ศาสตราจารย์ จิตต์ลัดดา ศักดาภิพาณิชย์ เกิดวันที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2514 เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวไทย สาขาเคมีและ พอลิเมอร์ เชี่ยวชาญเป็นพิเศษในเรื่องของเทคโนโลยียาง การวิเคราะห์และพัฒนาการใช้ประโยชน์จากยางธรรมชาติ โดยได้ร่วมมือกับบริษัทเอกชนหลายๆ แห่ง พัฒนานวัตกรรมด้านกระบวนการผลิต สร้างมูลค่าเพิ่มให้ ‘ยางสกิม’ โดยใช้เป็นวัตถุดิบสำหรับผลิตกาวที่ใช้ในการแพทย์ และใช้เป็นวัตถุดิบสำหรับผลิตหมากฝรั่ง ซึ่งนับเป็นกรณีแรกของงานวิจัยในเชิงเทคโนโลยีของโลก ที่นำน้ำยางธรรมชาติไปใช้ผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ทางอาหารได้ จนสามารถคว้ารางวัลรางวัลนักเทคโนโลยีรุ่นใหม่ ประจำปี พ.ศ. 2548 จากมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในพระบรมราชูปถัมภ์ และรางวัล สาขาธุรกิจชีวภาพ ประจำปี พ.ศ. 2549 จากสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ศ.ดร. จิตต์ลัดดา (ตั้งภักดี) สมรสกับ นพ. พยุงศักดิ์ ศักดาภิพาณิชย์ มีบุตรชาย 2 คน
ประวัติ
การศึกษา
- จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ที่โรงเรียนสีตบุตรบำรุง และระดับมัธยมศึกษา ที่โรงเรียนสตรีมหาพฤฒาราม
- พ.ศ. 2532-2535 - ปริญญาตรี วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาเคมี (เกียรตินิยมอันดับสอง) จาก คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2537-2539 - Master Degree of Engineering (Honor) จาก Tokyo University of Agriculture and Technology ประเทศญี่ปุ่น โดย (Monbusho) ของรัฐบาลญี่ปุ่น
- พ.ศ. 2539-2541 - Doctor Degree of Engineering (Honor) จาก Tokyo University of Agriculture and Technology ประเทศญี่ปุ่น โดยทุนมงบุโช ของรัฐบาลญี่ปุ่น
ประวัติการทำงาน
- พ.ศ. 2541 - อาจารย์ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2543 - ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2546 - รองศาสตราจารย์ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- พ.ศ. 2554 - ศาสตราจารย์ ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- ปัจจุบันเป็นนักวิจัยใน หน่วยวิจัยเทคโนโลยียาง 2012-02-11 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
- และนักวิจัยประจำหน่วยวิจัยยาง ของ มหาวิทยาลัยมหิดล
เกียรติคุณและรางวัล
- พ.ศ. 2542-2545 และ 2546-2549 - เมธีวิจัย จากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
- พ.ศ. 2545 - Young Scientist Award จาก TORAY Foundation ประเทศไทย
- พ.ศ. 2546 - Young Scientist Award จาก ENO Foundation ประเทศญี่ปุ่น
- พ.ศ. 2548 - รางวัล จากมูลนิธิส่งเสริมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในพระบรมราชูปถัมภ์
- พ.ศ. 2549 - รางวัลเมธีส่งเสริมนวัตกรรม สาขาธุรกิจชีวภาพ จากสำนักงานนวัตกรรมแห่งชาติ
- พ.ศ. 2549 - รางวัล Young ASIAN Biotechnologist Prize 2006 จาก The Society for Biotechnology, Osaka, Japan
