ควร์ท อัลเดอร์ (เยอรมัน: Kurt Alder; 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1902 – 20 มิถุนายน ค.ศ. 1958) เป็นนักเคมีชาวเยอรมัน เกิดที่เมืองเคอนิชส์ฮึทเทอ (ปัจจุบันคือเมืองในประเทศโปแลนด์) เรียนจบด้านเคมีจากมหาวิทยาลัยเบอร์ลินและเรียนต่อที่ หลังเรียนจบ อัลเดอร์ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์และอาจารย์ที่มหาวิทยาลัยคีล ในปี ค.ศ. 1928 อัลเดอร์และ อาจารย์ของเขาค้นพบ ซึ่งเป็นปฏิกิริยาสังเคราะห์สารประกอบอินทรีย์วงแหวน ต่อมาในปี ค.ศ. 1936 อัลเดอร์ย้ายไปทำงานที่บริษัทเคมีภัณฑ์ ในเลเวอร์คูเซินและดำรงตำแหน่งศาสตราจารย์ที่มหาวิทยาลัยโคโลญ ในปี ค.ศ. 1950 อัลเดอร์และดีลส์ได้รับรางวัลโนเบลสาขาเคมีจากการค้นพบและพัฒนาการสังเคราะห์ อัลเดอร์เสียชีวิตในปี ค.ศ. 1958 ชื่อของเขาได้รับการนำไปตั้งเป็นชื่อแอ่งดวงจันทร์และสารออลดริน
ควร์ท อัลเดอร์ | |
---|---|
เกิด | 10 กรกฎาคม ค.ศ. 1902 เคอนิชส์ฮึทเทอ ( โปแลนด์ในปัจจุบัน) |
เสียชีวิต | 20 มิถุนายน ค.ศ. 1958 โคโลญ เยอรมนีตะวันตก | (55 ปี)
สัญชาติ | เยอรมัน |
ศิษย์เก่า | มหาวิทยาลัยเบอร์ลิน |
มีชื่อเสียงจาก | |
รางวัล | รางวัลโนเบลสาขาเคมี (ค.ศ. 1950) |
อาชีพทางวิทยาศาสตร์ | |
สาขา | เคมีอินทรีย์ |
สถาบันที่ทำงาน | มหาวิทยาลัยโคโลญ |
อ้างอิง
- Kurt Alder | Britannica.com
- (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2011-06-07. สืบค้นเมื่อ 2016-01-30.
- About the Nobel Prize in Chemistry 1950 - Nobelprize.org
แหล่งข้อมูลอื่น
- วิกิมีเดียคอมมอนส์มีสื่อเกี่ยวกับ ควร์ท อัลเดอร์
- วิกิคำคม มีคำคมที่กล่าวโดย หรือเกี่ยวกับ ควร์ท อัลเดอร์
- Kurt Alder | Encyclopedia.com
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
khwrth xledxr eyxrmn Kurt Alder 10 krkdakhm kh s 1902 20 mithunayn kh s 1958 epnnkekhmichaweyxrmn ekidthiemuxngekhxnichshuthethx pccubnkhuxemuxnginpraethsopaelnd eriyncbdanekhmicakmhawithyalyebxrlinaelaeriyntxthi hlngeriyncb xledxrdarngtaaehnngrxngsastracaryaelaxacarythimhawithyalykhil inpi kh s 1928 xledxraela xacarykhxngekhakhnphb sungepnptikiriyasngekhraahsarprakxbxinthriywngaehwn txmainpi kh s 1936 xledxryayipthanganthibristhekhmiphnth inelewxrkhuesinaeladarngtaaehnngsastracarythimhawithyalyokholy inpi kh s 1950 xledxraeladilsidrbrangwloneblsakhaekhmicakkarkhnphbaelaphthnakarsngekhraah xledxresiychiwitinpi kh s 1958 chuxkhxngekhaidrbkarnaiptngepnchuxaexngdwngcnthraelasarxxldrinkhwrth xledxrekid10 krkdakhm kh s 1902 1902 07 10 ekhxnichshuthethx opaelndinpccubn esiychiwit20 mithunayn kh s 1958 1958 06 20 55 pi okholy eyxrmnitawntksychatieyxrmnsisyekamhawithyalyebxrlinmichuxesiyngcakrangwlrangwloneblsakhaekhmi kh s 1950 xachiphthangwithyasastrsakhaekhmixinthriysthabnthithanganmhawithyalyokholyxangxingKurt Alder Britannica com PDF khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2011 06 07 subkhnemux 2016 01 30 About the Nobel Prize in Chemistry 1950 Nobelprize orgaehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxekiywkb khwrth xledxr wikikhakhm mikhakhmthiklawody hruxekiywkb khwrth xledxr Kurt Alder Encyclopedia com bthkhwamchiwprawtiniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk