ไฟล์ (อังกฤษ: file) หรือ แฟ้ม ในทางคอมพิวเตอร์หมายถึงกลุ่มระเบียนสารสนเทศใด ๆ หรือทรัพยากรสำหรับเก็บบันทึกสารสนเทศ ซึ่งสามารถใช้งานได้กับโปรแกรมคอมพิวเตอร์ และโดยปกติจะอยู่บนถาวรบางชนิด ซึ่งไฟล์นั้นคงทนถาวรในแง่ว่า ยังคงใช้งานได้สำหรับโปรแกรมอื่นหลังจากโปรแกรมปัจจุบันใช้งานเสร็จสิ้น ไฟล์คอมพิวเตอร์ถือได้ว่าเป็นของทันสมัยคู่กับเอกสารกระดาษ ซึ่งแต่เดิมจะถูกเก็บไว้ในตู้แฟ้มเอกสารของสำนักงานและห้องสมุด จึงเป็นที่มาของคำนี้
ไฟล์อาจเรียกได้หลายชื่อเช่น แฟ้มข้อมูล, แฟ้มอิเล็กทรอนิกส์, แฟ้มคอมพิวเตอร์, แฟ้มดิจิทัล, ไฟล์ข้อมูล, ไฟล์อิเล็กทรอนิกส์, ไฟล์คอมพิวเตอร์, คอมพิวเตอร์ไฟล์, ฯลฯ
ประวัติ
คำว่า "ไฟล์" ปรากฏเป็นครั้งแรกในบริบทของหน่วยเก็บบันทึกของคอมพิวเตอร์เมื่อ พ.ศ. 2495 โดยอ้างถึงสารสนเทศที่เก็บบันทึกบน การใช้งานในยุกแรก ๆ ผู้คนถือว่าไฟล์คือฮาร์ดแวร์ที่เป็นรากฐาน (มากกว่าจะหมายถึงเนื้อหา) ตัวอย่างเช่นคอมพิวเตอร์ ดิสก์ไดรฟ์ถูกเรียกว่า "ดิสก์ไฟล์" ระบบต่าง ๆ อาทิ (Compatible Time-Sharing System: CTSS) เมื่อ พ.ศ. 2505 แนวคิดเรื่องระบบไฟล์เด่นชัดขึ้น โดยปรากฏเป็น "ไฟล์" หลายไฟล์บนอุปกรณ์เก็บบันทึกเครื่องหนึ่ง นำไปสู่การใช้งานไฟล์ในสมัยใหม่ ชื่อไฟล์ในระบบแบ่งกันใช้เวลาที่เข้ากันได้มีสองส่วนได้แก่ "ชื่อหลัก" ที่ผู้ใช้สามารถอ่านได้และ "ชื่อรอง" ที่แสดงถึงชนิดของไฟล์ หลักการนี้ยังคงใช้อยู่ในระบบปฏิบัติการหลายรุ่นในทุกวันนี้ซึ่งรวมทั้งไมโครซอฟท์ วินโดวส์
เนื้อหาไฟล์
ระบบปฏิบัติการสมัยใหม่จัดการไฟล์โดยมองเป็นแถวลำดับหนึ่งมิติของข้อมูลไบต์ ซึ่งมักแสดงให้เห็นได้จากส่วนขยายไฟล์ เป็นตัวระบุกฎเกณฑ์ว่าข้อมูลไบต์ในไฟล์จะถูกจัดการและแปลความหมายอย่างไร ตัวอย่างเช่น ข้อมูลไบต์ของไฟล์ข้อความธรรมดา (ไฟล์ .txt ในวินโดวส์) เกี่ยวข้องกับอักขระต่าง ๆ ในแอสกีหรือยูนิโคดเป็นต้น ในขณะที่ข้อมูลไบต์ของไฟล์ภาพ วิดีโอ และเสียง ถูกแปลความหมายในทางที่ต่างไป ไฟล์ส่วนใหญ่ได้จัดสรรข้อมูลไบต์จำนวนเล็กน้อยสำหรับเมทาเดตา ซึ่งช่วยให้ไฟล์สามารถจดจำสารสนเทศเบื้องต้นเกี่ยวกับตัวเอง
ขนาดไฟล์
ไฟล์อาจมีขนาดหนึ่ง ณ เวลาหนึ่ง โดยปกติจะแสดงออกเป็นจำนวนของไบต์ ซึ่งแสดงว่าไฟล์นั้นเกี่ยวเนื่องกับหน่วยเก็บบันทึกในปริมาณเท่าใด ขนาดไฟล์ในระบบปฏิบัติการสมัยใหม่เป็นเลขจำนวนเต็มซึ่งไม่เป็นลบ มีขนาดได้ตั้งแต่ศูนย์จนถึงขีดจำกัดสูงสุดของระบบ อย่างไรก็ตาม นิยามของไฟล์มิได้จำเป็นว่าขนาดไฟล์ ณ เวลาหนึ่งต้องมีความหมายเช่นนั้นจริง ในกรณีที่ข้อมูลภายในไฟล์ไม่สัมพันธ์กับข้อมูลในแหล่งรวมของหน่วยเก็บบันทึกถาวร ไฟล์ศูนย์ไบต์เป็นกรณีพิเศษซึ่งอาจเป็นอุบัติเหตุในการบันทึก (เช่นผลจากการยกเลิกการทำงานบนดิสก์) หรือทำงานเป็นบางชนิดในระบบไฟล์
ตัวอย่างเช่น ไฟล์ที่จุดลิงก์ /bin/ls เชื่อมโยงไปในระบบปฏิบัติการแบบยูนิกซ์ทั่วไป เป็นไปได้ว่ามีขนาดตามที่กำหนดซึ่งแทบจะไม่เปลี่ยนแปลง หากเทียบกับ ซึ่งเป็นไฟล์เช่นกันแต่ขนาดของมันอาจไม่ชัดเจน
การจัดการข้อมูลในไฟล์
สารสนเทศในไฟล์คอมพิวเตอร์อาจประกอบด้วยกลุ่มสารสนเทศที่มีขนาดเล็กกว่า (ซึ่งมักเรียกว่า "" หรือ "") ซึ่งแตกต่างกันเป็นเอกเทศแต่มีลักษณะบางประการร่วมกัน ตัวอย่างเช่น ไฟล์ข้อมูลบัญชีค่าจ้างอาจมีสารสนเทศเกี่ยวกับรายชื่อลูกจ้างทั้งหมดในบริษัทและรายละเอียดของการจ่ายค่าจ้าง หมายความว่าแต่ละระเบียนในไฟล์มีข้อมูลลูกจ้างหนึ่งคน และทุกระเบียนก็มีลักษณะความเกี่ยวข้องกับการจ่ายค่าจ้างร่วมกัน สิ่งนี้เปรียบได้กับ การจัดเก็บข้อมูลการจ่ายค่าจ้างทั้งหมดลงในตู้เก็บเอกสารจำเพาะในสำนักงานที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ ไฟล์ข้อความอาจประกอบด้วยข้อความหลาย ๆ บรรทัด ซึ่งสัมพันธ์กับบรรทัดที่ถูกพิมพ์ลงบนกระดาษ เป็นต้น ส่วนในทางอื่น ไฟล์อาจประกอบด้วยอิมเมจฐานสองที่กำหนดขนาดได้ () หรือประกอบด้วยรหัสที่ทำงานได้ ()
วิธีการที่ข้อมูลสารสนเทศรวมกลุ่มเข้าด้วยกันเป็นไฟล์ล้วนขึ้นอยู่กับการออกแบบ สิ่งนี้นำไปสู่โครงสร้างไฟล์มากมายที่ถูกทำให้สูงหรือต่ำกว่ามาตรฐานเพื่อจุดประสงค์ทุกประเภทเท่าที่สามารถจินตนาการได้ ตั้งแต่โครงสร้างเรียบง่ายที่สุดไปจนถึงซับซ้อนที่สุด ไฟล์คอมพิวเตอร์ส่วนมากถูกใช้โดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ซึ่งสร้าง แก้ไข หรือลบไฟล์ได้ตามความต้องการพื้นฐานของโปรแกรม โปรแกรมเมอร์ผู้สร้างโปรแกรมคือผู้ตัดสินใจว่าไฟล์อะไรบ้างที่จำเป็นต้องใช้ ใช้อย่างไร และตั้งชื่ออย่างไร
ในบางกรณี โปรแกรมคอมพิวเตอร์ก็จัดดำเนินการไฟล์ต่าง ๆ ที่ทำให้ผู้ใช้คอมพิวเตอร์สามารถมองเห็นได้ เช่นในโปรแกรมประมวลคำ ผู้ใช้สามารถจัดดำเนินการไฟล์เอกสารที่ตั้งชื่อโดยผู้ใช้เอง แม้เนื้อหาของไฟล์เอกสารถูกจัดเรียงในรูปแบบที่โปรแกรมประมวลคำเข้าใจ แต่ผู้ใช้ก็สามารถตั้งชื่อ กำหนดตำแหน่งของไฟล์ และจัดหากลุ่มสารสนเทศ (เช่นคำหรือข้อความต่าง ๆ) เพื่อเก็บบันทึกลงในไฟล์นั้น
โปรแกรมประยุกต์หลายโปรแกรมบรรจุไฟล์ข้อมูลรวมเป็นไฟล์เดียวเรียกว่า (archive file) โดยใช้เครื่องหมายบ่งชี้ภายในเพื่อแยกแยะชนิดของสารสนเทศที่ต่างกันในนั้น ประโยชน์ของไฟล์เก็บถาวรคือลดจำนวนไฟล์เพื่อให้โอนย้ายได้ง่ายขึ้น ลดการพื้นที่การจัดเก็บข้อมูล หรือเพียงเพื่อจัดระเบียบไฟล์ที่ล้าสมัย บ่อยครั้งไฟล์เก็บถาวรต้องถูกแยกออกก่อนใช้งานคราวถัดไป
การดำเนินการไฟล์
ไฟล์ในคอมพิวเตอร์สามารถถูกสร้าง ย้าย แก้ไข ขยายขนาด ยุบขนาด และลบทิ้ง โดยส่วนมากโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ทำงานการอยู่บนคอมพิวเตอร์เป็นผู้จัดกระทำการดำเนินการเหล่านี้ แต่ในขณะเดียวกันผู้ใช้คอมพิวเตอร์ก็สามารถจัดกระทำไฟล์ต่าง ๆ ตามต้องการได้ ยกตัวอย่างไฟล์ของไมโครซอฟท์ เวิร์ด โดยปกติจะถูกสร้างและแก้ไขด้วยโปรแกรมไมโครซอฟท์ เวิร์ด ตามความตอบสนองต่อคำสั่งของผู้ใช้ แต่ผู้ใช้ก็สามารถย้ายตำแหน่ง เปลี่ยนชื่อ หรือลบไฟล์เหล่านี้ได้โดยตรงด้วยเช่น (ในคอมพิวเตอร์วินโดวส์)
ในระบบปฏิบัติการแบบยูนิกซ์ กระบวนการต่าง ๆ ใน (user space) โดยปกติมิได้จัดการกับไฟล์เลยแม้แต่น้อย แต่ระบบปฏิบัติการได้จัดเตรียมระดับของ (abstraction) ไว้ให้ ซึ่งหมายความว่าการโต้ตอบเกือบทั้งหมดเกี่ยวกับไฟล์จากพื้นที่ผู้ใช้จะกระทำผ่าน ไฟล์ต่าง ๆ ในระบบปฏิบัติการดังกล่าวไม่มีชื่อเป็นของตัวเอง ดังนั้นฮาร์ดลิงก์จะทำหน้าที่เชื่อมโยงชื่อชื่อหนึ่งไปที่ไฟล์ (หรือไม่มีชื่อเลยก็ได้ซึ่งจะทำให้เป็นลิงก์ชั่วคราว) ทำให้กระบวนการสามารถจัดการกับชื่อเหล่านั้นเสมือนไฟล์ ตัวอย่างเช่น โปรแกรมหนึ่งในพื้นที่ผู้ใช้ไม่สามารถลบไฟล์โดยตรงได้ แต่มันสามารถลบลิงก์ไปยังไฟล์ได้ (โดยใช้คำสั่งเชลล์อาทิ rm หรือ mv ในกรณีลิงก์ไม่มีชื่อ เพียงออกจากโปรแกรม) และถ้าเคอร์เนลพบว่าไม่มีลิงก์ใด ๆ เชื่อมโยงมาที่ไฟล์แล้ว ไฟล์นั้นก็อาจถูกลบโดยเคอร์เนล ในความเป็นจริงแล้วเคอร์เนลเท่านั้นที่สามารถจัดการกับไฟล์ได้โดยตรง แต่มันก็เปิดรับการโต้ตอบทั้งหมดจากพื้นที่ผู้ใช้ด้วยไฟล์เสมือนที่ไม่เปิดเผยตัวตนต่อโปรแกรม
อรรถศาสตร์
แม้ว่าโปรแกรมต่าง ๆ จัดดำเนินการไฟล์ด้วยวิธีที่หลากหลายขึ้นอยู่กับระบบปฏิบัติการและระบบไฟล์ที่เกี่ยวข้อง การดำเนินการเกี่ยวกับไฟล์โดยทั่วไปมีดังนี้
- การสร้างไฟล์ด้วยชื่อที่กำหนดให้
- การตั้งค่าแอตทริบิวต์ที่ควบคุมการดำเนินการของไฟล์
- การเปิดไฟล์เพื่อใช้เนื้อหาภายใน
- การอ่านหรือการปรับปรุงเนื้อหานั้น
- การส่งเนื้อหาปรับปรุงให้หน่วยเก็บบันทึกถาวร
- การปิดไฟล์ซึ่งทำให้หมดสิทธิ์เข้าถึงจนกว่าจะเปิดไฟล์นั้นอีกครั้ง
การระบุและการจัดการไฟล์
ในระบบคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ ไฟล์ต่าง ๆ เข้าถึงได้โดยใช้ (filename) ชื่อไฟล์เกี่ยวข้องโดยตรงกับไฟล์ในระบบปฏิบัติการบางระบบ แต่ในอีกระบบหนึ่ง ไฟล์ไม่มีชื่อแต่ถูกเชื่อมโยงด้วยลิงก์ที่มีชื่อดังที่ได้กล่าวมาแล้ว ในกรณีอย่างหลัง ผู้ใช้สามารถระบุชื่อของลิงก์เป็นตัวแทนของไฟล์ได้ แต่ก็อาจทำให้เกิดความเข้าใจผิด โดยเฉพาะเมื่อมีลิงก์มากกว่าหนึ่งลิงก์เชื่อมโยงไปยังไฟล์เดียวกัน
ไฟล์ (หรือลิงก์ของไฟล์) สามารถวางไว้ในไดเรกทอรีที่ตำแหน่งต่าง ๆ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งคือ (หรือโฟลเดอร์) สามารถบรรจุรายการไฟล์หรือลิงก์ของไฟล์ สิ่งที่สำคัญอย่างยิ่งจากการนิยามนี้คือคำว่า "ไฟล์" ต้องหมายรวมถึงไดเรกทอรีด้วย จึงจะทำให้เกิดการมีอยู่ของลำดับชั้นไดเรกทอรี นั่นคือไดเรกทอรีสามารถบรรจุไดเรกทอรีย่อยอีกได้ ชื่อที่อ้างถึงไฟล์ในไดเรกทอรีโดยทั่วไปต้องมีเพียงหนึ่งเดียว กล่าวคือต้องไม่มีชื่ออื่นที่เหมือนกันปรากฏอยู่ในไดเรกทอรีหนึ่ง ๆ อย่างไรก็ตาม ในระบบปฏิบัติการบางระบบ ชื่ออาจมีข้อกำหนดคุณลักษณะของชนิดรวมอยู่ ซึ่งทำให้ไดเรกทอรีสามารถบรรจุชื่อที่เหมือนกันสำหรับชนิดของวัตถุต่างชนิดกัน เช่นไดเรกทอรีกับไฟล์
ในสภาวะแวดล้อมที่ไฟล์มีชื่อ ชื่อของไฟล์และเส้นทางไปยังไดเรกทอรีของไฟล์ต้องระบุได้เพียงหนึ่งเดียวท่ามกลางไฟล์อื่น ๆ ทั้งหมดในระบบคอมพิวเตอร์ หมายความว่าไม่สามารถมีไฟล์สองไฟล์ซึ่งมีชื่อและเส้นทางเดียวกัน ส่วนในสภาวะแวดล้อมที่ไฟล์ไม่มีชื่อ การอ้างถึงที่มีชื่อไปยังไฟล์จะมีอยู่ในเนมสเปซหนึ่ง โดยส่วนมากชื่อใด ๆ ในเนมสเปซจะอ้างถึงไฟล์จำนวนศูนย์หรือหนึ่งไฟล์เท่านั้น อย่างไรก็ตามไฟล์ใด ๆ ก็อาจถูกแทนด้วยชื่อในเนมสเปซจำนวนศูนย์ชื่อ หนึ่งชื่อ หรือมากกว่านั้นก็ได้
สายอักขระใด ๆ ของชื่อสำหรับไฟล์หรือลิงก์อาจจัดดีแล้วหรือไม่ก็ได้ขึ้นอยู่กับบริบทของการประยุกต์ใช้ ชื่อที่จัดดีแล้วหรือไม่ก็ตามขึ้นอยู่กับระบบคอมพิวเตอร์ที่กำลังใช้อยู่ คอมพิวเตอร์สมัยก่อนอนุญาตให้ตั้งชื่อไฟล์ด้วยตัวอักษรและตัวเลขเพียงไม่กี่ตัว แต่คอมพิวเตอร์สมัยใหม่สามารถตั้งชื่อไฟล์ยาวได้ (บางระบบรองรับอักขระได้ถึง 255 ตัว) ซึ่งมีตัวอักษรและตัวเลขยูนิโคดผสมกันแบบใดก็ได้ ทำให้ช่วยเข้าใจจุดประสงค์ของไฟล์ง่ายขึ้นเพียงแค่มองผ่าน ระบบคอมพิวเตอร์บางระบบอนุญาตให้มีในชื่อไฟล์หรือไม่ก็ได้ (case sensitivity) ของชื่อไฟล์ถูกกำหนดโดย ระบบไฟล์ยูนิกซ์ตอบสนองต่ออักษรตัวเล็กตัวใหญ่และอนุญาตให้โปรแกรมประยุกต์ระดับผู้ใช้สามารถสร้างไฟล์ที่ชื่อต่างกันเพียงอักษรตัวเล็กตัวใหญ่ของอักขระ ไมโครซอฟท์ วินโดวส์รองรับระบบไฟล์หลายแบบ แต่ละแบบก็มีนโยบายเกี่ยวกับความตอบสนองต่ออักษรตัวเล็กตัวใหญ่แตกต่างกัน ระบบไฟล์ (FAT) สามารถมีไฟล์หลายไฟล์ที่ชื่อต่างกันเพียงอักษรตัวเล็กตัวใหญ่ได้ในกรณีที่ใช้ (disk editor) เพื่อแก้ไขชื่อไฟล์ในรายการไดเรกทอรี อย่างไรก็ตามโปรแกรมประยุกต์ต่าง ๆ ของผู้ใช้โดยปกติจะไม่อนุญาตให้สร้างไฟล์ในชื่อเดียวกันแต่ต่างกันเพียงอักษรตัวเล็กตัวใหญ่
คอมพิวเตอร์ส่วนมากจัดการไฟล์เป็นลำดับชั้นโดยใช้โฟลเดอร์ ไดเรกทอรี หรือแค็ตตาล็อก มโนทัศน์เหล่านี้เหมือนกันโดยไม่คำนึงถึงคำที่ใช้เรียก แต่ละโฟลเดอร์สามารถบรรจุไฟล์จำนวนเท่าใดก็ได้ และสามารถบรรจุโฟลเดอร์อื่นด้วยซึ่งเรียกว่าโฟลเดอร์ย่อย โฟลเดอร์ย่อยก็ยังสามารถบรรจุไฟล์และโฟลเดอร์จำนวนเท่าใดก็ได้เรื่อยไป ทำให้เกิดโครงสร้างอย่างต้นไม้ โดยมีโฟลเดอร์หลักหนึ่งโฟลเดอร์ (หรือโฟลเดอร์ราก ชื่อที่เรียกแตกต่างกันไปตามระบบปฏิบัติการ) ที่เป็นระดับบนสุดของโฟลเดอร์อื่นและไฟล์ทั้งหมด โฟลเดอร์สามารถตั้งชื่อได้เช่นเดียวกับไฟล์ (ยกเว้นโฟลเดอร์รากซึ่งมักจะไม่มีชื่อ) ประโยชน์ของโฟลเดอร์คือทำให้การจัดการไฟล์ในวิธีที่สอดคล้องกับหลักเหตุผลได้ง่าย
เมื่อคอมพิวเตอร์ใช้โฟลเดอร์ได้ นอกเหนือจากแต่ละไฟล์และโฟลเดอร์มีชื่อของมันเองแล้ว ก็ยังมีเส้นทาง (path) ของไฟล์และโฟลเดอร์อีกด้วย ซึ่งเส้นทางเป็นตัวระบุโฟลเดอร์นั้นหรือโฟลเดอร์ต่าง ๆ ที่ไฟล์หรือโฟลเดอร์นั้นวางอยู่ เส้นทางจะมีอักขระพิเศษบางตัวเช่นทับ (/) หรือ (\) เพื่อใช้แบ่งชื่อของไฟล์และโฟลเดอร์ จากตัวอย่างในภาพประกอบ เส้นทาง /Payroll/Salaries/Managers เป็นตัวระบุเพียงหนึ่งเดียวของไฟล์ชื่อ Managers ในโฟลเดอร์ชื่อ Salaries และอยู่ภายใต้โฟลเดอร์ชื่อ Payroll อีกชั้นหนึ่ง ชื่อของไฟล์และโฟลเดอร์ดังกล่าวถูกแบ่งด้วยทับ โฟลเดอร์บนสุดหรือโฟลเดอร์รากไม่มีชื่อในกรณีนี้ดังนั้นเส้นทางจึงขึ้นต้นด้วยทับ (ถ้าโฟลเดอร์รากมีชื่อ มันจะปรากฏชื่อนำหน้าทับ)
ระบบคอมพิวเตอร์จำนวนมาก (แต่ไม่ใช่ทั้งหมด) ใช้ ซึ่งเป็นที่รู้จักอีกอย่างหนึ่งว่าชนิดไฟล์ เพื่อช่วยระบุว่าไฟล์มีข้อมูลอะไร ส่วนขยายในคอมพิวเตอร์วินโดวส์ประกอบด้วยจุดที่ท้ายชื่อไฟล์ตามด้วยตัวอักษรไม่กี่ตัวสำหรับระบุชนิดของไฟล์ อาทิ .txt คือไฟล์ข้อความธรรมดา .doc คือไฟล์เอกสารข้อความซึ่งเป็นปกติของโปรแกรมไมโครซอฟท์ เวิร์ด .jpg คือไฟล์รูปภาพซึ่งใช้การบีบอัดแบบ JPEG เป็นต้น ถึงแม้ว่าระบบคอมพิวเตอร์ใช้ส่วนขยายระบุชนิดไฟล์ แต่ระดับการรับรู้ของระบบคอมพิวเตอร์แต่ละระบบอาจไม่เหมือนกัน กล่าวคือส่วนขยายหนึ่งอาจจำเป็นในระบบหนึ่ง ในขณะที่ส่วนขยายนั้นอาจถูกมองข้ามอย่างสิ้นเชิงในอีกระบบถ้าไฟล์นั้นปรากฏขึ้น
การป้องกันไฟล์
ระบบคอมพิวเตอร์สมัยใหม่ส่วนมากได้จัดเตรียมวิธีการสำหรับป้องกันไฟล์จากความเสียหายทั้งโดยตั้งใจและไม่ตั้งใจ คอมพิวเตอร์ที่สามารถมีผู้ใช้ได้หลายคนนำมาใช้ควบคุมว่าใครจะสามารถแก้ไข ลบ หรือสร้างไฟล์และโฟลเดอร์ใดได้หรือไม่ได้ ตัวอย่างเช่น ผู้ใช้หนึ่ง ๆ อาจได้รับสิทธิการอ่านไฟล์หรือโฟลเดอร์หนึ่งเพียงอย่างเดียว แต่ไม่ให้แก้ไขหรือลบไฟล์หรือโฟลเดอร์นั้น หรือผู้ใช้อาจได้รับอนุญาตให้อ่านและแก้ไขไฟล์หรือโฟลเดอร์อื่น แต่ไม่ให้สั่งกระทำการไฟล์หรือโฟลเดอร์นั้นก็ได้ เป็นต้น สิทธิการเข้าถึงไฟล์อาจใช้สำหรับการอนุญาตให้ผู้ใช้จำเพาะบางรายสามารถเข้าถึงเนื้อหาของไฟล์หรือโฟลเดอร์ที่ต้องการ สิทธิการเข้าถึงไฟล์นี้ช่วยป้องกันการก้าวก่ายโดยไม่ได้รับอนุญาตหรือการทำลายสารสนเทศในไฟล์ และช่วยรักษาสารสนเทศส่วนบุคคลให้เป็นความลับจากผู้ใช้อื่นที่ไม่ได้รับอนุญาต
กลไกการป้องกันอีกอย่างหนึ่งที่ใช้ในคอมพิวเตอร์หลายระบบคือ ตัวบ่งชี้อ่านอย่างเดียว (read-only flag) เมื่อไฟล์ใดไฟล์หนึ่งตั้งตัวบ่งชี้นี้ (ซึ่งสามารถกระทำได้โดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์หรือโดยผู้ใช้ที่เป็นมนุษย์) ไฟล์นั้นจะยังคงอ่านได้แต่แก้ไขไม่ได้ ตัวบ่งชี้นี้มีประโยชน์ในการป้องกันสารสนเทศวิกฤตมิให้ถูกแก้ไขหรือถูกลบ เช่นไฟล์พิเศษที่ถูกใช้โดยส่วนประกอบภายในของระบบคอมพิวเตอร์เท่านั้น บางระบบมี ตัวบ่งชี้ซ่อน (hidden flag) เพื่อซ่อนไฟล์บางไฟล์ไม่ให้เห็น ระบบคอมพิวเตอร์ใช้ตัวบ่งชี้นี้เพื่อซ่อนไฟล์ระบบที่สำคัญที่ผู้ใช้ทั่วไปไม่ควรเปลี่ยนแปลง
การเก็บบันทึกไฟล์
คำอธิบายที่กล่าวมาทั้งหมดข้างต้นเป็นมโนทัศน์ของไฟล์ที่นำเสนอต่อผู้ใช้หรือระบบปฏิบัติการระดับสูง อย่างไรก็ตามไฟล์ใด ๆ ที่มีจุดประสงค์อันมีประโยชน์จะต้องมีการสำแดงเชิงกายภาพบางประการนอกเหนือจากการทดลองทางความคิด นั่นคือไฟล์ (ซึ่งเป็นแนวคิดแบบนามธรรม) ในระบบคอมพิวเตอร์จะต้องมีความคล้ายคลึงทางกายภาพโดยแท้จริงถ้ามันต้องมีอยู่ทั้งสิ้น
ในบริบททางกายภาพ ไฟล์คอมพิวเตอร์ส่วนมากถูกบันทึกอยู่บนอุปกรณ์เก็บบันทึกข้อมูลบางชนิดเช่น ฮาร์ดดิสก์ ซึ่งมักจะเป็นแหล่งที่อยู่ที่ระบบปฏิบัติการทำงานและเป็นแหล่งเก็บบันทึกไฟล์ของมัน ฮาร์ดดิสก์เป็นรูปแบบที่ใช้กันอย่างแพร่หลายตั้งแต่ต้นคริสต์ทศวรรษ 1960 หากไฟล์บรรจุสารสนเทศเพียงชั่วคราวก็อาจเก็บบันทึกไว้ในแรม ไฟล์คอมพิวเตอร์ก็สามารถเก็บบันทึกได้บนสื่อชนิดอื่นได้ในบางกรณี อาทิ แผ่นซีดี แผ่นดิจิทัลอเนกประสงค์ (ดีวีดี) ยูเอสบีแฟลชไดรฟ์ ฯลฯ
ไฟล์หลายไฟล์ในระบบปฏิบัติการแบบยูนิกซ์ไม่มีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับอุปกรณ์เก็บบันทึกทางกายภาพ เป็นตัวอย่างหนึ่งที่สำคัญที่สุด ไฟล์ทั้งหมดที่อยู่ภายใต้ /dev, /proc และ /sys ก็เช่นกัน สิ่งเหล่านี้สามารถเข้าถึงได้ในฐานะไฟล์ในพื้นที่ผู้ใช้ แต่ความจริงแล้วมันเป็นไฟล์เสมือนซึ่งเป็นวัตถุต่าง ๆ ภายในเคอร์เนลของระบบปฏิบัติการ
การสำรองข้อมูลไฟล์
เมื่อไฟล์คอมพิวเตอร์บรรจุสารสนเทศที่สำคัญอย่างยิ่ง กระบวนการจึงเกิดขึ้นเพื่อป้องกันอุบัติการณ์ที่อาจทำให้ไฟล์เสียหาย การสำรองข้อมูลไฟล์ตามความหมายอย่างง่ายคือการสำเนาไฟล์นั้นไปเก็บไว้ที่ตำแหน่งอื่นแยกต่างหาก ดังนั้นถ้ามีอุบัติการณ์บางอย่างเกิดขึ้นกับคอมพิวเตอร์หรือไฟล์เหล่านั้นถูกลบโดยไม่ตั้งใจ จะสามารถกู้คืนข้อมูลไฟล์นั้นกลับมาได้
การสำรองข้อมูลไฟล์กระทำได้หลายวิธี ระบบคอมพิวเตอร์ส่วนมากได้จัดเตรียมโปรแกรมอรรถประโยชน์เพื่อช่วยในกระบวนการสำรองข้อมูล ซึ่งอาจทำให้ใช้เวลานานหากมีไฟล์จำนวนมากที่ต้องการป้องกัน ไฟล์สามารถคัดลอกข้อมูลลงสื่อชนิดถอดได้อาทิแผ่นซีดีเขียนได้หรือเทปแม่เหล็ก การคัดลอกไฟล์ไปยังฮาร์ดดิสก์อื่นในคอมพิวเตอร์เครื่องเดียวกันช่วยป้องกันความเสียหายจากดิสก์หนึ่ง แต่ไม่เพียงพอที่จะป้องกันความเสียหายเมื่อคอมพิวเตอร์ทั้งเครื่องถูกทำลาย ดังนั้นการคัดลอกไฟล์ต้องกระทำบนสื่อชนิดอื่นที่สามารถถอดออกจากคอมพิวเตอร์ แล้วเก็บรักษาไว้ในที่ที่ปลอดภัยและอยู่ห่างจากคอมพิวเตอร์
วิธีการสำรองข้อมูลแบบ ปู่-พ่อ-ลูก (grandfather-father-son backup) คือการสำรองข้อมูลโดยอัตโนมัติสามสำเนา สำเนา ปู่ คือสำเนาที่เก่าที่สุดของไฟล์และสำเนา ลูก คือสำเนาปัจจุบัน
ระบบไฟล์และโปรแกรมจัดการไฟล์
วิธีการที่คอมพิวเตอร์จัดการ ตั้งชื่อ เก็บบันทึก และจัดดำเนินการไฟล์ต่าง ๆ เรียกโดยรวมว่า คอมพิวเตอร์ส่วนมากมีระบบไฟล์อย่างน้อยหนึ่งระบบ คอมพิวเตอร์บางเครื่องอนุญาตให้ใช้ระบบไฟล์หลายระบบได้ ตัวอย่างเช่น คอมพิวเตอร์วินโดวส์รุ่นใหม่ใช้ระบบไฟล์ปกติคือ (NTFS) แต่ก็ยังรองรับระบบไฟล์แฟต (FAT) ของเอ็มเอสดอสและวินโดวส์รุ่นเก่าด้วย ระบบไฟล์แต่ละระบบมีข้อดีข้อเสียของมันเอง แฟตแบบมาตรฐานอนุญาตให้ตั้งชื่อไฟล์เพียงแปดตัวอักษร (และส่วนขยายอีกสามตัวอักษร) โดยไม่มีช่องว่าง ในขณะที่เอ็นทีเอฟเอสอนุญาตให้ตั้งชื่อได้ยาวกว่าและสามารถมีช่องว่างได้ เช่นเราสามารถตั้งชื่อไฟล์ว่า "Payroll records" ในเอ็นทีเอฟเอส แต่เราจะถูกจำกัดให้ตั้งชื่อว่า payroll.dat ในแฟต เป็นต้น (เว้นแต่จะใช้ ซึ่งเป็นส่วนขยายของแฟตที่ทำให้ตั้งชื่อไฟล์ยาวได้)
เป็นโปรแกรมอรรถประโยชน์ที่ช่วยให้ผู้ใช้จัดดำเนินการกับไฟล์ได้โดยตรง สามารถสร้าง ย้าย เปลี่ยนชื่อ ลบไฟล์และโฟลเดอร์ต่าง ๆ แม้ว่าโปรแกรมจะไม่อนุญาตให้เปิดอ่านเนื้อหาหรือเก็บบันทึกสารสนเทศในไฟล์ก็ตาม ระบบคอมพิวเตอร์ทุกระบบได้จัดเตรียมโปรแกรมจัดการไฟล์อย่างน้อยหนึ่งโปรแกรมสำหรับระบบไฟล์พื้นฐานของมันเอง เช่น เป็นโปรแกรมจัดการไฟล์ที่ใช้กันโดยปกติในวินโดวส์ เป็นต้น
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- Robert S. Casey, et al. Punched Cards: Their Applications to Science and Industry, 1952.
- Martin H. Weik. Ballistic Research Laboratories Report #1115. March 1961. pp. 314-331.
- Fernando J. Corbató et al. "An Experimental Time-Sharing System." May 3, 1962.
- Jerome H. Saltzer CTSS Technical Notes. Project MIT-LCS-TR016
- Magnetic Storage Handbook 2nd Ed., Section 2.1.1, Disk File Technology, Mee and Daniel, (c)1990,
แหล่งข้อมูลอื่น
- Data Formats ไฟล์คอมพิวเตอร์ ที่เว็บไซต์ Curlie
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ifl xngkvs file hrux aefm inthangkhxmphiwetxrhmaythungklumraebiynsarsnethsid hruxthrphyakrsahrbekbbnthuksarsneths sungsamarthichnganidkbopraekrmkhxmphiwetxr aelaodypkticaxyubnthawrbangchnid sungiflnnkhngthnthawrinaengwa yngkhngichnganidsahrbopraekrmxunhlngcakopraekrmpccubnichnganesrcsin iflkhxmphiwetxrthuxidwaepnkhxngthnsmykhukbexksarkradas sungaetedimcathukekbiwintuaefmexksarkhxngsanknganaelahxngsmud cungepnthimakhxngkhani iflxaceriykidhlaychuxechn aefmkhxmul aefmxielkthrxniks aefmkhxmphiwetxr aefmdicithl iflkhxmul iflxielkthrxniks iflkhxmphiwetxr khxmphiwetxrifl lprawtiifl aefm btrecaaru diskifl khuhnungkhxngrabbkhxmphiwetxrixbiexm 350 khawa ifl praktepnkhrngaerkinbribthkhxnghnwyekbbnthukkhxngkhxmphiwetxremux ph s 2495 odyxangthungsarsnethsthiekbbnthukbn karichnganinyukaerk phukhnthuxwaiflkhuxhardaewrthiepnrakthan makkwacahmaythungenuxha twxyangechnkhxmphiwetxr diskidrfthukeriykwa diskifl rabbtang xathi Compatible Time Sharing System CTSS emux ph s 2505 aenwkhideruxngrabbiflednchdkhun odypraktepn ifl hlayiflbnxupkrnekbbnthukekhruxnghnung naipsukarichnganiflinsmyihm chuxiflinrabbaebngknichewlathiekhaknidmisxngswnidaek chuxhlk thiphuichsamarthxanidaela chuxrxng thiaesdngthungchnidkhxngifl hlkkarniyngkhngichxyuinrabbptibtikarhlayruninthukwnnisungrwmthngimokhrsxfth winodwsenuxhaiflrabbptibtikarsmyihmcdkariflodymxngepnaethwladbhnungmitikhxngkhxmulibt sungmkaesdngihehnidcakswnkhyayifl epntwrabukdeknthwakhxmulibtiniflcathukcdkaraelaaeplkhwamhmayxyangir twxyangechn khxmulibtkhxngiflkhxkhwamthrrmda ifl txt inwinodws ekiywkhxngkbxkkhratang inaexskihruxyuniokhdepntn inkhnathikhxmulibtkhxngiflphaph widiox aelaesiyng thukaeplkhwamhmayinthangthitangip iflswnihyidcdsrrkhxmulibtcanwnelknxysahrbemthaedta sungchwyihiflsamarthcdcasarsnethsebuxngtnekiywkbtwexng khnadifl iflxacmikhnadhnung n ewlahnung odypkticaaesdngxxkepncanwnkhxngibt sungaesdngwaiflnnekiywenuxngkbhnwyekbbnthukinprimanethaid khnadiflinrabbptibtikarsmyihmepnelkhcanwnetmsungimepnlb mikhnadidtngaetsunycnthungkhidcakdsungsudkhxngrabb xyangirktam niyamkhxngiflmiidcaepnwakhnadifl n ewlahnungtxngmikhwamhmayechnnncring inkrnithikhxmulphayiniflimsmphnthkbkhxmulinaehlngrwmkhxnghnwyekbbnthukthawr iflsunyibtepnkrniphiesssungxacepnxubtiehtuinkarbnthuk echnphlcakkarykelikkarthanganbndisk hruxthanganepnbangchnidinrabbifl twxyangechn iflthicudlingk bin ls echuxmoyngipinrabbptibtikaraebbyuniksthwip epnipidwamikhnadtamthikahndsungaethbcaimepliynaeplng hakethiybkb sungepniflechnknaetkhnadkhxngmnxacimchdecn karcdkarkhxmulinifl sarsnethsiniflkhxmphiwetxrxacprakxbdwyklumsarsnethsthimikhnadelkkwa sungmkeriykwa hrux sungaetktangknepnexkethsaetmilksnabangprakarrwmkn twxyangechn iflkhxmulbychikhacangxacmisarsnethsekiywkbraychuxlukcangthnghmdinbristhaelaraylaexiydkhxngkarcaykhacang hmaykhwamwaaetlaraebiyniniflmikhxmullukcanghnungkhn aelathukraebiynkmilksnakhwamekiywkhxngkbkarcaykhacangrwmkn singniepriybidkb karcdekbkhxmulkarcaykhacangthnghmdlngintuekbexksarcaephaainsanknganthiimmikhxmphiwetxr iflkhxkhwamxacprakxbdwykhxkhwamhlay brrthd sungsmphnthkbbrrthdthithukphimphlngbnkradas epntn swninthangxun iflxacprakxbdwyximemcthansxngthikahndkhnadid hruxprakxbdwyrhsthithanganid withikarthikhxmulsarsnethsrwmklumekhadwyknepnifllwnkhunxyukbkarxxkaebb singninaipsuokhrngsrangiflmakmaythithukthaihsunghruxtakwamatrthanephuxcudprasngkhthukpraephthethathisamarthcintnakarid tngaetokhrngsrangeriybngaythisudipcnthungsbsxnthisud iflkhxmphiwetxrswnmakthukichodyopraekrmkhxmphiwetxr sungsrang aekikh hruxlbiflidtamkhwamtxngkarphunthankhxngopraekrm opraekrmemxrphusrangopraekrmkhuxphutdsinicwaiflxairbangthicaepntxngich ichxyangir aelatngchuxxyangir inbangkrni opraekrmkhxmphiwetxrkcddaeninkarifltang thithaihphuichkhxmphiwetxrsamarthmxngehnid echninopraekrmpramwlkha phuichsamarthcddaeninkariflexksarthitngchuxodyphuichexng aemenuxhakhxngiflexksarthukcderiynginrupaebbthiopraekrmpramwlkhaekhaic aetphuichksamarthtngchux kahndtaaehnngkhxngifl aelacdhaklumsarsneths echnkhahruxkhxkhwamtang ephuxekbbnthuklnginiflnn opraekrmprayukthlayopraekrmbrrcuiflkhxmulrwmepniflediyweriykwa archive file odyichekhruxnghmaybngchiphayinephuxaeykaeyachnidkhxngsarsnethsthitangkninnn praoychnkhxngiflekbthawrkhuxldcanwniflephuxihoxnyayidngaykhun ldkarphunthikarcdekbkhxmul hruxephiyngephuxcdraebiybiflthilasmy bxykhrngiflekbthawrtxngthukaeykxxkkxnichngankhrawthdip kardaeninkarifl iflinkhxmphiwetxrsamarththuksrang yay aekikh khyaykhnad yubkhnad aelalbthing odyswnmakopraekrmkhxmphiwetxrthithangankarxyubnkhxmphiwetxrepnphucdkrathakardaeninkarehlani aetinkhnaediywknphuichkhxmphiwetxrksamarthcdkrathaifltang tamtxngkarid yktwxyangiflkhxngimokhrsxfth ewird odypkticathuksrangaelaaekikhdwyopraekrmimokhrsxfth ewird tamkhwamtxbsnxngtxkhasngkhxngphuich aetphuichksamarthyaytaaehnng epliynchux hruxlbiflehlaniidodytrngdwyechn inkhxmphiwetxrwinodws inrabbptibtikaraebbyuniks krabwnkartang in user space odypktimiidcdkarkbiflelyaemaetnxy aetrabbptibtikaridcdetriymradbkhxng abstraction iwih sunghmaykhwamwakarottxbekuxbthnghmdekiywkbiflcakphunthiphuichcakrathaphan ifltang inrabbptibtikardngklawimmichuxepnkhxngtwexng dngnnhardlingkcathahnathiechuxmoyngchuxchuxhnungipthiifl hruximmichuxelykidsungcathaihepnlingkchwkhraw thaihkrabwnkarsamarthcdkarkbchuxehlannesmuxnifl twxyangechn opraekrmhnunginphunthiphuichimsamarthlbiflodytrngid aetmnsamarthlblingkipyngiflid odyichkhasngechllxathi rm hrux mv inkrnilingkimmichux ephiyngxxkcakopraekrm aelathaekhxrenlphbwaimmilingkid echuxmoyngmathiiflaelw iflnnkxacthuklbodyekhxrenl inkhwamepncringaelwekhxrenlethannthisamarthcdkarkbiflidodytrng aetmnkepidrbkarottxbthnghmdcakphunthiphuichdwyiflesmuxnthiimepidephytwtntxopraekrmxrrthsastraemwaopraekrmtang cddaeninkarifldwywithithihlakhlaykhunxyukbrabbptibtikaraelarabbiflthiekiywkhxng kardaeninkarekiywkbiflodythwipmidngni karsrangifldwychuxthikahndih kartngkhaaextthribiwtthikhwbkhumkardaeninkarkhxngifl karepidiflephuxichenuxhaphayin karxanhruxkarprbprungenuxhann karsngenuxhaprbprungihhnwyekbbnthukthawr karpidiflsungthaihhmdsiththiekhathungcnkwacaepidiflnnxikkhrngkarrabuaelakarcdkariflinrabbkhxmphiwetxrsmyihm ifltang ekhathungidodyich filename chuxiflekiywkhxngodytrngkbiflinrabbptibtikarbangrabb aetinxikrabbhnung iflimmichuxaetthukechuxmoyngdwylingkthimichuxdngthiidklawmaaelw inkrnixyanghlng phuichsamarthrabuchuxkhxnglingkepntwaethnkhxngiflid aetkxacthaihekidkhwamekhaicphid odyechphaaemuxmilingkmakkwahnunglingkechuxmoyngipyngiflediywkniflaelaofledxrthicderiyngepnladbchn ifl hruxlingkkhxngifl samarthwangiwiniderkthxrithitaaehnngtang hruxklawxiknyhnungkhux hruxofledxr samarthbrrcuraykariflhruxlingkkhxngifl singthisakhyxyangyingcakkarniyamnikhuxkhawa ifl txnghmayrwmthungiderkthxridwy cungcathaihekidkarmixyukhxngladbchniderkthxri nnkhuxiderkthxrisamarthbrrcuiderkthxriyxyxikid chuxthixangthungifliniderkthxriodythwiptxngmiephiynghnungediyw klawkhuxtxngimmichuxxunthiehmuxnknpraktxyuiniderkthxrihnung xyangirktam inrabbptibtikarbangrabb chuxxacmikhxkahndkhunlksnakhxngchnidrwmxyu sungthaihiderkthxrisamarthbrrcuchuxthiehmuxnknsahrbchnidkhxngwtthutangchnidkn echniderkthxrikbifl insphawaaewdlxmthiiflmichux chuxkhxngiflaelaesnthangipyngiderkthxrikhxngifltxngrabuidephiynghnungediywthamklangiflxun thnghmdinrabbkhxmphiwetxr hmaykhwamwaimsamarthmiiflsxngiflsungmichuxaelaesnthangediywkn swninsphawaaewdlxmthiiflimmichux karxangthungthimichuxipyngiflcamixyuinenmsepshnung odyswnmakchuxid inenmsepscaxangthungiflcanwnsunyhruxhnungiflethann xyangirktamiflid kxacthukaethndwychuxinenmsepscanwnsunychux hnungchux hruxmakkwannkid sayxkkhraid khxngchuxsahrbiflhruxlingkxaccddiaelwhruximkidkhunxyukbbribthkhxngkarprayuktich chuxthicddiaelwhruximktamkhunxyukbrabbkhxmphiwetxrthikalngichxyu khxmphiwetxrsmykxnxnuyatihtngchuxifldwytwxksraelatwelkhephiyngimkitw aetkhxmphiwetxrsmyihmsamarthtngchuxiflyawid bangrabbrxngrbxkkhraidthung 255 tw sungmitwxksraelatwelkhyuniokhdphsmknaebbidkid thaihchwyekhaiccudprasngkhkhxngiflngaykhunephiyngaekhmxngphan rabbkhxmphiwetxrbangrabbxnuyatihmiinchuxiflhruximkid case sensitivity khxngchuxiflthukkahndody rabbiflyunikstxbsnxngtxxksrtwelktwihyaelaxnuyatihopraekrmprayuktradbphuichsamarthsrangiflthichuxtangknephiyngxksrtwelktwihykhxngxkkhra imokhrsxfth winodwsrxngrbrabbiflhlayaebb aetlaaebbkminoybayekiywkbkhwamtxbsnxngtxxksrtwelktwihyaetktangkn rabbifl FAT samarthmiiflhlayiflthichuxtangknephiyngxksrtwelktwihyidinkrnithiich disk editor ephuxaekikhchuxiflinraykariderkthxri xyangirktamopraekrmprayukttang khxngphuichodypkticaimxnuyatihsrangiflinchuxediywknaettangknephiyngxksrtwelktwihy khxmphiwetxrswnmakcdkariflepnladbchnodyichofledxr iderkthxri hruxaekhttalxk monthsnehlaniehmuxnknodyimkhanungthungkhathiicheriyk aetlaofledxrsamarthbrrcuiflcanwnethaidkid aelasamarthbrrcuofledxrxundwysungeriykwaofledxryxy ofledxryxykyngsamarthbrrcuiflaelaofledxrcanwnethaidkideruxyip thaihekidokhrngsrangxyangtnim odymiofledxrhlkhnungofledxr hruxofledxrrak chuxthieriykaetktangkniptamrabbptibtikar thiepnradbbnsudkhxngofledxrxunaelaiflthnghmd ofledxrsamarthtngchuxidechnediywkbifl ykewnofledxrraksungmkcaimmichux praoychnkhxngofledxrkhuxthaihkarcdkariflinwithithisxdkhlxngkbhlkehtuphlidngay emuxkhxmphiwetxrichofledxrid nxkehnuxcakaetlaiflaelaofledxrmichuxkhxngmnexngaelw kyngmiesnthang path khxngiflaelaofledxrxikdwy sungesnthangepntwrabuofledxrnnhruxofledxrtang thiiflhruxofledxrnnwangxyu esnthangcamixkkhraphiessbangtwechnthb hrux ephuxichaebngchuxkhxngiflaelaofledxr caktwxyanginphaphprakxb esnthang Payroll Salaries Managers epntwrabuephiynghnungediywkhxngiflchux Managers inofledxrchux Salaries aelaxyuphayitofledxrchux Payroll xikchnhnung chuxkhxngiflaelaofledxrdngklawthukaebngdwythb ofledxrbnsudhruxofledxrrakimmichuxinkrninidngnnesnthangcungkhuntndwythb thaofledxrrakmichux mncapraktchuxnahnathb rabbkhxmphiwetxrcanwnmak aetimichthnghmd ich sungepnthiruckxikxyanghnungwachnidifl ephuxchwyrabuwaiflmikhxmulxair swnkhyayinkhxmphiwetxrwinodwsprakxbdwycudthithaychuxifltamdwytwxksrimkitwsahrbrabuchnidkhxngifl xathi txt khuxiflkhxkhwamthrrmda doc khuxiflexksarkhxkhwamsungepnpktikhxngopraekrmimokhrsxfth ewird jpg khuxiflrupphaphsungichkarbibxdaebb JPEG epntn thungaemwarabbkhxmphiwetxrichswnkhyayrabuchnidifl aetradbkarrbrukhxngrabbkhxmphiwetxraetlarabbxacimehmuxnkn klawkhuxswnkhyayhnungxaccaepninrabbhnung inkhnathiswnkhyaynnxacthukmxngkhamxyangsinechinginxikrabbthaiflnnpraktkhunkarpxngkniflrabbkhxmphiwetxrsmyihmswnmakidcdetriymwithikarsahrbpxngkniflcakkhwamesiyhaythngodytngicaelaimtngic khxmphiwetxrthisamarthmiphuichidhlaykhnnamaichkhwbkhumwaikhrcasamarthaekikh lb hruxsrangiflaelaofledxrididhruximid twxyangechn phuichhnung xacidrbsiththikarxaniflhruxofledxrhnungephiyngxyangediyw aetimihaekikhhruxlbiflhruxofledxrnn hruxphuichxacidrbxnuyatihxanaelaaekikhiflhruxofledxrxun aetimihsngkrathakariflhruxofledxrnnkid epntn siththikarekhathungiflxacichsahrbkarxnuyatihphuichcaephaabangraysamarthekhathungenuxhakhxngiflhruxofledxrthitxngkar siththikarekhathungiflnichwypxngknkarkawkayodyimidrbxnuyathruxkarthalaysarsnethsinifl aelachwyrksasarsnethsswnbukhkhlihepnkhwamlbcakphuichxunthiimidrbxnuyat klikkarpxngknxikxyanghnungthiichinkhxmphiwetxrhlayrabbkhux twbngchixanxyangediyw read only flag emuxiflidiflhnungtngtwbngchini sungsamarthkrathaidodyopraekrmkhxmphiwetxrhruxodyphuichthiepnmnusy iflnncayngkhngxanidaetaekikhimid twbngchinimipraoychninkarpxngknsarsnethswikvtmiihthukaekikhhruxthuklb echniflphiessthithukichodyswnprakxbphayinkhxngrabbkhxmphiwetxrethann bangrabbmi twbngchisxn hidden flag ephuxsxniflbangiflimihehn rabbkhxmphiwetxrichtwbngchiniephuxsxniflrabbthisakhythiphuichthwipimkhwrepliynaeplngkarekbbnthukiflkhaxthibaythiklawmathnghmdkhangtnepnmonthsnkhxngiflthinaesnxtxphuichhruxrabbptibtikarradbsung xyangirktamiflid thimicudprasngkhxnmipraoychncatxngmikarsaaedngechingkayphaphbangprakarnxkehnuxcakkarthdlxngthangkhwamkhid nnkhuxifl sungepnaenwkhidaebbnamthrrm inrabbkhxmphiwetxrcatxngmikhwamkhlaykhlungthangkayphaphodyaethcringthamntxngmixyuthngsin inbribththangkayphaph iflkhxmphiwetxrswnmakthukbnthukxyubnxupkrnekbbnthukkhxmulbangchnidechn harddisk sungmkcaepnaehlngthixyuthirabbptibtikarthanganaelaepnaehlngekbbnthukiflkhxngmn harddiskepnrupaebbthiichknxyangaephrhlaytngaettnkhristthswrrs 1960 hakiflbrrcusarsnethsephiyngchwkhrawkxacekbbnthukiwinaerm iflkhxmphiwetxrksamarthekbbnthukidbnsuxchnidxunidinbangkrni xathi aephnsidi aephndicithlxenkprasngkh diwidi yuexsbiaeflchidrf l iflhlayiflinrabbptibtikaraebbyuniksimmikhwamekiywkhxngodytrngkbxupkrnekbbnthukthangkayphaph epntwxyanghnungthisakhythisud iflthnghmdthixyuphayit dev proc aela sys kechnkn singehlanisamarthekhathungidinthanaiflinphunthiphuich aetkhwamcringaelwmnepniflesmuxnsungepnwtthutang phayinekhxrenlkhxngrabbptibtikarkarsarxngkhxmuliflemuxiflkhxmphiwetxrbrrcusarsnethsthisakhyxyangying krabwnkarcungekidkhunephuxpxngknxubtikarnthixacthaihiflesiyhay karsarxngkhxmulifltamkhwamhmayxyangngaykhuxkarsaenaiflnnipekbiwthitaaehnngxunaeyktanghak dngnnthamixubtikarnbangxyangekidkhunkbkhxmphiwetxrhruxiflehlannthuklbodyimtngic casamarthkukhunkhxmuliflnnklbmaid karsarxngkhxmuliflkrathaidhlaywithi rabbkhxmphiwetxrswnmakidcdetriymopraekrmxrrthpraoychnephuxchwyinkrabwnkarsarxngkhxmul sungxacthaihichewlananhakmiiflcanwnmakthitxngkarpxngkn iflsamarthkhdlxkkhxmullngsuxchnidthxdidxathiaephnsidiekhiynidhruxethpaemehlk karkhdlxkiflipyngharddiskxuninkhxmphiwetxrekhruxngediywknchwypxngknkhwamesiyhaycakdiskhnung aetimephiyngphxthicapxngknkhwamesiyhayemuxkhxmphiwetxrthngekhruxngthukthalay dngnnkarkhdlxkifltxngkrathabnsuxchnidxunthisamarththxdxxkcakkhxmphiwetxr aelwekbrksaiwinthithiplxdphyaelaxyuhangcakkhxmphiwetxr withikarsarxngkhxmulaebb pu phx luk grandfather father son backup khuxkarsarxngkhxmulodyxtonmtisamsaena saena pu khuxsaenathiekathisudkhxngiflaelasaena luk khuxsaenapccubnrabbiflaelaopraekrmcdkariflwithikarthikhxmphiwetxrcdkar tngchux ekbbnthuk aelacddaeninkarifltang eriykodyrwmwa khxmphiwetxrswnmakmirabbiflxyangnxyhnungrabb khxmphiwetxrbangekhruxngxnuyatihichrabbiflhlayrabbid twxyangechn khxmphiwetxrwinodwsrunihmichrabbiflpktikhux NTFS aetkyngrxngrbrabbiflaeft FAT khxngexmexsdxsaelawinodwsrunekadwy rabbiflaetlarabbmikhxdikhxesiykhxngmnexng aeftaebbmatrthanxnuyatihtngchuxiflephiyngaepdtwxksr aelaswnkhyayxiksamtwxksr odyimmichxngwang inkhnathiexnthiexfexsxnuyatihtngchuxidyawkwaaelasamarthmichxngwangid echnerasamarthtngchuxiflwa Payroll records inexnthiexfexs aeteracathukcakdihtngchuxwa payroll dat inaeft epntn ewnaetcaich sungepnswnkhyaykhxngaeftthithaihtngchuxiflyawid epnopraekrmxrrthpraoychnthichwyihphuichcddaeninkarkbiflidodytrng samarthsrang yay epliynchux lbiflaelaofledxrtang aemwaopraekrmcaimxnuyatihepidxanenuxhahruxekbbnthuksarsnethsiniflktam rabbkhxmphiwetxrthukrabbidcdetriymopraekrmcdkariflxyangnxyhnungopraekrmsahrbrabbiflphunthankhxngmnexng echn epnopraekrmcdkariflthiichknodypktiinwinodws epntnduephimxangxingRobert S Casey et al Punched Cards Their Applications to Science and Industry 1952 Martin H Weik Ballistic Research Laboratories Report 1115 March 1961 pp 314 331 Fernando J Corbato et al An Experimental Time Sharing System May 3 1962 Jerome H Saltzer CTSS Technical Notes Project MIT LCS TR016 Magnetic Storage Handbook 2nd Ed Section 2 1 1 Disk File Technology Mee and Daniel c 1990 aehlngkhxmulxunData Formats iflkhxmphiwetxr thiewbist Curlie