ย่านผิดปกติแอตแลนติกใต้ (อังกฤษ: South Atlantic Anomaly; SAA) เป็นย่านหนึ่งของผิวโลกที่อยู่ใกล้กับเส้นในมากที่สุด ที่ระดับความสูงดังกล่าวความหนาแน่นของรังสีจะมีสูงกว่าย่านอื่นๆ แนวการแผ่รังสีแวนอัลเลนมีลักษณะสมมาตรกับ ซึ่งสอดคล้องกับแกนการหมุนของโลกโดยทำมุมประมาณ 11 องศา แกนแม่เหล็กจึงเบี่ยงไปจากแกนการหมุนของโลกประมาณ 450 กิโลเมตร ผลจากการเบี่ยงเบนดังกล่าว เข็มขัดเส้นในของแนวการแผ่รังสีแวนอัลเลนจึงอยู่ใกล้ผิวโลกมากที่สุดที่บริเวณเหนือมหาสมุทรแอตแลนติกตอนใต้ ส่วนที่อยู่ห่างจากผิวโลกมากที่สุดอยู่ที่ประมาณเหนือมหาสมุทรแปซิฟิกตอนเหนือ
ย่านผิดปกติแอตแลนติกใต้ส่งผลกระทบอย่างมีนัยสำคัญต่อดาวเทียมและอวกาศยานสำรวจทางดาราศาสตร์ที่โคจรรอบโลกในระดับความสูงไม่กี่กิโลเมตรเหนือพื้นโลก วงโคจรในระดับนั้นทำให้ดาวเทียมเคลื่อนผ่านย่านความผิดปกติเป็นประจำและทำให้มันต้องได้รับรังสีระดับรุนแรงเป็นเวลาหลายนาทีในแต่ละครั้ง สถานีอวกาศนานาชาติที่โคจรในระดับดังกล่าวโดยมีมุมเบี่ยงเบน 51.6° ก็ต้องสร้างเกราะป้องกันพิเศษเพื่อป้องกันปัญหานี้ เครื่องมือวัดบนกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิลก็ไม่สามารถใช้งานได้ทุกครั้งที่โคจรผ่านย่านนี้
อ้างอิง
- "ROSAT SAA" เก็บข้อมูลเมื่อ 2007-10-16.
- Stassinopoulos, E.G.; Staffer, C.A. (2007), Forty-Year Drift and Change of the SAA, นาซา, ศูนย์การบินอวกาศก็อดเดิร์ด
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
yanphidpktiaextaelntikit xngkvs South Atlantic Anomaly SAA epnyanhnungkhxngphiwolkthixyuiklkbesninmakthisud thiradbkhwamsungdngklawkhwamhnaaennkhxngrngsicamisungkwayanxun aenwkaraephrngsiaewnxlelnmilksnasmmatrkb sungsxdkhlxngkbaeknkarhmunkhxngolkodythamumpraman 11 xngsa aeknaemehlkcungebiyngipcakaeknkarhmunkhxngolkpraman 450 kiolemtr phlcakkarebiyngebndngklaw ekhmkhdesninkhxngaenwkaraephrngsiaewnxlelncungxyuiklphiwolkmakthisudthibriewnehnuxmhasmuthraextaelntiktxnit swnthixyuhangcakphiwolkmakthisudxyuthipramanehnuxmhasmuthraepsifiktxnehnuxaenwkaraephrngsiaewnxleln kbtaaehnngthibrrcbkbmhasmuthraextaelntikyanphidpktiaextaelntikit mikhnadpraman 560 km yanphidpktiaextaelntikitsngphlkrathbxyangminysakhytxdawethiymaelaxwkasyansarwcthangdarasastrthiokhcrrxbolkinradbkhwamsungimkikiolemtrehnuxphunolk wngokhcrinradbnnthaihdawethiymekhluxnphanyankhwamphidpktiepnpracaaelathaihmntxngidrbrngsiradbrunaerngepnewlahlaynathiinaetlakhrng sthanixwkasnanachatithiokhcrinradbdngklawodymimumebiyngebn 51 6 ktxngsrangekraapxngknphiessephuxpxngknpyhani ekhruxngmuxwdbnklxngothrthrrsnxwkashbebilkimsamarthichnganidthukkhrngthiokhcrphanyannixangxing ROSAT SAA ekbkhxmulemux 2007 10 16 Stassinopoulos E G Staffer C A 2007 Forty Year Drift and Change of the SAA nasa sunykarbinxwkaskxdedird bthkhwamfisiksniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk