศาสตร์บนโลกแผนที่กระดาษบันทึกตำแหน่งทางภูมิศาสตร์และแทนสิ่งต่างๆ บนโลกที่เป็นลายเส้นและพื้นที่ด้วยสัญลักษณ์แบบ จุด เส้น พื้นที่และตัวอักษร ในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์จะใช้ feature ประเภทต่างๆ ในการแทนปรากฏการณ์โดยแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้
เมทาเดตา (metadata) ของระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
สารสนเทศภูมิศาสตร์-การอธิบายข้อมูล เป็นรูปแบบหรือแบบแผนของเมทาเดตาที่ใช้ในการอธิบายข้อมูลหรือกลุ่มของข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์หรือข้อมูลที่ได้จากระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ เป็นอีกแบบแผนหนึ่งของการอธิบายซึ่งถูกกำหนดขึ้นโดยคณะกรรมการวิชาการชุดที่ 211 ขององค์กรมาตรฐานระหว่างประเทศ หรือ ISO/TC211[]แบบแผนของเมทาเดตานี้ประกาศเป็นมาตรฐานระหว่างประเทศในปี ค.ศ. 2003 ภายใต้ชื่อมาตรฐาน ISO 19115: Geographic information-Metadata ประเทศไทยโดยสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม (สมอ.) ซึ่งเป็นสมาชิกขององค์กรมาตรฐานระหว่างประเทศดังกล่าว ได้นำมาประกาศใช้เป็นมาตรฐานของประเทศคือ มอก.19115-2548 "สารสนเทศภูมิศาสตร์-การอธิบายข้อมูล" โดยเนื้อหาและแบบแผนของเมทาเดตานั้นยังคงอ้างอิงฉบับภาษาอังกฤษเป็นหลัก ซึ่งการประกาศเป็นมาตรฐานในรูปแบบดังกล่าวเรียกว่า นำมาใช้ในระดับเหมือนกันทุกประการ (Identical)
การใช้งาน
มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนี้กำหนดเค้าร่าง (schema) ที่ต้องการสำหรับการอธิบายสารสนเทศภูมิศาสตร์และการบริการ โดยให้สารสนเทศเกี่ยวกับการบ่งชี้ ขอบเขต คุณภาพ เค้าร่าง เชิงพื้นที่และเชิงเวลา การอ้างอิงเชิงพื้นที่ การเผยแพร่ของสารสนเทศภูมิศาสตร์เชิงเลข
อ้างอิง
- Bolstad, P. (2005) GIS Fundamentals: A first text on Geographic Information Systems, Second Edition. White Bear Lake, MN: Eider Press, 543 pp.
- Burrough, P.A. and McDonnell, R.A. (1998) Principles of geographical information systems. Oxford University Press, Oxford, 327 pp.
- Chang, K. (2007) Introduction to Geographic Information System, 4th Edition. McGraw Hill.
แหล่งข้อมูลอื่น
- "ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ (Geographic Information System) GIS" - GIS Thai
- ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงมหาดไทย 2011-08-17 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
rabbsarsnethsphumisastr xngkvs geographic information system GIS khux krabwnkarthanganekiywkb spatial data dwyrabbkhxmphiwetxr odykarkahndkhxmulechingbrryayhruxkhxmulkhunlksna attribute data aelasarsneths echn thixyu banelkhthi thimikhwamsmphnthkbtaaehnnginechingphunthi spatial data echn taaehnngban thnn aemna epntn inrupkhxng tarangkhxmul aela thankhxmultwxyangaephnthiichinkaraebngosnxasy srangodyichrabbciixexs odyopraekrm chux ArcGIS rabb GIS prakxbipdwychudkhxngekhruxngmuxthimikhwamsamarthinkarekbrwbrwm prbprungaelakarsubkhnkhxmul ephuxcdetriym prbaetng wiekhraahaelakaraesdngphlkhxmulechingphunthi ephuxihsxdkhlxngtamwtthuprasngkhkarichngan sungrupaebbaelakhwamsmphnthkhxngkhxmulechingphunthithnghlay casamarthnamawiekhraahdwy GIS ihsuxkhwamhmayineruxngkarepliynaeplngthismphnthkbchwngewlaid echn karaephrkhyaykhxngorkhrabad karbukrukthalay karepliynaeplngkhxngkarichphunthi khxmulehlani emuxpraktbnaephnthithaihsamarthaepl suxkhwamhmay aelanaipichnganidngay khxmulin GIS