จารึกกฎหมายลักษณะโจร เป็นชื่อเรียกศิลาจารึกหลักที่ 38 ซึ่งกรมทางหลวงขุดค้นพบเมื่อปี พ.ศ. 2473 โดยเหตุที่ได้ชื่อจารึกว่า "กฎหมายลักษณะโจร" เนื่องจากเนื้อหาในจารึกกล่าวถึงการกระทำผิดทางอาญา ทั้งนี้ มีความเห็นว่าจารึกนี้ควรใช้ชื่อว่า "กฎหมายลักษณะลักพา" มากกว่า เนื่องจากเนื้อหาล้วนเกี่ยวกับการลักพาผู้คน และสิ่งของ จารึกนี้เป็นหลักฐานลายลักษณ์อักษรเกี่ยวกับบทบัญญัติของกฎหมายที่เก่าที่สุด และยังคงรูปแบบเดิมเอาไว้ และยังเป็นศิลาจารึกเพียงหลักเดียวที่บันทึกตัวบทกฎหมายเอาไว้ ต่างจากศิลาจารึกอื่นที่มักจะเกี่ยวกับข้องกับเรื่องศาสนา เช่น การสร้างวัด หรือ การกัลปนา
วัดมหาธาตุสุโขทัย | |
วัสดุ | หินชนวน |
---|---|
ขนาด | แผ่นรูปใบเสมา |
ความสูง | 108 เซนติเมตร |
ความกว้าง | 65 เซนติเมตร |
ความลึก | 14 เซนติเมตร |
ตัวหนังสือ | อักษรไทยสุโขทัย |
ค้นพบ | พุทธศักราช 2473 ทางเลี้ยวเข้าวัดพระมหาธาตุและวัดสระศรี หลักกิโลเมตรที่ 50-51 อำเภอเมือง จังหวัดสุโขทัย |
ค้นพบโดย | กรมทางหลวงแผ่นดินขุดพบ |
ที่อยู่ปัจจุบัน | อาคารคลังกลางพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ |
เลขประจำตัว | - หลักที่ 38 ศิลาจารึกกฎหมายลักษณะโจร (หนังสือ ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 3) - 99/33/2560 (พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กาญจนาภิเษก) |
https://db.sac.or.th/inscriptions/inscribe/detail/118 |
การค้นพบและลักษณะ
กรมทางหลวงขุดค้นพบศิลาจารึกนี้ขณะสร้างถนนจรดวิถีถ่อง (ส่วนหนึ่งของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12) ระหว่างกิโลเมตรที่ 50 - 51 ทางเลี้ยวเข้าวัดมหาธาตุและวัดสระศรี อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ในเขตตำบลเมืองเก่า อำเภอเมืองสุโขทัย จังหวัดสุโขทัย เมื่อ พ.ศ. 2473
ศิลาจารึกนี้มีจำนวน 2 ด้าน ด้านที่ 1 มี 45 บรรทัด ด้านที่ 2 มี 54 บรรทัด มีข้อความบางส่วนชำรุดเสียหาย สลักบนหินชนวน รูปใบเสมา ขนาด กว้าง 65 เซนติเมตร สูง 108 เซนติเมตร และหนา 14 เซนติเมตร จารึกด้วยอักษรไทยสุโขทัย
ปัจจุบันเก็บรักษาอยู่ที่ อาคารคลังกลางพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี
เนื้อหา
อารัมภบท
กล่าวถึงการขึ้นครองราชย์ของกษัตริย์พระองค์ใหม่ นาม "สมเด็จบพิตรมหาราชบุตรรามราชาธิราช ศรีบรมจักรพรรดิราช" ทรงปรารถนาที่จะขัดเกลากฎหมายหรือการทำให้บริสุทธิ์ อย่างเดียวกับพ่อขุนรามราช ให้ใช้บังคับกับไพร่ฟ้าทั่วทั้งอาณาจักร อันมีเมืองสุโขทัยเป็นประธานของเมืองทั้งหลาย อันประกอบด้วย เชลียง (กำแพงเพชร) ทุ่งยั้ง (อุตรดิตถ์) ปากยม (พิจิตร) สองแคว (พิษณุโลก) เป็นต้น
เนื้อหาของกฎหมาย
เนื้อหาส่วนของกฎหมายปรากฏอยู่ 8 มาตรา สรุปได้ดังนี้
มาตรา 1 กรณีถ้าข้ารับใช้หรือบริวารของผู้อื่นหนีมาอยู่ด้วยกับตน และตนไม่จัดส่งคืนให้เจ้านายของข้ารับใช้คนนั้น จะต้องถูกปรับเต็มอัตราตามที่กำหนดไว้ในและ โดยจะถูกปรับเสมือนไปขโมยลักพาหรือช่วยให้ข้าทาสบริวารของผู้อื่นหนีไปแต่ยังไปได้ไม่พ้นเขตเมือง
มาตรา 2 กรณีถ้าข้ารับใช้หรือบริวารของผู้อื่นหนีมาอยู่ด้วยกับตน และตนไม่จัดส่งคืนให้เจ้านายของข้ารับใช้คนนั้นภายใน 3 วัน (กรณีภายในเขตเมือง) และ 5 วัน (กรณีภายนอกเขตเมือง) จะต้องถูกปรับตามที่กำหนดไว้ในพระราชศาสตร์และพระธรรมศาสตร์ และหากเกิน 8 วัน (นับตั้งแต่วันที่ 9 เป็นต้นไป) จะถูกปรับเสมือนกรณีลักทรัพย์ผู้อื่น
มาตรา 3 กรณีถ้าเห็นคนมาทำลับ ๆ ล่อ ๆ น่าสงสัยและพิจารณาดูแล้วว่าเป็นโจรจริง ให้ช่วยจับโจรไว้ผู้ที่ช่วยจับโจรไว้ได้จะได้รับบำเหน็จรางวัล แต่หากผู้ใดพบเห็นโจรแล้วเพิกเฉย ไม่ช่วยจับกุมไว้ ทั้ง ๆ ที่สามารถทำได้ กลับรอให้เจ้าทรัพย์ถึงก่อนแล้วจึงค่อยเข้าไปช่วยจับตัวโจรส่งให้เพราะหวังรางวัล คนผู้นั้นจะไม่ได้รับบำเหน็จรางวัลใด ๆ เพราะถือว่าเป็นพวกเดียวกับโจร และมีความผิดฐานวางเฉย และถ้าต่อไปพิจารณาพบว่าเป็นพวกเดียวกับขโมยจริงจะต้องถูกลงโทษด้วย
มาตรา 4 กรณีถ้ามีผู้จับโจรได้พร้อมทรัพย์สินที่ถูกขโมยไป แต่ไม่นำส่งคืนแก่เจ้าของ กลับเก็บทรัพย์สินนั้นไว้กับตัวเกือบทั้งวัน กำหนดให้ลงโทษขั้นสูงสุดตามพระราชศาสตร์
มาตรา 5 กรณีถ้ามีผู้นำสิ่งของที่ถูกขโมยไปส่งคืนแก่เจ้าของ ผู้นั้นจะได้รับรางวัล ส่วนผู้ใดที่วางเฉย ไม่ช่วยจับกุมหรือจับได้แล้วแต่ปล่อยตัวโจรไป ไม่ว่าจะด้วยเหตุผลใด ผู้นั้นจะมีความผิดเสมือนเป็นขโมยเสียเอง
มาตรา 6 กรณีมีผู้ไปขโมยของในบ้านผู้อื่น หรือไปล่า ฆ่าฟันผู้อื่น มีผู้ชวนตนไปลักของผู้อื่นก็ดี ไปลักของด้วยกันก็ดี และรู้ว่าผู้ใดลักทรัพย์สินท่านนานประมาณภายในสิบปี ไม่มีผู้รู้เห็นขโมยผู้นี้หากผู้นั้นจับขโมยได้ แต่ไม่บอกเจ้าหน้าที่และเจ้าของ ท่านให้ปรับมันเหมือนดังมันเป็นขโมย และปรับสถานเดียวกับคนมาพาลูกเมียท่านไป ส่วนเทพี จรัสจรุงเกียรติและเสาวรส มนต์วิเศษ กล่าวว่า กรณีมีผู้ไปลักทรัพย์ ชักชวนให้ไปลักทรัพย์ หรือไปด้วยกันกับผู้ชักชวน ผู้ที่รู้เห็นเหตุการณ์ดังกล่าวแม้ว่าเหตุการณ์นั้นจะผ่านไปนานพ้น 10 ปีแล้วก็ตาม แล้วไม่แจ้งความ แต่กลับนำความนั้นไปข่มขู่เจ้าทรัพย์เพื่อขอรับสินจ้างรางวัล กฎหมายกำหนดให้ปรับเสมือนเป็นขโมยและได้ข่มขู่เจ้าทรัพย์ อนึ่งผู้ที่นำผู้คนหรือทรัพย์สินที่ถูกขโมยไปมาส่งคืนเจ้าของ จะได้รับรางวัลตามที่กำหนดไว้ในพระราชศาสตร์และพระธรรมศาสตร์ และได้รับการยกย่องเชิดชูด้วย
มาตรา 7 กรณีถ้ามีการขโมยแย่งชิงของซึ่งหน้า ต้องเข้าไปช่วยจับกุม หากไม่ช่วยจับกุมจะต้องถูกปรับและต้องชดใช้ค่าเสียหายเท่ากับสิ่งที่ถูกขโมยไปแก่ผู้เสียหายด้วย
มาตรา 8 กรณีถ้าจะมีการฆ่าวัวควาย ให้นำวัวควายนั้นมาแสดงให้ผู้อื่นรู้เห็นเป็นพยานก่อน จึงจะสามารถฆ่าวัวควายนั้นได้ หากไม่นำวัวควายมาแสดงให้ผู้อื่นรู้เห็นก่อนจะมีความผิด ทั้งนี้เพื่อป้องกันผู้ขโมยวัวควายของผู้อื่นมา
อย่างไรก็ตาม ศ.ประเสริฐ ณ นคร เห็นว่าเนื้อหาของกฎหมายอาจมีต่อไปอีก แต่เนื่องจากจารึกชำรุดเสียหายไม่สามารถจับใจความได้
ข้อสันนิฐานปีที่จารึก
ความในจารึก ระบุว่า " ...๕ ฉลูนักษัตรไพสาขปรุณมีพฤหัสบดีหนไทยมื้อลวงเม้า...." ข้อความส่วนข้อศักราชชำรุดหายไป คงเหลือเพียงเลข 5 ตัวสุดท้ายเพียงตัวเดียว ศาสตราจารย์ สันนิฐานว่าปีที่ระบุในจารึก เป็นปีมหาศักราช (ม.ศ.) อาจจะเป็นปี ม.ศ.1235 (พ.ศ.1856) ม.ศ.1295 (พ.ศ.1916) หรือ ม.ศ.1355 (พ.ศ.1976)
อย่างไรก็ตามศาสตราจารย์ประเสริฐ ณ นคร เห็นว่าสมัยสุโขทัยไม่เคยใช้คำว่า "มื้อ" หลังคำว่า "หนไทย" เพราะฉะนั้นคำว่า "หนไทยมื้อลวงเม้า" จึงควรจะหมายถึง "วันเมิงเม้า" ศ.ประเสริฐ อธิบายต่อไปว่า แต่เดิมการเรียกปีนักษัตรนั้นรอบละ 12 ปีโดยใช้คำว่า "ไก๊ ไจ้ เป๊า ยี่ เม้า สี ไส้ ซง้า เม็ด ส้น เล้า เสด " และเรียกปีที่จุลศักราชลงท้ายเป็น 0,1,2,... รวมรอบละ 10 ปีว่า "กัด กด ลวง เต่า กา กาบ ดับ ระวาย เมิง เบิก" โดยนำมาใช้ควบกัน เรียกวันต่าง ๆ เช่น "ไก๊กัด ไจ้กด เป๊าลวง" ไล่ไปเรื่อย ๆ รอบหนึ่งจึงใช้เวลา 60 วัน
ดังนั้นปีที่มี "วันเมิงเม้า" ที่ตรงกับวันพฤหัสบดี วันเพ็ญ เดือนหก ปีฉลูจึงควรจะเป็นปี พ.ศ.1940 ในขณะที่ดร. ระบุว่าคือวันพฤหัสบดีที่ 12 เมษายน พ.ศ.1940
ข้อสันนิฐานกษัตริย์ที่ทรงตรากฎหมายนี้
ข้อสันนิฐานของกษัตริย์ที่ทรงตรากฎหมายนี้ว่าอาจเป็น พญาราม ซึ่งเป็นกษัตริย์อโยธยา ในขณะที่ดร.วินัย พงศ์ศรีเพียร สันนิฐานว่า คือ สมเด็จพระมหาธรรมาราชาธิราช (รามราชาธิราช) ซึ่งเป็นพระราชโอรสองค์โตของสมเด็จพระมหาธรรมราชาที่ 2 แห่งสุโขทัย ตามที่ปรากฏใน
ความสำคัญ
- การแสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างสุโขทัยและอโยธยา(อยุธยา) ซึ่งหากพิจารณาจากเนื้อหาของบทบัญญัติ จะพบว่ามีลักษณะใก้ลเคียงกับกฎหมายลักพาของอยุธยา อาจเกิดจากการติดต่อสัมพันธ์กันระหว่างเมืองทั้งสอง ทำให้ได้รับอิทธิของอยุธยาขึ้นไป หรือเนื้อหาของกฎหมายที่ปรากฏนี้อาจถูกผนวกเข้าไปส่วนนึงของกฎหมายอยุธยา เมื่อสุโขทัยกลายเป็นส่วนนึงของอยุธยาแล้ว อย่างไรก็ตาม ลักษณะของการบัญญัติกฎหมายของสุโขทัยและอยุธยามีความแตกต่างกัน กล่าวคือ ในอยุธยามักจากบัญญัติกฎหมายในเอกสาร เช่น ใบลาน ไม่นิยมที่จะจารึกลงแผ่นศิลาเหมือนอย่างสุโขทัย
- ความรุ่งเรืองของหลักกฎหมายในสุโขทัย ซึ่งอยู่บนหลักเหตุผลและมาตรการควบคุมสังคม กล่าวคือ ความผิดเนื่องจากการนิ่งเฉยต่อการกระทำผิด ความรับผิดร่วมกันต่อชุมชน และการปรับโดยยศศักดิ์ ทั้งยังปรากฏอิทธิพลของพระราชศาสตร์และพระธรรมศาสตร์
อ้างอิง
- ศิลาจารึกกฎหมายลักษณะโจร. พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติ รามคำแหง สุโขทัย
- ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร - SAC (2020-05-28), สุโขทัยคดี ในมิติประวัติศาสตร์ จารึกศึกษา และนิรุกติประวัติ EP.06, สืบค้นเมื่อ 2024-05-23
- วินัย พงศ์ศรีเพียร, บรรณาธิการ. 100 เอกสารสำคัญ : สรรพสาระประวัติศาสตร์ไทย ลำดับที่ 1. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. 2552.
- ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย | จารึกกฎหมายลักษณะโจร (sac.or.th)
- กำธร กำประเสริฐ และสุเมธ จานประดับ. เอกสารประกอบการสอนวิชาประวัติศาสตร์กฎหมายไทยและระบบกฎหมายหลัก (LW103). มหาวิทยาลัยรามคำแหง. 2543.
- ประเสริฐ ณ นคร. กฎหมายลักษณะโจร พ.ศ.1940. ใน: สารนิพนธ์ ประเสริฐ ณ นคร. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์; 2541. หน้า 536 - 543.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
carukkdhmaylksnaocr epnchuxeriyksilacarukhlkthi 38 sungkrmthanghlwngkhudkhnphbemuxpi ph s 2473 odyehtuthiidchuxcarukwa kdhmaylksnaocr enuxngcakenuxhaincarukklawthungkarkrathaphidthangxaya thngni mikhwamehnwacaruknikhwrichchuxwa kdhmaylksnalkpha makkwa enuxngcakenuxhalwnekiywkbkarlkphaphukhn aelasingkhxng carukniepnhlkthanlaylksnxksrekiywkbbthbyytikhxngkdhmaythiekathisud aelayngkhngrupaebbedimexaiw aelayngepnsilacarukephiynghlkediywthibnthuktwbthkdhmayexaiw tangcaksilacarukxunthimkcaekiywkbkhxngkberuxngsasna echn karsrangwd hrux karklpnacarukkdhmaylksnaocrwdmhathatusuokhthywsduhinchnwnkhnadaephnrupibesmakhwamsung108 esntiemtrkhwamkwang65 esntiemtrkhwamluk14 esntiemtrtwhnngsuxxksrithysuokhthykhnphbphuththskrach 2473 thangeliywekhawdphramhathatuaelawdsrasri hlkkiolemtrthi 50 51 xaephxemuxng cnghwdsuokhthykhnphbodykrmthanghlwngaephndinkhudphbthixyupccubnxakharkhlngklangphiphithphnthsthanaehngchatielkhpracatw hlkthi 38 silacarukkdhmaylksnaocr hnngsux prachumsilacaruk phakhthi 3 99 33 2560 phiphithphnthsthanaehngchati kaycnaphiesk https db sac or th inscriptions inscribe detail 118karkhnphbaelalksnakrmthanghlwngkhudkhnphbsilacaruknikhnasrangthnncrdwithithxng swnhnungkhxngthanghlwngaephndinhmayelkh 12 rahwangkiolemtrthi 50 51 thangeliywekhawdmhathatuaelawdsrasri xuthyanprawtisastrsuokhthy inekhttablemuxngeka xaephxemuxngsuokhthy cnghwdsuokhthy emux ph s 2473 silacaruknimicanwn 2 dan danthi 1 mi 45 brrthd danthi 2 mi 54 brrthd mikhxkhwambangswncharudesiyhay slkbnhinchnwn rupibesma khnad kwang 65 esntiemtr sung 108 esntiemtr aelahna 14 esntiemtr carukdwyxksrithysuokhthy pccubnekbrksaxyuthi xakharkhlngklangphiphithphnthsthanaehngchati xaephxkhlxnghlwng cnghwdpthumthanienuxhaxarmphbth klawthungkarkhunkhrxngrachykhxngkstriyphraxngkhihm nam smedcbphitrmharachbutrramrachathirach sribrmckrphrrdirach thrngprarthnathicakhdeklakdhmayhruxkarthaihbrisuththi xyangediywkbphxkhunramrach ihichbngkhbkbiphrfathwthngxanackr xnmiemuxngsuokhthyepnprathankhxngemuxngthnghlay xnprakxbdwy echliyng kaaephngephchr thungyng xutrditth pakym phicitr sxngaekhw phisnuolk epntn enuxhakhxngkdhmay enuxhaswnkhxngkdhmaypraktxyu 8 matra srupiddngni matra 1 krnithakharbichhruxbriwarkhxngphuxunhnimaxyudwykbtn aelatnimcdsngkhunihecanaykhxngkharbichkhnnn catxngthukprbetmxtratamthikahndiwinaela odycathukprbesmuxnipkhomylkphahruxchwyihkhathasbriwarkhxngphuxunhniipaetyngipidimphnekhtemuxng matra 2 krnithakharbichhruxbriwarkhxngphuxunhnimaxyudwykbtn aelatnimcdsngkhunihecanaykhxngkharbichkhnnnphayin 3 wn krniphayinekhtemuxng aela 5 wn krniphaynxkekhtemuxng catxngthukprbtamthikahndiwinphrarachsastraelaphrathrrmsastr aelahakekin 8 wn nbtngaetwnthi 9 epntnip cathukprbesmuxnkrnilkthrphyphuxun matra 3 krnithaehnkhnmathalb lx nasngsyaelaphicarnaduaelwwaepnocrcring ihchwycbocriwphuthichwycbocriwidcaidrbbaehncrangwl aethakphuidphbehnocraelwephikechy imchwycbkumiw thng thisamarththaid klbrxihecathrphythungkxnaelwcungkhxyekhaipchwycbtwocrsngihephraahwngrangwl khnphunncaimidrbbaehncrangwlid ephraathuxwaepnphwkediywkbocr aelamikhwamphidthanwangechy aelathatxipphicarnaphbwaepnphwkediywkbkhomycringcatxngthuklngothsdwy matra 4 krnithamiphucbocridphrxmthrphysinthithukkhomyip aetimnasngkhunaekecakhxng klbekbthrphysinnniwkbtwekuxbthngwn kahndihlngothskhnsungsudtamphrarachsastr matra 5 krnithamiphunasingkhxngthithukkhomyipsngkhunaekecakhxng phunncaidrbrangwl swnphuidthiwangechy imchwycbkumhruxcbidaelwaetplxytwocrip imwacadwyehtuphlid phunncamikhwamphidesmuxnepnkhomyesiyexng matra 6 krnimiphuipkhomykhxnginbanphuxun hruxipla khafnphuxun miphuchwntniplkkhxngphuxunkdi iplkkhxngdwyknkdi aelaruwaphuidlkthrphysinthannanpramanphayinsibpi immiphuruehnkhomyphunihakphunncbkhomyid aetimbxkecahnathiaelaecakhxng thanihprbmnehmuxndngmnepnkhomy aelaprbsthanediywkbkhnmaphalukemiythanip swnethphi crscrungekiyrtiaelaesawrs mntwiess klawwa krnimiphuiplkthrphy chkchwnihiplkthrphy hruxipdwyknkbphuchkchwn phuthiruehnehtukarndngklawaemwaehtukarnnncaphanipnanphn 10 piaelwktam aelwimaecngkhwam aetklbnakhwamnnipkhmkhuecathrphyephuxkhxrbsincangrangwl kdhmaykahndihprbesmuxnepnkhomyaelaidkhmkhuecathrphy xnungphuthinaphukhnhruxthrphysinthithukkhomyipmasngkhunecakhxng caidrbrangwltamthikahndiwinphrarachsastraelaphrathrrmsastr aelaidrbkarykyxngechidchudwy matra 7 krnithamikarkhomyaeyngchingkhxngsunghna txngekhaipchwycbkum hakimchwycbkumcatxngthukprbaelatxngchdichkhaesiyhayethakbsingthithukkhomyipaekphuesiyhaydwy matra 8 krnithacamikarkhawwkhway ihnawwkhwaynnmaaesdngihphuxunruehnepnphyankxn cungcasamarthkhawwkhwaynnid hakimnawwkhwaymaaesdngihphuxunruehnkxncamikhwamphid thngniephuxpxngknphukhomywwkhwaykhxngphuxunma xyangirktam s praesrith n nkhr ehnwaenuxhakhxngkdhmayxacmitxipxik aetenuxngcakcarukcharudesiyhayimsamarthcbickhwamidkhxsnnithanpithicarukkhwamincaruk rabuwa 5 chlunkstriphsakhprunmiphvhsbdihnithymuxlwngema khxkhwamswnkhxskrachcharudhayip khngehluxephiyngelkh 5 twsudthayephiyngtwediyw sastracary snnithanwapithirabuincaruk epnpimhaskrach m s xaccaepnpi m s 1235 ph s 1856 m s 1295 ph s 1916 hrux m s 1355 ph s 1976 xyangirktamsastracarypraesrith n nkhr ehnwasmysuokhthyimekhyichkhawa mux hlngkhawa hnithy ephraachannkhawa hnithymuxlwngema cungkhwrcahmaythung wnemingema s praesrith xthibaytxipwa aetedimkareriykpinkstrnnrxbla 12 piodyichkhawa ik ic epa yi ema si is snga emd sn ela esd aelaeriykpithiculskrachlngthayepn 0 1 2 rwmrxbla 10 piwa kd kd lwng eta ka kab db raway eming ebik odynamaichkhwbkn eriykwntang echn ikkd ickd epalwng iliperuxy rxbhnungcungichewla 60 wn dngnnpithimi wnemingema thitrngkbwnphvhsbdi wnephy eduxnhk pichlucungkhwrcaepnpi ph s 1940 inkhnathidr rabuwakhuxwnphvhsbdithi 12 emsayn ph s 1940khxsnnithankstriythithrngtrakdhmaynikhxsnnithankhxngkstriythithrngtrakdhmayniwaxacepn phyaram sungepnkstriyxoythya inkhnathidr winy phngssriephiyr snnithanwa khux smedcphramhathrrmarachathirach ramrachathirach sungepnphrarachoxrsxngkhotkhxngsmedcphramhathrrmrachathi 2 aehngsuokhthy tamthipraktinkhwamsakhykaraesdngihehnthungkhwamsmphnthrahwangsuokhthyaelaxoythya xyuthya sunghakphicarnacakenuxhakhxngbthbyyti caphbwamilksnaiklekhiyngkbkdhmaylkphakhxngxyuthya xacekidcakkartidtxsmphnthknrahwangemuxngthngsxng thaihidrbxiththikhxngxyuthyakhunip hruxenuxhakhxngkdhmaythipraktnixacthukphnwkekhaipswnnungkhxngkdhmayxyuthya emuxsuokhthyklayepnswnnungkhxngxyuthyaaelw xyangirktam lksnakhxngkarbyytikdhmaykhxngsuokhthyaelaxyuthyamikhwamaetktangkn klawkhux inxyuthyamkcakbyytikdhmayinexksar echn iblan imniymthicacaruklngaephnsilaehmuxnxyangsuokhthy khwamrungeruxngkhxnghlkkdhmayinsuokhthy sungxyubnhlkehtuphlaelamatrkarkhwbkhumsngkhm klawkhux khwamphidenuxngcakkarningechytxkarkrathaphid khwamrbphidrwmkntxchumchn aelakarprbodyysskdi thngyngpraktxiththiphlkhxngphrarachsastraelaphrathrrmsastrxangxingsilacarukkdhmaylksnaocr phiphithphnthsthanaehngchati ramkhaaehng suokhthy sunymanusywithyasirinthr SAC 2020 05 28 suokhthykhdi inmitiprawtisastr caruksuksa aelaniruktiprawti EP 06 subkhnemux 2024 05 23 winy phngssriephiyr brrnathikar 100 exksarsakhy srrphsaraprawtisastrithy ladbthi 1 sankngankxngthunsnbsnunkarwicy 2552 ISBN 9786167070032 thankhxmulcarukinpraethsithy carukkdhmaylksnaocr sac or th kathr kapraesrith aelasuemth canpradb exksarprakxbkarsxnwichaprawtisastrkdhmayithyaelarabbkdhmayhlk LW103 mhawithyalyramkhaaehng 2543 ISBN 974 593 270 1 praesrith n nkhr kdhmaylksnaocr ph s 1940 in sarniphnth praesrith n nkhr krungethph mhawithyalyekstrsastr 2541 hna 536 543