จอห์น เอ เอกิ้น (อังกฤษ: John A. Eakin) เป็นมิชชันนารีผู้เผยแผ่นิกายโปรเตสแตนต์ในประเทศไทยช่วงคริสต์ศตวรรษที่ 19 และเป็นหนึ่งในผู้บริหารคนแรกของโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ท่านเป็นบุคคลสำคัญของโรงเรียนอย่างมาก โดยในค.ศ. 2006 ทางโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย ได้สร้างอาคารเรียนทันสมัยแห่งใหม่ เป็นอาคารเรียนสูง 16 ชั้น ทดแทนอาคารเดิม ซึ่งได้ตั้งชื่ออาคารนี้ว่า
จอห์น เอ. เอกิ้น | |
---|---|
เกิด | 28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1854 มลรัฐเพนซิลวาเนีย, สหรัฐอเมริกา |
ประวัติ
จอห์น เอ เอกิ้น เกิดวันที่ 28 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1854 ที่มลรัฐเพนซิลวาเนีย ครอบครัว จอห์น อาศัยอยู่ในรัฐเพนซิลวาเนีย ซึ่งมีร้านขายของเล็ก ๆ เป็นกิจการของครอบครัว และเป็นครอบครัวที่เชื่อในพระเจ้า พ่อ และแม่เป็นผู้เชื่อที่เข้มแข็งในพระเจ้า และตั้งแต่เด็ก จอห์น ได้รับการอบรมสั่งสอนจากพ่อแม่ที่ให้อยู่ในทางของพระเจ้าและพ่อแม่ฝึกฝนให้จอห์นให้เข้มแข็งและรู้จักอดทนกับปัญหาและรู้จักช่วยเหลือและทำงานด้วยตัวเองมาตั้งแต่เด็กและมากกว่านั้นสิ่งที่พ่อแม่ของจอห์นเน้นอยู่เสมอทุกครั้งที่สอนคือเรื่องของความสัตย์ซื่อกับพระเจ้าฉะนั้นจอห์นเป็นคนที่สัตย์ซื่อกับพระเจ้าและชอบงานรับใช้มาตั้งแต่เด็ก ความฝันของจอห์นเวลานั้นอยากจะเป็นศิษยาภิบาล เหมือนกับศิษยาภิบาลที่โบสถ์ของเขา ฉะนั้นจอห์นมีหัวใจแห่งการรับใช้มาตั้งแต่เด็กและพระเจ้าทรงเรียกจอห์นในเวลานั้น โดยการใส่ภาระใจให้จอห์นอยากเป็นมิชชันนารี เวลานั้นจอห์นอยากออกไปเป็นมิชชันนารีและสนใจ เกี่ยวกับงานมิชชั่น และในที่สุดพระเจ้าก็เปิดทางให้จอห์นได้มีโอกาสออกไปรับใช้ แต่ครั้งนี้ไม่ได้ไปในฐานะมิชชันนารีแต่ไปในฐานะครู ซึ่งในช่วงเวลานั้นจอห์นได้สำเร็จการศึกษาพอดี จอห์นสำเร็จการศึกษาจากวิทยาลัยวอชิงตันและเจฟเฟอ์สัน (Washington and Jefferson College) ในปี ค.ศ. 1879
จอห์นจึงตัดสินใจออกเดินทางเข้าสู่ราชอาณาจักรสยาม ในฐานะเป็นครูใน พ.ศ. 2423 (ค.ศ. 1880) และจอห์นก็เริ่มต้นทำงานในสยามโดยรับราชการเป็นครูสอนอยู่ที่ หรือ King’s College อยู่ 4 ปี และในช่วงเวลานั้นจอห์นทนเห็นสภาพสังคมและสภาพจิตใจของคนในเวลานั้นไม่ไหว ซึ่งทำให้จอห์นเป็นห่วงสภาพจิตใจ จิตวิญญาณของพวกเขาอย่างมาก และอยากช่วยเหลือด้านสังคม ด้านจิตใจ และด้านจิตวิญญาณคนเหล่านี้ จอห์นตัดสินใจกลับสหรัฐเพื่อจะศึกษาต่อด้านศาสนาศาสตร์เพื่อจะสมัครเป็นมิชชันนารี และในที่สุดจอห์นก็ได้เดินทางกลับมาสยามอีกครั้งในฐานะมิชชันนารี และพร้อมกับภรรยาของเขาคือ มิสลอร่า โอล์มสเตด และการกลับมาครั้งนี้จอห์นและภรรยาได้นำการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนามาสู่ชาวสยาม จอห์นได้เริ่มก่อตั้งโรงเรียนเพื่อให้คนยากไร้ได้มาศึกษา และสอนด้านศิลธรรม จริยธรรม เพื่อนำชาวสยามได้รับความรอดด้านจิตวิญญาณ โดยตั้งโรงเรียนคือโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย
ผลงาน
ในค.ศ.1888 (พ.ศ. 2431) ได้ก่อตั้งโรงเรียนบางกอกคริสเตียนไฮสคูล ที่ ตำบลกุฏีจีน ซึ่งภายหลังได้ไปรวมกับโรงเรียนที่ตั้งโดยศาสนาจารย์แมททูน เป็น และในค.ศ.1904 ย้ายโรงเรียนมาอยู่ที่ ถนนประมวญ และเมื่อค.ศ.1913 (พ.ศ. 2456) ได้เปลี่ยนชื่อเป็นโรงเรียนกรุงเทพคริสเตียนวิทยาลัย
อ้างอิง
- คริสตจักรที่ 1 สำเหร่หน้า กับ 150 ปีแห่งความเชื่อศรัทธา ค.ศ. 1849-1999. พิมพ์ที่ ยูเนี่ยนแอดกราฟิก โดยนายณัฐพร ศิลปศร, พ.ศ. 2542, หน้า 46.
แหล่งข้อมูลอื่น
- พิษณุ อรรฆภิญญ์,จอห์น เอ เอกิ้น ( ผู้มากับความฝัน ) ,พิมพ์ครั้งที่1 ตุลาคม 2010,
- จอร์จ บรัดเลย์ แมคฟาร์แลนด์ (พระอาจวิทยาคม (ยอร์ช บี. แมคฟาร์แลนด์)) บรรณาธิการ, จิตราภรณ์ ตันรัตนกุล แปล "หนึ่งศตวรรษในสยาม 1828-1928", อินเตอร์ พับลิชชิ่ง เอ็นเตอร์ไพรส์, พิมพ์ครั้งที่ 1, พ.ศ. 2555.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
cxhn ex exkin xngkvs John A Eakin epnmichchnnariphuephyaephnikayopretsaetntinpraethsithychwngkhriststwrrsthi 19 aelaepnhnunginphubriharkhnaerkkhxngorngeriynkrungethphkhrisetiynwithyaly thanepnbukhkhlsakhykhxngorngeriynxyangmak odyinkh s 2006 thangorngeriynkrungethphkhrisetiynwithyaly idsrangxakhareriynthnsmyaehngihm epnxakhareriynsung 16 chn thdaethnxakharedim sungidtngchuxxakharniwacxhn ex exkinekid28 kumphaphnth kh s 1854 mlrthephnsilwaeniy shrthxemrikaprawtixakharcxhn ex exkin sung 16 chn xyudanhlnghxthrrm odytngchuxephuxepnekiyrtiaed sasnacary cxhn ex exkin cxhn ex exkin ekidwnthi 28 kumphaphnth kh s 1854 thimlrthephnsilwaeniy khrxbkhrw cxhn xasyxyuinrthephnsilwaeniy sungmirankhaykhxngelk epnkickarkhxngkhrxbkhrw aelaepnkhrxbkhrwthiechuxinphraeca phx aelaaemepnphuechuxthiekhmaekhnginphraeca aelatngaetedk cxhn idrbkarxbrmsngsxncakphxaemthiihxyuinthangkhxngphraecaaelaphxaemfukfnihcxhnihekhmaekhngaelaruckxdthnkbpyhaaelaruckchwyehluxaelathangandwytwexngmatngaetedkaelamakkwannsingthiphxaemkhxngcxhnennxyuesmxthukkhrngthisxnkhuxeruxngkhxngkhwamstysuxkbphraecachanncxhnepnkhnthistysuxkbphraecaaelachxbnganrbichmatngaetedk khwamfnkhxngcxhnewlannxyakcaepnsisyaphibal ehmuxnkbsisyaphibalthiobsthkhxngekha channcxhnmihwicaehngkarrbichmatngaetedkaelaphraecathrngeriykcxhninewlann odykarispharaicihcxhnxyakepnmichchnnari ewlanncxhnxyakxxkipepnmichchnnariaelasnic ekiywkbnganmichchn aelainthisudphraecakepidthangihcxhnidmioxkasxxkiprbich aetkhrngniimidipinthanamichchnnariaetipinthanakhru sunginchwngewlanncxhnidsaerckarsuksaphxdi cxhnsaerckarsuksacakwithyalywxchingtnaelaecfefxsn Washington and Jefferson College inpi kh s 1879 cxhncungtdsinicxxkedinthangekhasurachxanackrsyam inthanaepnkhruin ph s 2423 kh s 1880 aelacxhnkerimtnthanganinsyamodyrbrachkarepnkhrusxnxyuthi hrux King s College xyu 4 pi aelainchwngewlanncxhnthnehnsphaphsngkhmaelasphaphcitickhxngkhninewlannimihw sungthaihcxhnepnhwngsphaphcitic citwiyyankhxngphwkekhaxyangmak aelaxyakchwyehluxdansngkhm dancitic aeladancitwiyyankhnehlani cxhntdsinicklbshrthephuxcasuksatxdansasnasastrephuxcasmkhrepnmichchnnari aelainthisudcxhnkidedinthangklbmasyamxikkhrnginthanamichchnnari aelaphrxmkbphrryakhxngekhakhux mislxra oxlmsetd aelakarklbmakhrngnicxhnaelaphrryaidnakarepliynaeplngaelakarphthnamasuchawsyam cxhniderimkxtngorngeriynephuxihkhnyakiridmasuksa aelasxndansilthrrm criythrrm ephuxnachawsyamidrbkhwamrxddancitwiyyan odytngorngeriynkhuxorngeriynkrungethphkhrisetiynwithyalyphlnganinkh s 1888 ph s 2431 idkxtngorngeriynbangkxkkhrisetiynihskhul thi tablkuticin sungphayhlngidiprwmkborngeriynthitngodysasnacaryaemththun epn aelainkh s 1904 yayorngeriynmaxyuthi thnnpramwy aelaemuxkh s 1913 ph s 2456 idepliynchuxepnorngeriynkrungethphkhrisetiynwithyalyxangxingkhristckrthi 1 saehrhna kb 150 piaehngkhwamechuxsrththa kh s 1849 1999 phimphthi yueniynaexdkrafik odynaynthphr silpsr ph s 2542 hna 46 aehlngkhxmulxunphisnu xrrkhphiyy cxhn ex exkin phumakbkhwamfn phimphkhrngthi1 tulakhm 2010 cxrc brdely aemkhfaraelnd phraxacwithyakhm yxrch bi aemkhfaraelnd brrnathikar citraphrn tnrtnkul aepl hnungstwrrsinsyam 1828 1928 xinetxr phblichching exnetxriphrs phimphkhrngthi 1 ph s 2555