thngkhxmulechingphunthiaelakhxmulechingbrryay samarthxangxingthungtaaehnngthimixyucringbnphunolkidodyxasyrabbphikdthangphumisastr geocode sungcasamarthxangxingidthngthangtrngaelathangxxm khxmulin GIS thixangxingkbphunphiwolkodytrng hmaythung khxmulthimikhaphikdhruxmitaaehnngcringbnphunolkhruxinaephnthi echn taaehnngxakhar thnn l sahrbkhxmul GIS thicaxangxingkbkhxmulbnphunolkidodythangxxmidaek khxmulkhxngban rwmthungbanelkhthi ekht aekhwng cnghwd aelarhsiprsniy odycakkhxmulthixyu erasamarththrabidwabanhlngnimitaaehnngxyu n thiidbnphunolk enuxngcakbanthukhlngcamithixyuimsaknxngkhprakxbxngkhprakxbhlkkhxngrabb GIS cdaebngxxkepn 5 swnihy khux xupkrnkhxmphiwetxr hardware opraekrm software khntxnkarthangan methods khxmul data aelabukhlakr people odymiraylaexiydkhxngaetlaxngkhprakxbdngtxipni xupkrnkhxmphiwetxr khux ekhruxngkhxmphiwetxrrwmipthungxupkrntxphwngtang echn diciithesxr saeknenxr ekhruxngphimph hruxxun ephuxichinkarnaekhakhxmul pramwlphl aesdngphl aelaphlitphllphthkhxngkarthangan opraekrm khuxchudkhxngkhasngsaercrup echn opraekrm Arc Info MapInfo l sungprakxbdwyfngkchn karthanganaelaekhruxngmuxthicaepntang sahrbnaekhaaelaprbaetngkhxmul cdkarrabbthankhxmul eriykkhn wiekhraah aela calxngphaph khxmul khuxkhxmultang thicaichinrabb GIS aelathukcdekbinrupaebbkhxngthankhxmul odyidrbkarduaelcakrabbcdkarthankhxmulhrux DBMS khxmulcaepnxngkhprakxbthisakhyrxnglngmacakbukhlakr bukhlakr khux phuptibtingansungekiywkhxngkbrabbsarsnethsphumisastr echn phunaekhakhxmul changethkhnikh phuduaelrabbthankhxmul phuechiywchaysahrbwiekhraahkhxmul phubriharsungtxngichkhxmulinkartdsinic bukhlakrcaepnxngkhprakxbthisakhythisudinrabb GIS enuxngcakthakhadbukhlakr khxmulthimixyumakmaymhasalnn kcaepnephiyngkhyaimmikhunkhaidelyephraaimidthuknaipichngan xaccaklawidwa thakhadbukhlakrkcaimmirabb GIS withikarhruxkhntxnkarthangan khuxwithikarthixngkhkrnn naexarabb GIS ipichnganodyaetlarabbaetlaxngkhkryxmmikhwamaetktangknxxkip channphuptibtingantxngeluxkwithikarinkarcdkarkbpyhathiehmaasmthisudsahrbkhxnghnwyngannn exngkarthanganpharahnathihlk khxngrabbsarsnethsphumisastrmixyudwykn 5 xyangdngni karnaekhakhxmul input kxnthikhxmulthangphumisastrcathukichnganidinrabbsarsnethsphumisastr khxmulcatxngidrbkaraeplng ihmaxyuinrupaebbkhxngkhxmul echingtwelkh digital format esiykxn echn cakaephnthikradasipsukhxmulin rupaebbdicitxlhruxaefmkhxmulbnekhruxngkhxmphiwetxrxupkrnthiichinkarnaekhaechn Digitizer Scanner hrux Keyboard epntn karprbaetngkhxmul manipulation khxmulthiidrbekhasurabbbangxyangcaepntxngidrbkarprbaetngihehmaasmkbngan echn khxmulbangxyangmikhnad hruxsekl scale thiaetktangkn hruxichrabbphikdaephnthithiaetktangkn khxmulehlanicatxngidrbkarprbihxyuin radbediywknesiykxn karbriharkhxmul management rabbcdkarthankhxmulhrux DBMS cathuknamaichinkarbriharkhxmulephuxkarthanganthimiprasiththiphaphinrabb GIS DBMS thiidrbkarechuxthuxaelaniymichknxyangkwangkhwangthisudkhux DBMS aebb Relational hruxrabbcdkarthankhxmulaebbsmphthth sungmihlkkarthanganphunthan dngnikhux khxmulcathukcdekb inrupkhxngtaranghlay tarang kareriykkhnaelawiekhraahkhxmul query and analysis emuxrabb GIS mikhwamphrxmineruxngkhxngkhxmulaelw khntxntxip khux karnakhxmulehlanimaichihekid