ผลงานวิจัยที่สำคัญ
ศ.ดร.จิตต์ลัดดา ศักดาภิพาณิชย์ มีผลงานวิจัยที่ตีพิมพ์ในวารสารวิชาการต่างประเทศ จำนวนกว่า 105 เรื่อง สิทธิบัตร จำนวน 18 เรื่อง เป็นเจ้าของผลงานการพัฒนายางสกิมและสารที่มีคุณค่าทางเศรษฐกิจจากของเสียที่ได้จากอุตสาหกรรมน้ำยางธรรมชาติ โดยสามารถพัฒนาพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตยางเกรดพิเศษจากยางสกิม (ยางที่เหลือจากหางน้ำยาง ซึ่งโดยปกติจัดว่าเป็นของเสียจากกระบวนการปั่นน้ำยางธรรมชาติ) เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในงานอุตสาหกรรมบางประเภทแทนการใช้ยางสังเคราะห์ โดยสามารถประยุกต์ใช้ได้กับอุตสาหกรรม 2 ประเภทหลัก คือ
- การพัฒนายางสกิมเพื่อผลิตเป็นวัตถุดิบสำหรับผลิตกาวชนิดที่ไม่มีโปรตีนที่ทำให้เกิดภูมิแพ้ โดยเฉพาะกาวที่ใช้ในทางการแพทย์ จากการคิดค้นงานวิจัยนี้ ทำให้สามารถนำไปจด สิทธิบัตรแบบทั่วโลก (PCT) รวมทั้งประเทศไทยและมาเลเซีย
- การพัฒนายางสกิมเพื่อใช้เป็นวัตถุดิบสำหรับผลิตหมากฝรั่ง ทดแทนยางสังเคราะห์ชนิดโพลิไอโซบิวทีลีน และโพลิสไตรีนบิวตะไดอีน ซึ่งใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตหมากฝรั่งได้เป็นอย่างดี และมีข้อดีคือ สามารถย่อยสลายได้ ไม่เป็นพิษต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม มีราคาถูกกว่ายางสังเคราะห์ถึง 10 เท่า งานวิจัยนี้ นับว่าเป็นกรณีแรกของงานวิจัยในเชิงเทคโนโลยีของโลก ที่สามารถนำยางธรรมชาติไปใช้ผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ทางอาหารได้ นอกจากนี้ ได้ทำการศึกษาแยกสารที่เรียกว่า L-quebrachitol ที่เหลืออยู่ในหางน้ำยาง ภายหลังการแยกเอายางสกิมออกไปแล้ว (เรียกว่าซีรั่ม) ซึ่งสารนี้สามารถใช้เป็นสารตั้งต้นสำหรับการสังเคราะห์สารจำพวก optically active organic compound ต่างๆ ได้มากมาย เช่น เป็นสารต่อต้านแบคทีเรีย เป็นสารตั้งต้นสำหรับการผลิตยาต้านมะเร็ง และสารเคมีทางการเกษตรต่างๆ เป็นต้น และยังได้มีการพัฒนางานวิจัย การเตรียมอาหารเลี้ยงเชื้อจากส่วนซีรั่มที่ได้ทำการแยกสาร L-quebrachitol ออกแล้ว และน้ำซีรั่มที่เหลือก็นำไปใช้ผลิตปุ๋ยน้ำได้ด้วย ซึ่งนับว่าเป็นงานวิจัยที่ครบวงจร สามารถนำองค์ประกอบต่างๆ ที่มีอยู่ในน้ำยางมาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้อย่างสูงสุด
นอกจากนี้ ศ.ดร. จิตต์ลัดดายังรับบทบาทนักวิจัยด้านการแปรรูปเปลือกที่เป็นของเสียในโรงงานผลิตถั่วมะคาเดเมีย จากโครงการดอยตุง ให้เป็นถ่านแมคคาเพื่อสุขภาพ เพื่อใช้ประโยชน์หลากหลาย เช่น ดูดซับกลิ่นความชื้นและสารพิษ ทำให้อากาศบริสุทธิ์มากขึ้น และยังพบว่าถ่านแมคคาสามารถแผ่คลื่นอินฟราเรดระยะไกล เพื่อนำมาประยุกต์ในในการเพิ่มประสิทธิภาพการไหลเวียนโลหิตในร่างกายได้ด้วย
เครื่องราชอิสริยาภรณ์
- พ.ศ. 2564 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือก ชั้นสูงสุด มหาปรมาภรณ์ช้างเผือก (ม.ป.ช.)
- พ.ศ. 2558 – เครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ชั้นสูงสุด มหาวชิรมงกุฎ (ม.ว.ม.)
- พ.ศ. 2566 – เหรียญจักรพรรดิมาลา (ร.จ.พ.)
