จารึกนครชุม เป็นจารึกที่สร้างขึ้นราว พ.ศ. 1900 เป็นศิลาจารึกที่เก่าที่สุด ที่มีการระบุถึงคติ "" หรือคำสอน "" เอาไว้อย่างชัดเจน
จารึกนครชุม ด้าน 1 และ 2 | |
วัสดุ | หินทรายแป้ง แทรกสลับกับหินดินดาน |
---|---|
ความสูง | 193 เซนติเมตร |
ความกว้าง | 47 เซนติเมตร |
ความลึก | 6 เซนติเมตร |
ตัวหนังสือ | อักษรไทยสุโขทัย |
ช่วงเวลา/วัฒนธรรม | พุทธศักราช 1900 |
ค้นพบ | พุทธศักราช 2464 วัดพระบรมธาตุ ตำบลนครชุม อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร |
ค้นพบโดย | สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ |
ที่อยู่ปัจจุบัน | พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร |
เลขประจำตัว | จารึกหลักที่ 3 จารึกนครชุม (กองหอสมุดแห่งชาติ), กพ. 1 (หนังสือ ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1) |
https://finearts.go.th/museumbangkok/view/41594 |
ลักษณะ
จารึกนครชุม มีลักษณะเป็นใบเสมาคล้ายกลีบบัว กว้าง 47 เซนติเมตร สูง 193 เซนติเมตร หนา 6 เซนติเมตร ด้านที่ 1 มี 78 บรรทัด และด้านที่ 2 มี 58 บรรทัด แต่ด้านที่ 2 มีชำรุดอย่างมาก ข้อความขาดหายไป
การค้นพบ
เมื่อปี พ.ศ. 2392 และสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) ขึ้นมาที่เมืองกำแพงเพชรเพื่อพระราชเพลิงศพท่านผู้หญิงแพง ได้มีการพบจารึกนี้ที่อุโบสถ สมเด็จพุฒาจารย์ (โต) อ่านและแปลความได้ว่า พระเจดีย์โบราณบริเวณริมแม่น้ำปิงฝั่งตรงข้ามเมืองเก่ามีพระบรมสารีริกธาตุบรรจุ เมื่อไปแร้วถางในบริเวณก็พบพระบรมสารีริกธาตุตามที่สมเด็จพุฒาจารย์ (โต) ระบุ ดังปรากฏในพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) เสด็จประพาสต้นกำแพงเพชร เมื่อ พ.ศ. 2449
ต่อมาปี พ.ศ. 2429 ได้มีการนำจารึกนี้พร้อมกับรูปพระอิศวร (หลักที่ 13) ไปกรุงเทพฯ เนื่องด้วยรัชกาลที่ 5 มีเกรงว่าของเหล่านี้เป็นโบราณวัตถุ หากปล่อยทิ้งไว้จะชำรุดเสียหายได้ แต่ก็ไม่มีการระบุว่าพระเจดีย์ที่ระบุในจารึกคือที่ใด และก่อนที่จะมาอยู่ที่วัดเสด็จ จารึกนี้อยู่ที่ใด ทราบเพียงแต่ว่าได้มาจากเมืองกำแพงเพชร
จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2464 หลังจากที่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ เสด็จกลับจากเชียงใหม่ และได้มาพักที่กำแพงเพชร ได้สอบถามกับ เจ้าอาวาสวัดพระบรมธาตุ ถึงที่มาของจารึกนี้ เพราะทราบเพียงว่าได้มาจากเมืองกำแพงเพชร จึงได้ความว่า จารึกนี้เป็นของวัดพระบรมธาตุนี้ ก่อนจะนำไปเก็บรักษาที่วัดเสด็จ ดังปรากฏหลักฐานคือ ฐานศิลาแลงสำหรับตั้งจารึกบริเวณมุขเด็จ ที่มีขนาดพอดีกับจารึกนครชุม
“...กลับมาแวะวัดมหาธาตุ ถามพระครูถึงเรื่องศิลาจารึกของพระมหาธรรมราชาลิไทย (คือศิลาจารึกหลักที่ 3) ซึ่งอยู่ในหอพระสมุดฯ ทราบว่าได้ไปจากเมืองกำแพงเพ็ชร แต่ยังไม่ทราบว่าเดิมทีเดียวอยู่ที่ไหน ได้ความจากพระครูชัดเจนว่าศิลาจารึกแผ่นนั้น เดิมอยู่ที่วัดมหาธาตุนี้เอง ตั้งอยู่ในมุขเด็จวิหารหลวง ภายหลังผู้ว่าราชการเมืองกำแพงเพ็ชร เอาไปรักษาที่วัดเสด็จ แล้วจึงส่งลงไปกรุงเทพฯ พระครูได้พาไปดูฐานที่ตั้งศิลาจารึกแผ่นนั้น ยังอยู่ที่มุขเด็จเป็นศิลาแลงแท่งใหญ่ เจาะกลางเป็นช่องเฉพาะฝังโคนศิลาจารึก พิเคราะห์ดูช่องพอได้กับศิลาจารึก เพราะฉะนั้นเป็นรู้แน่ว่าศิลาจารึกแผ่นนั้นพระมหาธรรมราชาลิไทยทำไว้ที่วัดนี้... ”
— สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ
ส่วนสาเหตุที่ไม่มีการค้นพบก่อนหน้านี้ เนื่องจากมีการอนุญาตให้คหบดีชาวพม่า ชื่อพญาตะกา มาบูรณะเจดีย์ของวัดพระบรมธาตุ ทำให้เจดีย์เปลี่ยนรูปร่างกลายเป็นเจดีย์แบบพม่า มิใช่เจดีย์แบบสุโขทัยอย่างที่ระบุในจารึก
ปัจจุบันเก็บรักษาและจัดแสดงที่ ห้องสุโขทัย อาคารประพาสพิพิธภัณฑ์ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนคร
เนื้อหา
ในจารึกระบุศักราช 1279 ปีระกา ซึ่งนักประวัติศาสตร์ให้ความเห็นว่าเป็น "มหาศักราช" ตรงกับปี พ.ศ. 1900 แต่จากการคำนวณของ เห็นว่าน่าจะตรงกับ พ.ศ. 1901
ส่วนแรกของจารึกระบุถึงการที่พระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไท) ในจารึกระบุว่าฦาไทย พร้อมทั้งระบุพงศาวลีว่า เป็นลูกพระยาเลอไทย และเป็นหลานพระยารามราช โดยพระองค์ได้นำพระบรมสารีริกธาตุจากเมืองลังกามาไว้ที่เมืองนครชุมและได้ก่อพระเจดีย์ไว้ นอกจากนี้ยังมีการปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ไว้ในพื้นที่ดังกล่าวด้วย
โดยสาเหตุที่ต้องมีการนำพระบรมสารีริกธาตุมาประดิษฐานไว้ เพื่อเตือนให้ทำบุญกุศล เพราะในอนาคตข้างข้างหน้า จะเกิดเหตุ "ปัญจอันตรธาน" อันเป็นดับสูญของพระพุทธศาสนา
ในจารึกระบุเหตุที่จะเกิดขึ้น คือ
- อีก 99 ปี จากที่สร้างจารึกนี้ หรือราว พ.ศ. 2000 พระไตรปิฏกอันเป็นพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้าจะเสื่อมสูญไป หาคนรู้แท้ไม่ได้ หรือ "ปริยัติอันตรธาน"
- พ.ศ. 3000 พระวินัยปฏิบัติของสงฆ์จะเสื่อมสูญไป หรือ "ปฏิบัติอันตรธาน"
- พ.ศ. 4000 พระสงฆ์จะเสื่อมสูญไป ไม่มีการห่มจีวร คงมีเพียงแต่ผ้าสีเหลืองเหน็บหูไว้เท่านั้น หรือ "ลิงคอันตรธาน"
- พ.ศ. 5000 พระธาตุทั้งหลาย จะไปประชุมรวมกันที่ลังกาทวีป และลุกเป็นไฟ เมื่อนั้นศาสนาจะเสื่อมสูญไป หรือ "ธาตุอันตรธาน"
ทั้งนี้ ในจารึกไม่มีการระบุถึง "ปฏิเวธอันตรธาน" คือการสูญไปซึ่งพระอรหันต์ อาจเพราะเหตุดังกล่าวได้เกิดขึ้นแล้ว
ส่วนการปลูกต้นพระศรีมหาโพธิ์ เป็นการสร้าง "เจติยะ" หรือสิ่งอันเป็นที่ตั้งแห่งการเคารพบูชาซึ่งทรงอานิสงส์สูง เพื่อให้ราษฎรมากราบไหวนมัสการสะสมบุญกุศล ประกอบการที่พระองค์เลือกที่จะใช้อักษรไทย ก็เพื่อให้ราษฎรอ่านเข้าใจและเผบแพร่ออกไปได้อย่างกว้างขวาง
เนื้อหาส่วนต่อมา เป็นส่วนที่ชำรุดเสียหายมาก แต่สามารถสรุปใจความได้ว่าเป็นการยกยศสรรเสริญพระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไท) ซึ่งรวบรวมเมืองต่าง ๆ ที่แยกตัวออกจากสุโขทัยหลังรัชสมัยของพ่อขุนราชคำแหง และโปรดให้จำลอง "รอยพระพุทธบาท" ไว้ที่เมืองเหล่านั้น เช่น เมืองศรีสัชนาลัย เมืองสุโขทัย เมืองบางพาน (บริเวณบ้านวังพาน ตำบลเขาคีริส อำเภอพรานกระต่าย จังหวัดกำแพงเพชร) และเมืองปากพระบาง (บริเวณอำเภอเมืองนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์)
ความสำคัญ
- แสดงให้เห็นถึงประเพณีทางศาสนาพุทธ เช่น การสร้างพระบรมธาตุเจดีย์ การจำลองรอยพระพุทธบาท และความเชื่อเรื่องพระศรีอาริย์
- แสดงให้เห็นถึงการอ้างสิทธิธรรมในฐานะ "พระจักรพรรดิราช" โดยการอ้างว่าเป็นผู้สืบสันตติวงศ์มาจากพ่อขุนราชคำแหง ได้รับฉันทามติให้ปกครอง มีความสามารถและบุญญาธิการเพียงพอที่จะปกครองอาณาจักร
- แสดงให้เห็นถึงความสำคัญของเมืองนครชุมในอดีต ซึ่งอาจเป็นเมืองที่ควบคุมเส้นทางทางการค้า ใช้ในการป้องกันการเผื่ออิทธิพลของกรุงศรอยุธยา
การตีพิมพ์เผยแพร่
- ประชุมพงศาวดาร ภาค 1 เรื่องเที่ยวเมืองพระร่วง (2499)
- แถลงงานประวัติศาสตร์ เอกสารโบราณคดี ปีที่ 3 ฉบับที่ 3 (2512)
- พงศาวดารโยนก (2516)
- ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1 (2521)
- จารึกสมัยสุโขทัย (2526)
- วชิรญาณ เล่มที่ 1 ภาค 2
อ้างอิง
- ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย | จารึกนครชุม (sac.or.th)
- สมเด็จพุฒาจารย์ (โต) กับจารึกนครชุม (kpru.ac.th)
- พญาลิไทกับวัดพระบรมธาตุนครชุม (kpru.ac.th)
- [1] จารึกหลักที่ ๓ จารึกนครชุม พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร
- จารึกหลักที่-๓-จารึกนครชุม
- น้อมนิจ วงศ์สุทธิธรรม. วรรณคดีสุโขทัย. ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง (41)/TH231 (41) -2-3.pdf TH231 (41) -2-3.pdf (ru.ac.th)
- การประกาศคติปัญจอันตรธาน และสถาปนาพระบรมธาตุ ที่เมืองนครชุม ของสมเด็จพระมหาธรรมราชาลิไท ใน พ.ศ. 1900. ดำรงวิชาการ, มกราคม - มิถุนายน 2566. 235 - 257
- การศึกษาคติปัญจอันตรธานในประเทศไทยจากหลักฐานทางโบราณคดีในช่วงพุทธศตวรรษที่ 19-21, วิทยานิพนธ์ – โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์, มหาวิทยาลัยศิลปากร
แหล่งข้อมูลอื่น
- จารึกนครชุม - ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย ศูนย์มนุษยวิทยาสิรินธร
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
caruknkhrchum epncarukthisrangkhunraw ph s 1900 epnsilacarukthiekathisud thimikarrabuthungkhti hruxkhasxn exaiwxyangchdecncaruknkhrchumcaruknkhrchum dan 1 aela 2wsduhinthrayaepng aethrkslbkbhindindankhwamsung193 esntiemtrkhwamkwang47 esntiemtrkhwamluk6 esntiemtrtwhnngsuxxksrithysuokhthychwngewla wthnthrrmphuththskrach 1900khnphbphuththskrach 2464 wdphrabrmthatu tablnkhrchum xaephxemuxng cnghwdkaaephngephchrkhnphbodysmedcphraecabrmwngsethx krmphrayadarngrachanuphaphthixyupccubnphiphithphnthsthanaehngchati phrankhrelkhpracatwcarukhlkthi 3 caruknkhrchum kxnghxsmudaehngchati kph 1 hnngsux prachumsilacaruk phakhthi 1 https finearts go th museumbangkok view 41594lksnacaruknkhrchum milksnaepnibesmakhlayklibbw kwang 47 esntiemtr sung 193 esntiemtr hna 6 esntiemtr danthi 1 mi 78 brrthd aeladanthi 2 mi 58 brrthd aetdanthi 2 micharudxyangmak khxkhwamkhadhayipkarkhnphbwdphrabrmthatu cnghwdkaaephngephchr sthanthirabuincaruk emuxpi ph s 2392 aelasmedcphraphuthacary ot phrhmrngsi khunmathiemuxngkaaephngephchrephuxphrarachephlingsphthanphuhyingaephng idmikarphbcaruknithixuobsth smedcphuthacary ot xanaelaaeplkhwamidwa phraecdiyobranbriewnrimaemnapingfngtrngkhamemuxngekamiphrabrmsaririkthatubrrcu emuxipaerwthanginbriewnkphbphrabrmsaririkthatutamthismedcphuthacary ot rabu dngpraktinphrarachniphnthinphrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhw rchkalthi 5 esdcpraphastnkaaephngephchr emux ph s 2449 txmapi ph s 2429 idmikarnacarukniphrxmkbrupphraxiswr hlkthi 13 ipkrungethph enuxngdwyrchkalthi 5 miekrngwakhxngehlaniepnobranwtthu hakplxythingiwcacharudesiyhayid aetkimmikarrabuwaphraecdiythirabuincarukkhuxthiid aelakxnthicamaxyuthiwdesdc caruknixyuthiid thrabephiyngaetwaidmacakemuxngkaaephngephchr cnkrathnginpi ph s 2464 hlngcakthismedcphraecabrmwngsethx krmphrayadarngrachanuphaph esdcklbcakechiyngihm aelaidmaphkthikaaephngephchr idsxbthamkb ecaxawaswdphrabrmthatu thungthimakhxngcarukni ephraathrabephiyngwaidmacakemuxngkaaephngephchr cungidkhwamwa carukniepnkhxngwdphrabrmthatuni kxncanaipekbrksathiwdesdc dngprakthlkthankhux thansilaaelngsahrbtngcarukbriewnmukhedc thimikhnadphxdikbcaruknkhrchum klbmaaewawdmhathatu thamphrakhruthungeruxngsilacarukkhxngphramhathrrmrachaliithy khuxsilacarukhlkthi 3 sungxyuinhxphrasmud thrabwaidipcakemuxngkaaephngephchr aetyngimthrabwaedimthiediywxyuthiihn idkhwamcakphrakhruchdecnwasilacarukaephnnn edimxyuthiwdmhathatuniexng tngxyuinmukhedcwiharhlwng phayhlngphuwarachkaremuxngkaaephngephchr exaiprksathiwdesdc aelwcungsnglngipkrungethph phrakhruidphaipduthanthitngsilacarukaephnnn yngxyuthimukhedcepnsilaaelngaethngihy ecaaklangepnchxngechphaafngokhnsilacaruk phiekhraahduchxngphxidkbsilacaruk ephraachannepnruaenwasilacarukaephnnnphramhathrrmrachaliithythaiwthiwdni smedcphraecabrmwngsethx krmphrayadarngrachanuphaph swnsaehtuthiimmikarkhnphbkxnhnani enuxngcakmikarxnuyatihkhhbdichawphma chuxphyataka maburnaecdiykhxngwdphrabrmthatu thaihecdiyepliynruprangklayepnecdiyaebbphma miichecdiyaebbsuokhthyxyangthirabuincaruk pccubnekbrksaaelacdaesdngthi hxngsuokhthy xakharpraphasphiphithphnth phiphithphnthsthanaehngchati phrankhrenuxhaphrabrmrachanusawriyphramhathrrmrachathi 1 n wdphrabrmthatunkhrchum incarukrabuskrach 1279 piraka sungnkprawtisastrihkhwamehnwaepn mhaskrach trngkbpi ph s 1900 aetcakkarkhanwnkhxng ehnwanacatrngkb ph s 1901 swnaerkkhxngcarukrabuthungkarthiphramhathrrmrachathi 1 liith incarukrabuwalaithy phrxmthngrabuphngsawliwa epnlukphrayaelxithy aelaepnhlanphrayaramrach odyphraxngkhidnaphrabrmsaririkthatucakemuxnglngkamaiwthiemuxngnkhrchumaelaidkxphraecdiyiw nxkcakniyngmikarpluktnphrasrimhaophthiiwinphunthidngklawdwy odysaehtuthitxngmikarnaphrabrmsaririkthatumapradisthaniw ephuxetuxnihthabuykusl ephraainxnakhtkhangkhanghna caekidehtu pycxntrthan xnepndbsuykhxngphraphuththsasna incarukrabuehtuthicaekidkhun khux xik 99 pi cakthisrangcarukni hruxraw ph s 2000 