ความเอียงของวงโคจร (อังกฤษ: inclination) เป็นหนึ่งในองค์ประกอบของวงโคจร หมายถึงมุมระหว่างระนาบของวงโคจรกับระนาบอ้างอิง
ความเอียงของวงโคจร เป็นหนึ่งใน 6 องค์ประกอบของวงโคจร ใช้อธิบายถึงรูปร่างและทิศทางของวงโคจรของวัตถุท้องฟ้า นับเป็นระยะเชิงมุมของระนาบวงโคจรเทียบกับระนาบอ้างอิง (โดยมากมักใช้เส้นศูนย์สูตรหรือเส้นสุริยวิถีของดาวฤกษ์แม่ในระบบ และมีหน่วยเป็นองศา)
สำหรับระบบสุริยะ ความเอียงของวงโคจร (คือ i ในภาพด้านข้าง) ของดาวเคราะห์ดวงหนึ่งๆ จะเท่ากับมุมระหว่างระนาบของวงโคจรของดาวเคราะห์นั้นกับเส้นสุริยวิถี ซึ่งเป็นระนาบที่เป็นเส้นทางโคจรของโลก นอกจากนี้ยังสามารถวัดได้โดยเปรียบเทียบกับระนาบอื่นๆ เช่น เทียบกับเส้นศูนย์สูตรของดวงอาทิตย์ หรือเทียบกับระนาบโคจรของดาวพฤหัสบดี แต่การใช้เส้นสุริยวิถีในการอ้างอิงจะเหมาะสมกับผู้สังเกตการณ์บนโลกมากกว่า วงโคจรของดาวเคราะห์ส่วนใหญ่ในระบบสุริยะของเรามีค่าความเอียงของวงโคจรค่อนข้างน้อย ไม่ว่าจะเปรียบเทียบกันเองหรือเทียบกับเส้นศูนย์สูตรของดวงอาทิตย์ก็ตาม มีข้อยกเว้นก็เพียงในบรรดาดาวเคราะห์แคระ เช่น พลูโต และ เอริส ซึ่งมีค่าความเอียงของวงโคจรเทียบกับสุริยวิถีสูงถึง 17 องศาและ 44 องศาตามลำดับ ดาวเคราะห์น้อยขนาดใหญ่เช่น พัลลัส ก็มีความเอียงของวงโคจรสูงถึง 34 องศา สำหรับดาวเคราะห์นอกระบบ ยังไม่ค่อยมีการวัดความเอียงของวงโคจร ทราบได้แต่เพียงของมันเท่านั้น ซึ่งหมายถึง ดาวเคราะห์นอกระบบบางดวงที่แท้อาจเป็นดาวแคระน้ำตาล หรือเป็นดาวแคระแดงที่จางมากๆ ก็ได้ มีแต่เพียงดาวเคราะห์ที่ตรวจพบการเคลื่อนผ่าน และที่ตรวจจับด้วยวิธีมาตรดาราศาสตร์ จึงสามารถทราบถึงความเอียงของวงโคจร และบางทีอาจทราบถึงมวลที่แท้จริงได้ ในช่วงคริสต์ทศวรรษ 2010 ข้างหน้านี้ น่าจะมีการตรวจวัดความเอียงของวงโคจรและมวลที่แท้จริงของดาวเคราะห์นอกระบบจำนวนมากได้เพิ่มขึ้น โดยใช้การสังเกตการณ์ในอวกาศผ่านปฏิบัติการต่างๆ เช่น ดาวเทียมไกอา, , และ กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์ เว็บบ์
ความเอียงของวงโคจร | |||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
ชื่อ | ความเอียงวงโคจร เทียบกับสุริยวิถี (°) | ความเอียงวงโคจรเทียบกับ เส้นศูนย์สูตรของดวงอาทิตย์ (°) | ความเอียงวงโคจร เทียบกับ (°) | ||||||||
ดาวเคราะห์คล้ายโลก | ดาวพุธ | 7.01 | 3.38 | 6.34 | |||||||
ดาวศุกร์ | 3.39 | 3.86 | 2.19 | ||||||||
โลก | N/A | 7.155 | 1.57 | ||||||||
ดาวอังคาร | 1.85 | 5.65 | 1.67 | ||||||||
ดาวแก๊สยักษ์ | ดาวพฤหัสบดี | 1.31 | 6.09 | 0.32 | |||||||
ดาวเสาร์ | 2.49 | 5.51 | 0.93 | ||||||||
ดาวยูเรนัส | 0.77 | 6.48 | 1.02 | ||||||||
ดาวเนปจูน | 1.77 | 6.43 | 0.72 |
อ้างอิง
- Chobotov, Vladimir A. (2002). Orbital Mechanics (3rd ed.). AIAA. pp. 28–30, . ISBN .
{{}}
: CS1 maint: extra punctuation () - McBride, Neil; Bland, Philip A.; Gilmour, Iain (2004). An Introduction to the Solar System. Cambridge University Press. p. 248. ISBN .
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list () - "The MeanPlane (Invariable plane) of the Solar System passing through the barycenter". 2009-04-03. จากแหล่งเดิมเมื่อ 2009-04-20. สืบค้นเมื่อ 2009-04-10. (produced with Solex 10 2008-12-20 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน written by Aldo Vitagliano)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
khwamexiyngkhxngwngokhcr xngkvs inclination epnhnunginxngkhprakxbkhxngwngokhcr hmaythungmumrahwangranabkhxngwngokhcrkbranabxangxingphaphaesdngkhwamexiyngkhxngwngokhcr khwamexiyngkhxngwngokhcr epnhnungin 6 xngkhprakxbkhxngwngokhcr ichxthibaythungruprangaelathisthangkhxngwngokhcrkhxngwtthuthxngfa nbepnrayaechingmumkhxngranabwngokhcrethiybkbranabxangxing odymakmkichesnsunysutrhruxesnsuriywithikhxngdawvksaeminrabb aelamihnwyepnxngsa sahrbrabbsuriya khwamexiyngkhxngwngokhcr khux i inphaphdankhang khxngdawekhraahdwnghnung caethakbmumrahwangranabkhxngwngokhcrkhxngdawekhraahnnkbesnsuriywithi sungepnranabthiepnesnthangokhcrkhxngolk nxkcakniyngsamarthwdidodyepriybethiybkbranabxun echn ethiybkbesnsunysutrkhxngdwngxathity hruxethiybkbranabokhcrkhxngdawphvhsbdi aetkarichesnsuriywithiinkarxangxingcaehmaasmkbphusngektkarnbnolkmakkwa wngokhcrkhxngdawekhraahswnihyinrabbsuriyakhxngeramikhakhwamexiyngkhxngwngokhcrkhxnkhangnxy imwacaepriybethiybknexnghruxethiybkbesnsunysutrkhxngdwngxathityktam mikhxykewnkephiynginbrrdadawekhraahaekhra echn phluot aela exris sungmikhakhwamexiyngkhxngwngokhcrethiybkbsuriywithisungthung 17 xngsaaela 44 xngsatamladb dawekhraahnxykhnadihyechn phlls kmikhwamexiyngkhxngwngokhcrsungthung 34 xngsa sahrbdawekhraahnxkrabb yngimkhxymikarwdkhwamexiyngkhxngwngokhcr thrabidaetephiyngkhxngmnethann sunghmaythung dawekhraahnxkrabbbangdwngthiaethxacepndawaekhranatal hruxepndawaekhraaedngthicangmak kid miaetephiyngdawekhraahthitrwcphbkarekhluxnphan aelathitrwccbdwywithimatrdarasastr cungsamarththrabthungkhwamexiyngkhxngwngokhcr aelabangthixacthrabthungmwlthiaethcringid inchwngkhristthswrrs 2010 khanghnani nacamikartrwcwdkhwamexiyngkhxngwngokhcraelamwlthiaethcringkhxngdawekhraahnxkrabbcanwnmakidephimkhun odyichkarsngektkarninxwkasphanptibtikartang echn dawethiymikxa aela klxngothrthrrsnxwkasecms ewbb khwamexiyngkhxngwngokhcrchux khwamexiyngwngokhcr ethiybkbsuriywithi khwamexiyngwngokhcrethiybkb esnsunysutrkhxngdwngxathity khwamexiyngwngokhcr ethiybkb dawekhraahkhlayolk dawphuth 7 01 3 38 6 34dawsukr 3 39 3 86 2 19olk N A 7 155 1 57dawxngkhar 1 85 5 65 1 67dawaeksyks dawphvhsbdi 1 31 6 09 0 32dawesar 2 49 5 51 0 93dawyuerns 0 77 6 48 1 02dawenpcun 1 77 6 43 0 72xangxingChobotov Vladimir A 2002 Orbital Mechanics 3rd ed AIAA pp 28 30 ISBN 1563475375 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint extra punctuation McBride Neil Bland Philip A Gilmour Iain 2004 An Introduction to the Solar System Cambridge University Press p 248 ISBN 0521546206 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint multiple names authors list lingk The MeanPlane Invariable plane of the Solar System passing through the barycenter 2009 04 03 cakaehlngedimemux 2009 04 20 subkhnemux 2009 04 10 produced with Solex 10 2008 12 20 thi ewyaebkaemchchin written by Aldo Vitagliano bthkhwamdarasastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk