เนื้อหาในบทความนี้ไม่ถูกต้องแม่นยำ โปรดช่วยกันตรวจสอบ และปรับปรุง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เพิ่มด้วย |
ความเห็นพ้อง, ฉันทานุมัติ หรือ ฉันทมติ (อังกฤษ: consensus) มาจากภาษาละตินว่า cōnsēnsus หรือ cōnsentiō หมายถึง ความรู้สึกร่วมกัน (feel together) โดยพจนานุกรมฉบับ Merriam-Webster’s ให้ความหมายของ consensus ไว้ว่าเป็นข้อตกลงร่วมกันที่มีลักษณะเป็นการยอมรับแบบเอกฉันท์ (unanimity) หัวใจของความเห็นพ้องมีสาระสำคัญอยู่ที่การประนีประนอมระหว่างกัน และจัดกระบวนการให้คนในสังคมหรือชุมชนมีสิทธิในการแสดงความคิดเห็น เป้าหมายของความเห็นพ้องมีเพื่อเป็นเครื่องรับประกันว่าสมาชิกทุกคนในชุมชนจะสามารถแสดงความคิดเห็นและหาข้อตกลงร่วมกันได้
ความเห็นพ้องมักเชื่อมโยงกับการตัดสินใจ (consensus decision making) ซึ่งหมายถึงกระบวนการตัดสินใจโดยกลุ่มคนที่เน้นความยินยอมและเห็นชอบร่วมกันจากผู้มีส่วนร่วมทุกคน ดังนั้น ความเห็นพ้องในกระบวนการตัดสินใจจึงหมายถึงทางออกแห่งปัญหาซึ่งเป็นที่ยอมรับร่วมกัน ได้รับการสนับสนุนจากทุกฝ่าย ถึงแม้อาจไม่ใช่ทางเลือกที่ดีที่สุดในใจของคนทุกคน
อรรถาธิบาย
ความเห็นพ้องเป็นรูปแบบการตัดสินใจที่ถูกออกแบบมาให้มีความแตกต่างจากการตัดสินใจโดยใช้เสียงข้างมาก (majority decision) ฉะนั้น ความเห็นพ้องจะไม่เน้นที่การลงคะแนนเสียง เพราะการลงคะแนนเสียงอาจทำให้เสียงข้างน้อย (minorities) ถูกละเลยไปได้ ดังนั้น ความเห็นพ้องจึงเน้นที่กระบวนการในการอภิปรายถกเถียง รับฟังความคิดเห็นเพื่อหาข้อตกลงร่วมกันระหว่างทุกฝ่ายมากกว่า หรืออาจจะกล่าวได้ว่าความเห็นพ้องเป็นรูปแบบการตัดสินใจที่จะป้องกันปรากฏการณ์ที่เรียกว่าเผด็จการเสียงข้างมาก (majority tyranny) การตัดสินใจแบบความเห็นพ้อง เป็นกระบวนการตัดสินใจที่กลุ่มคนจำนวนมากอาจเห็นไม่ตรงกัน แต่ต้องการให้เกิดการมีส่วนร่วมและความเห็นพ้องต้องกันมากที่สุด กระบวนการถกอภิปราย ประกอบด้วยขั้นตอนดังนี้
- รวมคนทุกกลุ่ม (inclusive) : เปิดให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้าร่วมในกระบวนการถกอภิปรายให้มากที่สุด
- เปิดช่องทางการมีส่วนร่วม (participatory) : ผู้เข้าร่วมต้องมีโอกาสแสดงความคิดเห็น
- ร่วมด้วยช่วยกัน (collaborative) : ทุกกลุ่ม ทุกคน ร่วมมือกันเสนอทางเลือก คนที่มีความเห็นคล้ายกันพยายามปรับข้อเสนอให้เป็นตัวแทนความคิดของกลุ่มตน เพื่อให้กลุ่มอื่นพิจารณา
- หาข้อตกลง (agreement seeking) : เป้าหมายคือ พยายามหาข้อตกลงร่วมกันให้มากที่สุด เป้าหมายสูงสุดคือความเห็นพ้องต้องกันอย่างสมบูรณ์
- เกื้อกูลกัน (cooperative) : ผู้เข้าร่วมควรมีหัวใจอยู่ที่ผลประโยชน์ร่วมกันของทุกฝ่าย ควรปล่อยให้ทุกกลุ่มได้แสดงความต้องการที่แท้จริงของตนเอง เพื่อนำมาปรับเข้ากับทางเลือกที่ทุกฝ่ายจะยอมรับร่วมกันได้ ขณะเดียวกัน ก็ไม่ควรให้ความต้องการเฉพาะของกลุ่มตนบดบังหรือทำให้ผลประโยชน์ร่วมกันไม่สามารถบรรลุได้
ขั้นตอนไปสู่การตัดสินใจแบบความเห็นพ้อง
- ถกอภิปราย
- แจกแจงข้อเสนอ/ทางเลือก
- ระบุตัวตนผู้มีส่วนร่วม/ส่วนได้ส่วนเสีย
- ร่วมกันปรับปรุง แก้ไขข้อเสนอ/ทางเลือก
- ประเมินเสียงสนับสนุน
- สรุปมติ หรือถ้าไม่สามารถหามติร่วมกันได้ ให้กลับไปทำข้อที่ 1-5 ใหม่
การสรุปผลการตัดสินใจหรือกติกาการตัดสินใจ ขึ้นอยู่กับข้อกำหนดที่ตกลงกันไว้ล่วงหน้า น้ำหนักและขอบเขตของการเห็นพ้องต้องกันมีหลายขนาดเช่น ทุกคนเห็นพ้องร่วมกัน ทุกคนเห็นร่วมกัน ยกเว้นหนึ่งเสียงหรือสองเสียง เสียงข้างมากเด็ดขาดอย่างมาก (super majority) ซึ่งมีตั้งแต่ 90% 75% เสียงสองในสาม หรืออื่น ๆ ที่มากกว่าเสียงข้างมากเพียงครึ่งหนึ่ง บางกรณีอาจใช้การตัดสินใจของคณะกรรมการที่ตั้งขึ้นก็ได้ ในกรณีที่ต้องการเสียงเห็นพ้องต้องกันอย่างสมบูรณ์ (unanimity) ผู้ที่ไม่เห็นด้วยเพียงหนึ่งเสียงก็อาจมีอำนาจยับยั้ง (block) การตัดสินใจนั้นได้ ขึ้นอยู่กับว่ากติกาที่กำหนดไว้เป็นเช่นไร (Hartnett, 2011)
ตัวอย่างการนำไปใช้ในประเทศไทย
สำหรับประเทศไทย ศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา นาคสกุล ได้ให้นิยาม “ฉันทามติ” ว่าเป็นคำที่ไม่ปรากฏในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 คำที่ใกล้เคียงกัน คือ คำว่า “ฉันทาคติ” แปลว่า ความลำเอียงเพราะรักใคร่ชอบใจ กับคำว่า “ฉันทานุมัติ” แปลว่า ความเห็นชอบตามโดยความพอใจ ให้กระทำการด้วยความเต็มใจ มักใช้ว่ามีฉันทานุมัติหรือลงฉันทานุมัติ หมายความว่าลงความเห็นด้วยความยินยอมพร้อมใจ เช่น ญาติ ๆ มีฉันทานุมัติให้เขาเป็นผู้จัดการมรดกของคุณปู่ “ฉันทานุมัติ” กับ “ฉันทามติ” จึงใช้ในความหมายเดียวกัน คำที่เขียนถูกต้องควรจะเป็น “ฉันทมติ” ซึ่งเป็นคำสมาสของ ฉันท+มติ หากเขียนว่า “ฉันทามติ” จะหมายถึง ฉันท+อมติ ซึ่งมีความหมายตรงกันข้าม
ในเชิงการนำไปใช้พบตัวอย่างเช่น ในเอกสารแผนพัฒนาการเมืองของสภาพัฒนาการเมืองเห็นว่า การสร้างกระบวนการแสวงหาฉันทามติในการหาข้อสรุปหรือมติที่ “ทุกคน” ที่เกี่ยวข้องยอมรับด้วยความเต็มใจโดยไม่มองข้ามความคิดเห็นหรือข้อคัดค้านของคนส่วนน้อย หลายครั้งจึงพบว่า “ญัตติสาธารณะ” และการริเริ่มหรือการเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ ๆ ทางการเมืองอาจถูกอ้างว่าได้รับฉันทานุมัติจากประชาชนนอกสภา เช่น การขับไล่เผด็จการทหาร หรือเผด็จการระบอบรัฐสภา การร่างรัฐธรรมนูญ รวมทั้งการปฏิรูปการเมือง เป็นต้น แต่ในความเป็นจริง สังคมไทยยังไม่เคยนำกระบวนการตัดสินใจแบบเห็นพ้องต้องกันอย่างฉันทามติมาใช้อย่างเป็นทางการเลย
ด้วยเหตุนี้จึงเห็นได้ว่าการใช้คำว่าความเห็นพ้องในสังคมไทยยังมีปัญหาในการทำความเข้าใจใน 2 ระดับดังนี้
- ปัญหาระดับการนิยาม เป็นปัญหาในการให้ความหมายที่เน้นเรื่องของเสียงข้างน้อย ไม่ใช่เรื่องของ “กระบวนการ” เพราะความเห็นพ้องในความหมายสากลไม่ได้สนใจเสียงข้างน้อยแต่เพียงอย่างเดียว แต่จะสนใจทั้งกระบวนการไม่ว่าจะมีเสียงขนาดไหน ก็มีสิทธิที่จะแสดงความคิดเห็นและอภิปรายถกเถียงเพื่อหาข้อตกลงร่วมกันได้
- ปัญหาระดับการปฏิบัติ ความเห็นพ้องมักถูกใช้เป็นข้ออ้างในการไม่ปฏิบัติตามเสียงข้างมาก และไม่สนใจกติกาของสังคม ซึ่งปัญหาดังกล่าวถือว่าเป็นปัญหาระดับสากลเช่นเดียวกัน เพราะคำว่า consensus ที่ต้องการให้ทุกเสียงมีความหมายอาจจะถูกนำไปบิดเบือนให้กลายเป็นเสียงข้างน้อยเท่านั้นที่มีความหมาย หรือกล่าวได้ว่าเกิดเผด็จการเสียงข้างน้อย (minority tyranny)
อ้างอิง
- [1]
- Read, James H. (2011). “Consensus”. In George Thomas Kurian et al. The Encyclopedia of Political Science. Washington, D.C.: CQ Press.
- Lijphart, Arend (1984). Democracies: Patterns of Majoritarian and Consensus Government in Twenty-one Countries. New Haven: Yale University Press.
- Hartnett, Tim (2011). The Basics of Consensus Decision Making. New York: New Society Publisher. Accessed May 7, 2012 from [2].
- “ฉันทามติ” (2555). ราชบัณฑิตสถาน. เข้าถึงวันที่ 20 สิงหาคม 2555 ใน [3].
- “ฉันทามติ?” หมายความว่าอย่างไร
- “แผนพัฒนาการเมือง” (2555). สภาพัฒนาการเมือง. เข้าถึงวันที่ 20 สิงหาคม 2555 ใน [4][].
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
enuxhainbthkhwamniimthuktxngaemnya oprdchwykntrwcsxb aelaprbprung odyechphaaxyangying ephimaehlngxangxingthinaechuxthuxiddwy eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir khwamehnphxng chnthanumti hrux chnthmti xngkvs consensus macakphasalatinwa cōnsensus hrux cōnsentiō hmaythung khwamrusukrwmkn feel together odyphcnanukrmchbb Merriam Webster s ihkhwamhmaykhxng consensus iwwaepnkhxtklngrwmknthimilksnaepnkaryxmrbaebbexkchnth unanimity hwickhxngkhwamehnphxngmisarasakhyxyuthikarpranipranxmrahwangkn aelacdkrabwnkarihkhninsngkhmhruxchumchnmisiththiinkaraesdngkhwamkhidehn epahmaykhxngkhwamehnphxngmiephuxepnekhruxngrbpraknwasmachikthukkhninchumchncasamarthaesdngkhwamkhidehnaelahakhxtklngrwmknid khwamehnphxngmkechuxmoyngkbkartdsinic consensus decision making sunghmaythungkrabwnkartdsinicodyklumkhnthiennkhwamyinyxmaelaehnchxbrwmkncakphumiswnrwmthukkhn dngnn khwamehnphxnginkrabwnkartdsiniccunghmaythungthangxxkaehngpyhasungepnthiyxmrbrwmkn idrbkarsnbsnuncakthukfay thungaemxacimichthangeluxkthidithisudinickhxngkhnthukkhnxrrthathibaykhwamehnphxngepnrupaebbkartdsinicthithukxxkaebbmaihmikhwamaetktangcakkartdsinicodyichesiyngkhangmak majority decision chann khwamehnphxngcaimennthikarlngkhaaennesiyng ephraakarlngkhaaennesiyngxacthaihesiyngkhangnxy minorities thuklaelyipid dngnn khwamehnphxngcungennthikrabwnkarinkarxphipraythkethiyng rbfngkhwamkhidehnephuxhakhxtklngrwmknrahwangthukfaymakkwa hruxxaccaklawidwakhwamehnphxngepnrupaebbkartdsinicthicapxngknpraktkarnthieriykwaephdckaresiyngkhangmak majority tyranny kartdsinicaebbkhwamehnphxng epnkrabwnkartdsinicthiklumkhncanwnmakxacehnimtrngkn aettxngkarihekidkarmiswnrwmaelakhwamehnphxngtxngknmakthisud krabwnkarthkxphipray prakxbdwykhntxndngni rwmkhnthukklum inclusive epidihphumiswnidswnesiyekharwminkrabwnkarthkxphiprayihmakthisud epidchxngthangkarmiswnrwm participatory phuekharwmtxngmioxkasaesdngkhwamkhidehn rwmdwychwykn collaborative thukklum thukkhn rwmmuxknesnxthangeluxk khnthimikhwamehnkhlayknphyayamprbkhxesnxihepntwaethnkhwamkhidkhxngklumtn ephuxihklumxunphicarna hakhxtklng agreement seeking epahmaykhux phyayamhakhxtklngrwmknihmakthisud epahmaysungsudkhuxkhwamehnphxngtxngknxyangsmburn ekuxkulkn cooperative phuekharwmkhwrmihwicxyuthiphlpraoychnrwmknkhxngthukfay khwrplxyihthukklumidaesdngkhwamtxngkarthiaethcringkhxngtnexng ephuxnamaprbekhakbthangeluxkthithukfaycayxmrbrwmknid khnaediywkn kimkhwrihkhwamtxngkarechphaakhxngklumtnbdbnghruxthaihphlpraoychnrwmknimsamarthbrrluid khntxnipsukartdsinicaebbkhwamehnphxng thkxphipray aeckaecngkhxesnx thangeluxk rabutwtnphumiswnrwm swnidswnesiy rwmknprbprung aekikhkhxesnx thangeluxk praeminesiyngsnbsnun srupmti hruxthaimsamarthhamtirwmknid ihklbipthakhxthi 1 5 ihm karsrupphlkartdsinichruxktikakartdsinic khunxyukbkhxkahndthitklngkniwlwnghna nahnkaelakhxbekhtkhxngkarehnphxngtxngknmihlaykhnadechn thukkhnehnphxngrwmkn thukkhnehnrwmkn ykewnhnungesiynghruxsxngesiyng esiyngkhangmakeddkhadxyangmak super majority sungmitngaet 90 75 esiyngsxnginsam hruxxun thimakkwaesiyngkhangmakephiyngkhrunghnung bangkrnixacichkartdsinickhxngkhnakrrmkarthitngkhunkid inkrnithitxngkaresiyngehnphxngtxngknxyangsmburn unanimity phuthiimehndwyephiynghnungesiyngkxacmixanacybyng block kartdsinicnnid khunxyukbwaktikathikahndiwepnechnir Hartnett 2011 twxyangkarnaipichinpraethsithysahrbpraethsithy sastracary dr kaycna nakhskul idihniyam chnthamti waepnkhathiimpraktinphcnanukrmchbbrachbnthitysthan ph s 2542 khathiiklekhiyngkn khux khawa chnthakhti aeplwa khwamlaexiyngephraarkikhrchxbic kbkhawa chnthanumti aeplwa khwamehnchxbtamodykhwamphxic ihkrathakardwykhwametmic mkichwamichnthanumtihruxlngchnthanumti hmaykhwamwalngkhwamehndwykhwamyinyxmphrxmic echn yati michnthanumtiihekhaepnphucdkarmrdkkhxngkhunpu chnthanumti kb chnthamti cungichinkhwamhmayediywkn khathiekhiynthuktxngkhwrcaepn chnthmti sungepnkhasmaskhxng chnth mti hakekhiynwa chnthamti cahmaythung chnth xmti sungmikhwamhmaytrngknkham inechingkarnaipichphbtwxyangechn inexksaraephnphthnakaremuxngkhxngsphaphthnakaremuxngehnwa karsrangkrabwnkaraeswnghachnthamtiinkarhakhxsruphruxmtithi thukkhn thiekiywkhxngyxmrbdwykhwametmicodyimmxngkhamkhwamkhidehnhruxkhxkhdkhankhxngkhnswnnxy hlaykhrngcungphbwa yttisatharna aelakarrierimhruxkarepliynaeplngkhrngsakhy thangkaremuxngxacthukxangwaidrbchnthanumticakprachachnnxkspha echn karkhbilephdckarthhar hruxephdckarrabxbrthspha karrangrththrrmnuy rwmthngkarptirupkaremuxng epntn aetinkhwamepncring sngkhmithyyngimekhynakrabwnkartdsinicaebbehnphxngtxngknxyangchnthamtimaichxyangepnthangkarely dwyehtunicungehnidwakarichkhawakhwamehnphxnginsngkhmithyyngmipyhainkarthakhwamekhaicin 2 radbdngni pyharadbkarniyam epnpyhainkarihkhwamhmaythienneruxngkhxngesiyngkhangnxy imicheruxngkhxng krabwnkar ephraakhwamehnphxnginkhwamhmaysaklimidsnicesiyngkhangnxyaetephiyngxyangediyw aetcasnicthngkrabwnkarimwacamiesiyngkhnadihn kmisiththithicaaesdngkhwamkhidehnaelaxphipraythkethiyngephuxhakhxtklngrwmknid pyharadbkarptibti khwamehnphxngmkthukichepnkhxxanginkarimptibtitamesiyngkhangmak aelaimsnicktikakhxngsngkhm sungpyhadngklawthuxwaepnpyharadbsaklechnediywkn ephraakhawa consensus thitxngkarihthukesiyngmikhwamhmayxaccathuknaipbidebuxnihklayepnesiyngkhangnxyethannthimikhwamhmay hruxklawidwaekidephdckaresiyngkhangnxy minority tyranny xangxing 1 Read James H 2011 Consensus In George Thomas Kurian et al The Encyclopedia of Political Science Washington D C CQ Press Lijphart Arend 1984 Democracies Patterns of Majoritarian and Consensus Government in Twenty one Countries New Haven Yale University Press Hartnett Tim 2011 The Basics of Consensus Decision Making New York New Society Publisher Accessed May 7 2012 from 2 chnthamti 2555 rachbnthitsthan ekhathungwnthi 20 singhakhm 2555 in 3 chnthamti hmaykhwamwaxyangir aephnphthnakaremuxng 2555 sphaphthnakaremuxng ekhathungwnthi 20 singhakhm 2555 in 4 lingkesiy