phraitrpitkxnepnphrathrrmkhasxnkhxngphraphuththecacaesuxmsuyip hakhnruaethimid hrux priytixntrthan ph s 3000 phrawinyptibtikhxngsngkhcaesuxmsuyip hrux ptibtixntrthan ph s 4000 phrasngkhcaesuxmsuyip immikarhmciwr khngmiephiyngaetphasiehluxngehnbhuiwethann hrux lingkhxntrthan ph s 5000 phrathatuthnghlay caipprachumrwmknthilngkathwip aelalukepnif emuxnnsasnacaesuxmsuyip hrux thatuxntrthan thngni incarukimmikarrabuthung ptiewthxntrthan khuxkarsuyipsungphraxrhnt xacephraaehtudngklawidekidkhunaelw swnkarpluktnphrasrimhaophthi epnkarsrang ectiya hruxsingxnepnthitngaehngkarekharphbuchasungthrngxanisngssung ephuxihrasdrmakrabihwnmskarsasmbuykusl prakxbkarthiphraxngkheluxkthicaichxksrithy kephuxihrasdrxanekhaicaelaephbaephrxxkipidxyangkwangkhwang enuxhaswntxma epnswnthicharudesiyhaymak aetsamarthsrupickhwamidwaepnkarykyssrresriyphramhathrrmrachathi 1 liith sungrwbrwmemuxngtang thiaeyktwxxkcaksuokhthyhlngrchsmykhxngphxkhunrachkhaaehng aelaoprdihcalxng rxyphraphuththbath iwthiemuxngehlann echn emuxngsrischnaly emuxngsuokhthy emuxngbangphan briewnbanwngphan tablekhakhiris xaephxphrankratay cnghwdkaaephngephchr aelaemuxngpakphrabang briewnxaephxemuxngnkhrswrrkh cnghwdnkhrswrrkh khwamsakhyaesdngihehnthungpraephnithangsasnaphuthth echn karsrangphrabrmthatuecdiy karcalxngrxyphraphuththbath aelakhwamechuxeruxngphrasrixariy aesdngihehnthungkarxangsiththithrrminthana phrackrphrrdirach odykarxangwaepnphusubsnttiwngsmacakphxkhunrachkhaaehng idrbchnthamtiihpkkhrxng mikhwamsamarthaelabuyyathikarephiyngphxthicapkkhrxngxanackr aesdngihehnthungkhwamsakhykhxngemuxngnkhrchuminxdit sungxacepnemuxngthikhwbkhumesnthangthangkarkha ichinkarpxngknkarephuxxiththiphlkhxngkrungsrxyuthyakartiphimphephyaephrprachumphngsawdar phakh 1 eruxngethiywemuxngphrarwng 2499 aethlngnganprawtisastr exksarobrankhdi pithi 3 chbbthi 3 2512 phngsawdaroynk 2516 prachumsilacaruk phakhthi 1 2521 caruksmysuokhthy 2526 wchiryan elmthi 1 phakh 2xangxingthankhxmulcarukinpraethsithy caruknkhrchum sac or th smedcphuthacary ot kbcaruknkhrchum kpru ac th phyaliithkbwdphrabrmthatunkhrchum kpru ac th 1 carukhlkthi 3 caruknkhrchum phiphithphnthsthanaehngchatiphrankhr carukhlkthi 3 caruknkhrchum nxmnic wngssuththithrrm wrrnkhdisuokhthy phakhwichaphasaithyaelaphasatawnxxk khnamnusysastr mhawithyalyramkhaaehng 41 TH231 41 2 3 pdf TH231 41 2 3 pdf ru ac th karprakaskhtipycxntrthan aelasthapnaphrabrmthatu thiemuxngnkhrchum khxngsmedcphramhathrrmrachaliith in ph s 1900 darngwichakar mkrakhm mithunayn 2566 235 257 karsuksakhtipycxntrthaninpraethsithycakhlkthanthangobrankhdiinchwngphuththstwrrsthi 19 21 withyaniphnth obrankhdismyprawtisastr mhawithyalysilpakraehlngkhxmulxuncaruknkhrchum thankhxmulcarukinpraethsithy sunymnusywithyasirinthr