คำจำกัดความที่ใช้โดยทั่วไปของคำว่า ความเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียน (อังกฤษ: school belonging) มีที่มาจากบทความวิจัยในปี 1993 ของคาโรล กูเดนาวและคัทลีน เกรดี ซึ่งพวกเขาอธิบายของโรงเรียนไว้ว่า "ความรู้สึกของนักเรียนที่ได้รับการยอมรับ เคารพ เป็นส่วนหนึ่งและได้รับการสนับสนุนจากผู้อื่นในสังคมโรงเรียน" การก่อตัวของความเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียนเกี่ยวข้องกับความรู้สึกที่เชื่อมต่อและผูกพันกับโรงเรียนของตน นอกจากนี้ยังรวมถึงการมีส่วนร่วมและเกี่ยวเนื่องกับชุมชนโรงเรียนของตนอีกด้วย ในทางกลับกัน นักเรียนที่ไม่มีความรู้สึกความเป็นส่วนหนึ่งในสิ่งแวดล้อมของโรงเรียนมากนักมักถูกอธิบายว่าเป็นพวกแปลกแยกหรือห่างเหิน มีคำศัพท์ภาษาอังกฤษในการวิจัยทางการศึกษาที่ใช้แทนกันได้กับคำว่าความเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียน เช่น school connectedness, school attachment และ school engagement เป็นต้น ซึ่งล้วนมีความหมายว่าความยึดโยงกับโรงเรียนหรือความผูกพันกับโรงเรียน
ความเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียนถูกกำหนดโดยปัจจัยจำนวนมาก เช่น ผลสัมฤทธิ์และแรงจูงใจทางการเรียน ลักษณะส่วนบุคคล ความสัมพันธ์ในโรงเรียน ลักษณะประชากรศาสตร์ และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมนอกหลักสูตร การวิจัยชี้ว่าความเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียนมีผลกระทบสำคัญต่อนักเรียน โดยมีความเชื่อมโยงกับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การปรับตัวทางจิตวิทยา ความเป็นอยู่ การสร้างอัตลักษณ์ สุขภาพจิตและสุขภาพกาย ดังนั้น ความเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียนจึงถูกพิจารณาว่าเป็นปัจจัยพื้นฐานของการพัฒนาของนักเรียน ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งกับโรงเรียนของตนถูกมองว่ามีความสำคัญต่อวัยรุ่น เนื่องจากพวกเขาอยู่ในช่วงของการเปลี่ยนผ่านและสร้างอัตลักษณ์ของตน และการวิจัยพบว่าความเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียนจะเริ่มลดลงในช่วงนี้
แบบประเมินความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งสถาบัน (Psychological Sense of School Membership, PSSM) ถูกพัฒนาในปี 1993 เป็นหนึ่งในการวัดเพื่อหาว่านักเรียนมีความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งกับโรงเรียนมากน้อยเพียงใด นักเรียนจะประเมินว่าตนเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยกับข้อความนั้น ๆ ยกตัวอย่าง เช่น "ผู้คนที่นี้สังเกตเห็นว่าฉันทำได้ดีในอะไรบางอย่าง" ในปี 2003 จัดการประชุมนานาชาติที่ปฏิญญาวิงสเปรดว่าด้วยความยึดโยงในโรงเรียน (Wingspread Declaration on School Connections) ได้รับการพัฒนาขึ้นในฐานะกลุ่มของกลยุทธ์เพื่อเพิ่มความรู้สึกของความเป็นส่วนหนึ่งและความยึดโยงกับโรงเรียนของพวกเขา
ความแพร่หลายและแนววิถี
การวิจัยชี้ว่านักเรียนจำนวนมากขาดความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียน (PISA) ได้สำรวจความเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียนและความไม่พอใจของนักเรียนทั่วโลกนับแต่แต่ปี 2003 การรวบรวมข้อมูลล่าสุดของ PISA เกิดขึ้นในปี 2018 โดยมีนักเรียนกลุ่มตัวอย่างจำนวนประมาณ 600,000 คน แทนกลุ่มประชากรนักเรียนที่มีอายุ 15 ปี (อายุระหว่าง 15 ปี 3 เดือน ถึง 16 ปี 2 เดือน) จำนวน 32 ล้านคน จากประเทศที่เข้าร่วมประเมินในปี 2018 จำนวน 79 ประเทศ การวิเคราะห์ของพวกเขาพบว่ามีนักเรียนในสัดส่วนอย่างมีนัยสำคัญทั่วโลกขาดความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียน โดยเฉลี่ยแล้วมีนักเรียนประมาณหนึ่งในสามที่สำรวจรู้สึกว่าตนไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียนของตน นอกจากนี้ พวกเขายังพบว่านักเรียนหนึ่งในห้ารู้สึกเป็นส่วนเกินของโรงเรียน ขณะที่หนึ่งในหกรู้สึกโดดเดี่ยว ในระบบการศึกษาเกือบทั้งหมด นักเรียนที่มีสถานะทางเศรษฐกิจและสังคมต่ำมักรู้สึกว่าตนไม่ได้เป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียน โดยเฉลี่ยแล้ว ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียนลดลงร้อยละ 2 ระหว่างปี 2015 ถึง 2018 ขณะที่สัดส่วนของนักเรียนที่ไม่รู้สึกว่าตนเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียนเพิ่มขึ้นตั้งแต่ปี 2003 ซึ่งชี้ให้เห็นว่าแนวโน้มของความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียนทั่วโลกลดลง
ความเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียนมีแนวโน้มจะลดลงเมื่อนักเรียนอายุมากขึ้น ซึ่งระบุได้จากการศึกษาวิจัยจำนวนมาก นักวิจัยอย่าง คารี กิลเลนโอนีลและแอนดรูว์ ฟูลีกนีได้ทำการศึกษานักเรียนจากละตินอเมริกา เอเชียและยุโรป และพบว่านักเรียนวัยเด็กมีความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียนในระดับสูง แต่เมื่อนักเรียนเปลี่ยนผ่านเข้าสู่ระดับมัธยมศึกษาตอนต้นและวัยรุ่น การรับรู้ด้านความเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียนลดลงอย่างมีนัยสำคัญ ในทางเดียวกัน การศึกษาอีกงานหนึ่งพบว่าความรู้เป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียนลดลงเมื่อเปลี่ยนผ่านจากมัธยมศึกษาตอนต้นสู่มัธยมศึกษาตอนปลาย นักเรียนกลุ่มดังกล่าวยังแสดงให้เห็นถึงภาวะซึมเศร้าที่เพิ่มขึ้นและการลดลงใน ซึ่งอาจพิจารณาได้ว่าเป็นทั้งสาเหตุหรือผลของการลดลงของความเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียน แนวโน้มที่ว่านี้ถูกทำซ้ำในงานศึกษาอีกเป็นจำนวนมาก ซึ่งล้วนแต่แสดงให้เห็นว่าความเป็นส่วนหนึ่งของโรงเรียนลดลงเมื่อนักเรียนเข้าสู่ความเป็นวัยรุ่น
อ้างอิง
- Goodenow, Carol; Grady, Kathleen E. (1993). "The Relationship of School Belonging and Friends' Values to Academic Motivation Among Urban Adolescent Students". The Journal of Experimental Education (ภาษาอังกฤษ). 62 (1): 60–71. doi:10.1080/00220973.1993.9943831. ISSN 0022-0973.
- Allen, Kelly-Ann; Kern, Margaret L. (2017). School Belonging in Adolescents: Theory, Research and Practice. SpringerBriefs in Psychology (ภาษาอังกฤษ). Singapore: Springer Singapore. doi:10.1007/978-981-10-5996-4. ISBN . S2CID 158362521.
- Willms, Jon D. (2003). Student Engagement at School: A Sense of Belonging and Participation: Results from PISA 2000. PISA (ภาษาอังกฤษ). OECD. doi:10.1787/9789264018938-en. ISBN .
- Allen, Kelly-Ann; Vella-Brodrick, Dianne; Waters, Lea (2016). "Fostering School Belonging in Secondary Schools Using a Socio-Ecological Framework". The Educational and Developmental Psychologist (ภาษาอังกฤษ). 33 (1): 97–121. doi:10.1017/edp.2016.5. ISSN 2059-0776.
- Osterman, Karen F. (2000). "Students' Need for Belonging in the School Community". Review of Educational Research (ภาษาอังกฤษแบบอเมริกัน). 70 (3): 323–367. doi:10.3102/00346543070003323. ISSN 0034-6543. S2CID 145656681.
- Allen, K. A.; Bowles, T. (2012). "Belonging as a Guiding Principle in the Education of Adolescents" (PDF). Australian Journal of Educational and Developmental Psychology. 12: 109 – โดยทาง ERIC.
- Libbey, H. P. (2004). "Measuring student relationships to school: Attachment, bonding, connectedness, and engagement". Journal of School Health. 74 (7): 1275. doi:10.1111/j.1746-1561.2004.tb08284.x. PMID 15493704.
- Allen, Kelly; Kern, Margaret L.; Vella-Brodrick, Dianne; Hattie, John; Waters, Lea (2018). "What Schools Need to Know About Fostering School Belonging: a Meta-analysis". Educational Psychology Review (ภาษาอังกฤษ). 30 (1): 1–34. doi:10.1007/s10648-016-9389-8. ISSN 1040-726X. S2CID 151358354.
- Arslan, G.; Allen, K.; Ryan, T. (2020). "Exploring the Impacts of School Belonging on Youth Wellbeing and Mental Health]: A Longitudinal Study". Child Indicators Research. doi:10.1007/s12187-020-09721-z. S2CID 213584348.
- Abdollahi, A.; Panahipour, S.; Tafti, M. A.; Allen, K. A. (2020). "Academic hardiness as a mediator for the relationship between school belonging and academic stress". Psychology in the Schools: 345. doi:10.1080/00220671.2016.1261075. S2CID 151504643.
- Neel, Cari Gillen-O'; Fuligni, Andrew (2013). "A Longitudinal Study of School Belonging and Academic Motivation Across High School". Child Development (ภาษาอังกฤษ). 84 (2): 678–692. doi:10.1111/j.1467-8624.2012.01862.x. ISSN 1467-8624. PMID 23002809. S2CID 18239539.
- "PISA 2018: Combined Executive Summary Report Report" (PDF). Secretary-General of the OECD. 2019. สืบค้นเมื่อ June 7, 2020.
{{}}
: CS1 maint: url-status () - Newman, Barbara M.; Newman, Philip R.; Griffen, Sarah; O'Connor, Kerry; Spas, Jayson (2007). "The relationship of social support to depressive symptoms during the transition to high school". Adolescence. 42 (167): 441–459. ISSN 0001-8449. PMID 18047232.
- Anderman, Eric M. (2002). "School effects on psychological outcomes during adolescence". Journal of Educational Psychology (ภาษาอังกฤษ). 94 (4): 795–809. doi:10.1037/0022-0663.94.4.795. ISSN 1939-2176.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
khacakdkhwamthiichodythwipkhxngkhawa khwamepnswnhnungkhxngorngeriyn xngkvs school belonging mithimacakbthkhwamwicyinpi 1993 khxngkhaorl kuednawaelakhthlin ekrdi sungphwkekhaxthibaykhxngorngeriyniwwa khwamrusukkhxngnkeriynthiidrbkaryxmrb ekharph epnswnhnungaelaidrbkarsnbsnuncakphuxuninsngkhmorngeriyn karkxtwkhxngkhwamepnswnhnungkhxngorngeriynekiywkhxngkbkhwamrusukthiechuxmtxaelaphukphnkborngeriynkhxngtn nxkcakniyngrwmthungkarmiswnrwmaelaekiywenuxngkbchumchnorngeriynkhxngtnxikdwy inthangklbkn nkeriynthiimmikhwamrusukkhwamepnswnhnunginsingaewdlxmkhxngorngeriynmaknkmkthukxthibaywaepnphwkaeplkaeykhruxhangehin mikhasphthphasaxngkvsinkarwicythangkarsuksathiichaethnknidkbkhawakhwamepnswnhnungkhxngorngeriyn echn school connectedness school attachment aela school engagement epntn sunglwnmikhwamhmaywakhwamyudoyngkborngeriynhruxkhwamphukphnkborngeriynnkeriyninincieriy khwamepnswnhnungkhxngorngeriynthukkahndodypccycanwnmak echn phlsmvththiaelaaerngcungicthangkareriyn lksnaswnbukhkhl khwamsmphnthinorngeriyn lksnaprachakrsastr aelakarmiswnrwminkickrrmnxkhlksutr karwicychiwakhwamepnswnhnungkhxngorngeriynmiphlkrathbsakhytxnkeriyn odymikhwamechuxmoyngkb phlsmvththithangkareriyn karprbtwthangcitwithya khwamepnxyu karsrangxtlksn sukhphaphcitaelasukhphaphkay dngnn khwamepnswnhnungkhxngorngeriyncungthukphicarnawaepnpccyphunthankhxngkarphthnakhxngnkeriyn khwamrusukepnswnhnungkborngeriynkhxngtnthukmxngwamikhwamsakhytxwyrun enuxngcakphwkekhaxyuinchwngkhxngkarepliynphanaelasrangxtlksnkhxngtn aelakarwicyphbwakhwamepnswnhnungkhxngorngeriyncaerimldlnginchwngni aebbpraeminkhwamrusukepnswnhnungsthabn Psychological Sense of School Membership PSSM thukphthnainpi 1993 epnhnunginkarwdephuxhawankeriynmikhwamrusukepnswnhnungkborngeriynmaknxyephiyngid nkeriyncapraeminwatnehndwyhruximehndwykbkhxkhwamnn yktwxyang echn phukhnthinisngektehnwachnthaiddiinxairbangxyang inpi 2003 cdkarprachumnanachatithiptiyyawingseprdwadwykhwamyudoynginorngeriyn Wingspread Declaration on School Connections idrbkarphthnakhuninthanaklumkhxngklyuththephuxephimkhwamrusukkhxngkhwamepnswnhnungaelakhwamyudoyngkborngeriynkhxngphwkekhakhwamaephrhlayaelaaenwwithikarwicychiwankeriyncanwnmakkhadkhwamrusukepnswnhnungkhxngorngeriyn PISA idsarwckhwamepnswnhnungkhxngorngeriynaelakhwamimphxickhxngnkeriynthwolknbaetaetpi 2003 karrwbrwmkhxmullasudkhxng PISA ekidkhuninpi 2018 odyminkeriynklumtwxyangcanwnpraman 600 000 khn aethnklumprachakrnkeriynthimixayu 15 pi xayurahwang 15 pi 3 eduxn thung 16 pi 2 eduxn canwn 32 lankhn cakpraethsthiekharwmpraemininpi 2018 canwn 79 praeths karwiekhraahkhxngphwkekhaphbwaminkeriyninsdswnxyangminysakhythwolkkhadkhwamrusukepnswnhnungkhxngorngeriyn odyechliyaelwminkeriynpramanhnunginsamthisarwcrusukwatnimidepnswnhnungkhxngorngeriynkhxngtn nxkcakni phwkekhayngphbwankeriynhnunginharusukepnswnekinkhxngorngeriyn khnathihnunginhkrusukoddediyw inrabbkarsuksaekuxbthnghmd nkeriynthimisthanathangesrsthkicaelasngkhmtamkrusukwatnimidepnswnhnungkhxngorngeriyn odyechliyaelw khwamrusukepnswnhnungkhxngorngeriynldlngrxyla 2 rahwangpi 2015 thung 2018 khnathisdswnkhxngnkeriynthiimrusukwatnepnswnhnungkhxngorngeriynephimkhuntngaetpi 2003 sungchiihehnwaaenwonmkhxngkhwamrusukepnswnhnungkhxngorngeriynthwolkldlng khwamepnswnhnungkhxngorngeriynmiaenwonmcaldlngemuxnkeriynxayumakkhun sungrabuidcakkarsuksawicycanwnmak nkwicyxyang khari kilelnoxnilaelaaexndruw fulikniidthakarsuksankeriyncaklatinxemrika exechiyaelayuorp aelaphbwankeriynwyedkmikhwamrusukepnswnhnungkhxngorngeriyninradbsung aetemuxnkeriynepliynphanekhasuradbmthymsuksatxntnaelawyrun karrbrudankhwamepnswnhnungkhxngorngeriynldlngxyangminysakhy inthangediywkn karsuksaxiknganhnungphbwakhwamruepnswnhnungkhxngorngeriynldlngemuxepliynphancakmthymsuksatxntnsumthymsuksatxnplay nkeriynklumdngklawyngaesdngihehnthungphawasumesrathiephimkhunaelakarldlngin sungxacphicarnaidwaepnthngsaehtuhruxphlkhxngkarldlngkhxngkhwamepnswnhnungkhxngorngeriyn aenwonmthiwanithukthasainngansuksaxikepncanwnmak sunglwnaetaesdngihehnwakhwamepnswnhnungkhxngorngeriynldlngemuxnkeriynekhasukhwamepnwyrunxangxingGoodenow Carol Grady Kathleen E 1993 The Relationship of School Belonging and Friends Values to Academic Motivation Among Urban Adolescent Students The Journal of Experimental Education phasaxngkvs 62 1 60 71 doi 10 1080 00220973 1993 9943831 ISSN 0022 0973 Allen Kelly Ann Kern Margaret L 2017 School Belonging in Adolescents Theory Research and Practice SpringerBriefs in Psychology phasaxngkvs Singapore Springer Singapore doi 10 1007 978 981 10 5996 4 ISBN 978 981 10 5995 7 S2CID 158362521 Willms Jon D 2003 Student Engagement at School A Sense of Belonging and Participation Results from PISA 2000 PISA phasaxngkvs OECD doi 10 1787 9789264018938 en ISBN 978 92 64 01892 1 Allen Kelly Ann Vella Brodrick Dianne Waters Lea 2016 Fostering School Belonging in Secondary Schools Using a Socio Ecological Framework The Educational and Developmental Psychologist phasaxngkvs 33 1 97 121 doi 10 1017 edp 2016 5 ISSN 2059 0776 Osterman Karen F 2000 Students Need for Belonging in the School Community Review of Educational Research phasaxngkvsaebbxemrikn 70 3 323 367 doi 10 3102 00346543070003323 ISSN 0034 6543 S2CID 145656681 Allen K A Bowles T 2012 Belonging as a Guiding Principle in the Education of Adolescents PDF Australian Journal of Educational and Developmental Psychology 12 109 odythang ERIC Libbey H P 2004 Measuring student relationships to school Attachment bonding connectedness and engagement Journal of School Health 74 7 1275 doi 10 1111 j 1746 1561 2004 tb08284 x PMID 15493704 Allen Kelly Kern Margaret L Vella Brodrick Dianne Hattie John Waters Lea 2018 What Schools Need to Know About Fostering School Belonging a Meta analysis Educational Psychology Review phasaxngkvs 30 1 1 34 doi 10 1007 s10648 016 9389 8 ISSN 1040 726X S2CID 151358354 Arslan G Allen K Ryan T 2020 Exploring the Impacts of School Belonging on Youth Wellbeing and Mental Health A Longitudinal Study Child Indicators Research doi 10 1007 s12187 020 09721 z S2CID 213584348 Abdollahi A Panahipour S Tafti M A Allen K A 2020 Academic hardiness as a mediator for the relationship between school belonging and academic stress Psychology in the Schools 345 doi 10 1080 00220671 2016 1261075 S2CID 151504643 Neel Cari Gillen O Fuligni Andrew 2013 A Longitudinal Study of School Belonging and Academic Motivation Across High School Child Development phasaxngkvs 84 2 678 692 doi 10 1111 j 1467 8624 2012 01862 x ISSN 1467 8624 PMID 23002809 S2CID 18239539 PISA 2018 Combined Executive Summary Report Report PDF Secretary General of the OECD 2019 subkhnemux June 7 2020 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a CS1 maint url status lingk Newman Barbara M Newman Philip R Griffen Sarah O Connor Kerry Spas Jayson 2007 The relationship of social support to depressive symptoms during the transition to high school Adolescence 42 167 441 459 ISSN 0001 8449 PMID 18047232 Anderman Eric M 2002 School effects on psychological outcomes during adolescence Journal of Educational Psychology phasaxngkvs 94 4 795 809 doi 10 1037 0022 0663 94 4 795 ISSN 1939 2176