praoychn echn ikhrkhuxecakhxngkrrmsiththiinthidinphunthitidkborngeriyn emuxngsxngemuxngnimirayahangknkikiolemtr dinchnididbangthiehmaasahrbplukxxy hrux txngmikarsxbthamxyangngay echn chiemasipinbriewnthitxngkaraelweluxk point and click ephuxsxbthamhruxeriykkhnkhxmul nxkcaknirabb GIS yngmiekhruxngmuxinkarwiekhraah echn karwiekhraahechingpramankha proximity hrux buffer karwiekhraahechingsxn overlay analysis epntn karnaesnxkhxmul visualization cakkardaeninkareriykkhnaelawiekhraahkhxmul phllphththiidcaxyuinrupkhxngtwelkhhruxtwxksr sungyaktxkartikhwamhmayhruxthakhwamekhaic karnaesnxkhxmulthidi echn karaesdngchart chart aebb 2 miti hrux 3 miti rupphaphcaksthanthicring phaphekhluxnihw aephnthi hruxaemkrathngrabbmltimiediy suxtang ehlanicathaihphuichekhaickhwamhmayaelamxngphaphkhxngphllphththikalngnaesnxiddiyingkhunxiklksnakhxmulinrabbsarsnethsphumisastrolkmikhwamslbsbsxnmakekinkwathicaekbkhxmulthnghmdekiywkbolkiwinrupkhxmuldwyrabbkhxmphiwetxr cungtxngepliynpraktkarnbn phiwolkcdekbinrupkhxngtwelkhechingrhs digital form odyaethnpraktkarnehlanndwylksnathangphumisastrthieriykwafiecxr feature praephthkhxngkhunlksnapraephthkhxngkhunlksnakhxngciixexs lksnathangphumisastrthiepntwaethnkhxngpraktkarnthangphumisastrbnolkaephnthikradasbnthuktaaehnngthangphumisastraelaaethnsingtang bnolkthiepnlayesnaelaphunthidwysylksnaebb cud esn phunthiaelatwxksr inrabbsarsnethsphumisastrcaich feature praephthtang inkaraethnpraktkarnodyaebngxxkepn 3 klum dngni cud point esn line ophlikxn polygon emthaedta metadata khxngrabbsarsnethsphumisastrsarsnethsphumisastr karxthibaykhxmul epnrupaebbhruxaebbaephnkhxngemthaedtathiichinkarxthibaykhxmulhruxklumkhxngkhxmulsarsnethsphumisastrhruxkhxmulthiidcakrabbsarsnethsphumisastr epnxikaebbaephnhnungkhxngkarxthibaysungthukkahndkhunodykhnakrrmkarwichakarchudthi 211 khxngxngkhkrmatrthanrahwangpraeths hrux ISO TC211 lingkesiy aebbaephnkhxngemthaedtaniprakasepnmatrthanrahwangpraethsinpi kh s 2003 phayitchuxmatrthan ISO 19115 Geographic information Metadata praethsithyodysanknganmatrthanphlitphnthxutsahkrrm smx sungepnsmachikkhxngxngkhkrmatrthanrahwangpraethsdngklaw idnamaprakasichepnmatrthankhxngpraethskhux mxk 19115 2548 sarsnethsphumisastr karxthibaykhxmul odyenuxhaaelaaebbaephnkhxngemthaedtannyngkhngxangxingchbbphasaxngkvsepnhlk sungkarprakasepnmatrthaninrupaebbdngklaweriykwa namaichinradbehmuxnknthukprakar Identical karichngan matrthanphlitphnthxutsahkrrmnikahndekharang schema thitxngkarsahrbkarxthibaysarsnethsphumisastraelakarbrikar odyihsarsnethsekiywkbkarbngchi khxbekht khunphaph ekharang echingphunthiaelaechingewla karxangxingechingphunthi karephyaephrkhxngsarsnethsphumisastrechingelkhxangxingBolstad P 2005 GIS Fundamentals A first text on Geographic Information Systems Second Edition White Bear Lake MN Eider Press 543 pp Burrough P A and McDonnell R A 1998 Principles of geographical information systems Oxford University Press Oxford 327 pp Chang K 2007 Introduction to Geographic Information System 4th Edition McGraw Hill aehlngkhxmulxun rabbsarsnethsphumisastr Geographic Information System GIS GIS Thai rabbsarsnethsphumisastr sanknganpldkrathrwngmhadithy 2011 08 17 thi ewyaebkaemchchin