อ้างอิง
- Sakdapipanich JT (2003) A production of deproteinized skim rubber and the adhesives of its use, and its adhesive tape. PCT/JP 000003964
- ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๖๔, เล่ม ๑๓๙ ตอนพิเศษ ๑ ข หน้า ๖๑, ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕
- ราชกิจจานุเบกษา, ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง พระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันเป็นที่เชิดชูยิ่งช้างเผือกและเครื่องราชอิสริยาภรณ์อันมีเกียรติยศยิ่งมงกุฎไทย ประจำปี ๒๕๕๘, เล่ม ๑๓๒ ตอนที่ ๓๑ ข หน้า ๓๑, ๔ ธันวาคม ๒๕๕๘
- ราชกิจจานุเบกษา, พระบรมราชโองการ ประกาศ เรื่อง พระราชทานเหรียญจักรมาลาและเหรียญจักรพรรดิมาลา ประจำปี ๒๕๖๖, เล่ม ๑๔๐ ตอนพิเศษ ๗ ข หน้า ๒๐๔, ๒๓ พฤศจิกายน ๒๕๖๖
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
sastracary cittldda skdaphiphanichy ekidwnthi 28 phvsphakhm ph s 2514 epnnkwithyasastrchawithy sakhaekhmiaela phxliemxr echiywchayepnphiessineruxngkhxngethkhonolyiyang karwiekhraahaelaphthnakarichpraoychncakyangthrrmchati odyidrwmmuxkbbristhexkchnhlay aehng phthnanwtkrrmdankrabwnkarphlit srangmulkhaephimih yangskim odyichepnwtthudibsahrbphlitkawthiichinkaraephthy aelaichepnwtthudibsahrbphlithmakfrng sungnbepnkrniaerkkhxngnganwicyinechingethkhonolyikhxngolk thinanayangthrrmchatiipichphlitepnphlitphnththangxaharid cnsamarthkhwarangwlrangwlnkethkhonolyirunihm pracapi ph s 2548 cakmulnithisngesrimwithyasastraelaethkhonolyiinphrabrmrachupthmph aelarangwl sakhathurkicchiwphaph pracapi ph s 2549 caksankngannwtkrrmaehngchati krathrwngwithyasastraelaethkhonolyi s dr cittldda tngphkdi smrskb nph phyungskdi skdaphiphanichy mibutrchay 2 khnprawtikarsuksa cbkarsuksaradbprathmsuksa thiorngeriynsitbutrbarung aelaradbmthymsuksa thiorngeriynstrimhaphvtharam ph s 2532 2535 priyyatri withyasastrbnthit sakhaekhmi ekiyrtiniymxndbsxng cak khnawithyasastr mhawithyalymhidl ph s 2537 2539 Master Degree of Engineering Honor cak Tokyo University of Agriculture and Technology praethsyipun ody Monbusho khxngrthbalyipun ph s 2539 2541 Doctor Degree of Engineering Honor cak Tokyo University of Agriculture and Technology praethsyipun odythunmngbuoch khxngrthbalyipunprawtikarthangan ph s 2541 xacary phakhwichaekhmi khnawithyasastr mhawithyalymhidl ph s 2543 phuchwysastracary phakhwichaekhmi khnawithyasastr mhawithyalymhidl ph s 2546 rxngsastracary phakhwichaekhmi khnawithyasastr mhawithyalymhidl ph s 2554 sastracary phakhwichaekhmi khnawithyasastr mhawithyalymhidl pccubnepnnkwicyin hnwywicyethkhonolyiyang 2012 02 11 thi ewyaebkaemchchin khnawithyasastr mhawithyalymhidl aelankwicypracahnwywicyyang khxng mhawithyalymhidlekiyrtikhunaelarangwlph s 2542 2545 aela 2546 2549 emthiwicy caksankngankxngthunsnbsnunkarwicy ph s 2545 Young Scientist Award cak TORAY Foundation praethsithy ph s 2546 Young Scientist Award cak ENO Foundation praethsyipun ph s 2548 rangwl cakmulnithisngesrimwithyasastraelaethkhonolyi inphrabrmrachupthmph ph s 2549 rangwlemthisngesrimnwtkrrm sakhathurkicchiwphaph caksankngannwtkrrmaehngchati ph s 2549 rangwl Young ASIAN Biotechnologist Prize 2006 cak The Society for Biotechnology Osaka Japanphlnganwicythisakhys dr cittldda skdaphiphanichy miphlnganwicythitiphimphinwarsarwichakartangpraeths canwnkwa 105 eruxng siththibtr canwn 18 eruxng epnecakhxngphlngankarphthnayangskimaelasarthimikhunkhathangesrsthkiccakkhxngesiythiidcakxutsahkrrmnayangthrrmchati odysamarthphthnaphthnaethkhonolyikarphlityangekrdphiesscakyangskim yangthiehluxcakhangnayang sungodypkticdwaepnkhxngesiycakkrabwnkarpnnayangthrrmchati ephuxnaipprayuktichinnganxutsahkrrmbangpraephthaethnkarichyangsngekhraah odysamarthprayuktichidkbxutsahkrrm 2 praephthhlk khux karphthnayangskimephuxphlitepnwtthudibsahrbphlitkawchnidthiimmioprtinthithaihekidphumiaeph odyechphaakawthiichinthangkaraephthy cakkarkhidkhnnganwicyni thaihsamarthnaipcd siththibtraebbthwolk PCT rwmthngpraethsithyaelamaelesiy karphthnayangskimephuxichepnwtthudibsahrbphlithmakfrng thdaethnyangsngekhraahchnidophliixosbiwthilin aelaophlisitrinbiwtaidxin sungichepnwtthudibinkarphlithmakfrngidepnxyangdi aelamikhxdikhux samarthyxyslayid imepnphistxmnusyaelasingaewdlxm mirakhathukkwayangsngekhraahthung 10 etha nganwicyni nbwaepnkrniaerkkhxngnganwicyinechingethkhonolyikhxngolk thisamarthnayangthrrmchatiipichphlitepnphlitphnththangxaharid nxkcakni idthakarsuksaaeyksarthieriykwa L quebrachitol thiehluxxyuinhangnayang phayhlngkaraeykexayangskimxxkipaelw eriykwasirm sungsarnisamarthichepnsartngtnsahrbkarsngekhraahsarcaphwk optically active organic compound tang idmakmay echn epnsartxtanaebkhthieriy epnsartngtnsahrbkarphlityatanmaerng aelasarekhmithangkarekstrtang epntn aelayngidmikarphthnanganwicy karetriymxahareliyngechuxcakswnsirmthiidthakaraeyksar L quebrachitol xxkaelw aelanasirmthiehluxknaipichphlitpuynaiddwy sungnbwaepnnganwicythikhrbwngcr samarthnaxngkhprakxbtang thimixyuinnayangmaichihekidpraoychnidxyangsungsud nxkcakni s dr cittlddayngrbbthbathnkwicydankaraeprrupepluxkthiepnkhxngesiyinorngnganphlitthwmakhaedemiy cakokhrngkardxytung ihepnthanaemkhkhaephuxsukhphaph ephuxichpraoychnhlakhlay echn dudsbklinkhwamchunaelasarphis thaihxakasbrisuththimakkhun aelayngphbwathanaemkhkhasamarthaephkhlunxinfraerdrayaikl ephuxnamaprayuktininkarephimprasiththiphaphkarihlewiynolhitinrangkayiddwyekhruxngrachxisriyaphrnph s 2564 ekhruxngrachxisriyaphrnxnepnthiechidchuyingchangephuxk chnsungsud mhaprmaphrnchangephuxk m p ch ph s 2558 ekhruxngrachxisriyaphrnxnmiekiyrtiysyingmngkudithy chnsungsud mhawchirmngkud m w m ph s 2566 ehriyyckrphrrdimala r c ph xangxingSakdapipanich JT 2003 A production of deproteinized skim rubber and the adhesives of its use and its adhesive tape PCT JP 000003964 rachkiccanuebksa prakassanknaykrthmntri eruxng phrarachthanekhruxngrachxisriyaphrnxnepnthiechidchuyingchangephuxkaelaekhruxngrachxisriyaphrnxnmiekiyrtiysyingmngkudithy pracapi 2564 elm 139 txnphiess 1 kh hna 61 14 kumphaphnth 2565 rachkiccanuebksa prakassanknaykrthmntri eruxng phrarachthanekhruxngrachxisriyaphrnxnepnthiechidchuyingchangephuxkaelaekhruxngrachxisriyaphrnxnmiekiyrtiysyingmngkudithy pracapi 2558 elm 132 txnthi 31 kh hna 31 4 thnwakhm 2558 rachkiccanuebksa phrabrmrachoxngkar prakas eruxng phrarachthanehriyyckrmalaaelaehriyyckrphrrdimala pracapi 2566 elm 140 txnphiess 7 kh hna 204 23 phvscikayn 2566