บทความนี้ต้องการการจัดหน้า หรือ ให้ คุณสามารถปรับปรุงแก้ไขบทความนี้ได้ และนำป้ายออก พิจารณาใช้เพื่อชี้ชัดข้อบกพร่อง |
บทความนี้ยังต้องการเพิ่มเพื่อ |
คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็นคณะสัตวแพทยศาสตร์แห่งแรกของประเทศไทย ถือกำเนิดขึ้นในปี พ.ศ. 2478 โดยมีพันธกิจหลักในด้านการเรียนการสอน การวิจัยและบริการวิชาการทางด้านสัตวแพทย์ ปัจจุบันคณะสัตวแพทยศาสตร์ เปิดสอน
- หลักสูตรระดับปริญญาบัณฑิต 1 หลักสูตร คือหลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต (สพ.บ.)
- หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา จำนวน 25 หลักสูตร ได้แก่
- 2.1 ประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิทยาศาสตร์ทางสัตวแพทย์คลินิก 7 หลักสูตร ได้แก่ แขนงวิชาคลินกสัตว์เลี้ยงเป็นเพื่อน แขนงวิชาอายุรกรรม แขนงวิชาสูติ-เธนุเวชกรรม แขนงวิชาพยาธิชีววิทยาชันสูตร แขนงวิชาศัลยศาสตร์ แขนงวิชาสัตว์ทดลอง แขนงวิชาศัลยกรรม
- 2.2 ปริญญามหาบัณฑิต 10 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาวิทยาการสืบพันธุ์สัตว์ สาขาสรีรวิทยาการสัตว์ สาขาวิชาสัตวแพทย์สาธารณสุข สาขาวิชาพยาธิชีววิทยาทางสัตวแพทย์ สาขาวิชาอายุรศาสตร์ทางสัตวแพทย์ สาขาวิชาชีวศาสตร์ทางสัตวแพทย์ สาขาสัตวศาสตร์ประยุกต์ สาขาศัลยศาสตร์ทางสัตวแพทย์ สาขาวิชาเภสัชวิทยาทางสัตวแพทย์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทางสัตวแพทย์และเทคโนโลยี (หลักสูตรนานาชาติ) ได้แก่
- 2.3 ปริญญาดุษฎีบัณฑิต 6 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาวิทยาการสืบพันธุ์สัตว์ สาขาวิชาสรีรวิทยาการสัตว์ สาขาวิชาสัตวแพทย์สาธารณสุข สาขาวิชาพยาธิชีววิทยาทางสัตวแพทย์ สาขาวิชาอายุรศาสตร์สัตวแพทย์ สาขาวิชาชีวศาสตร์ทางสัตวแพทย์ สาขาวิชาสัตวศาสตร์ประยุกต์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทางสัตวแพทย์และเทคโนโลยี (หลักสูตรนานาชาติ)
- คณะสัตวแพทยศาสตร์ ได้ผลิตบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ และคุณธรรม เพื่อรับใช้สังคมอย่างมีคุณภาพ ตลอดจนผลิตผลงานวิจัยที่ยังประโยชน์ต่อสังคมและประเทศ
Faculty of Veterinary Science, Chulalongkorn University | |
| |
ชื่อเดิม | แผนกอิสระสัตวแพทยศาสตร์ |
---|---|
สถาปนา | 22 เมษายน พ.ศ. 2478 |
คณบดี | ศ.สพ.ญ.ดร.สันนิภา สุรทัตต์ |
ที่อยู่ | |
วารสาร | เวชชสารสัตวแพทย์ (The Thai J. of Veterinary Medicine) |
สี | ███ สีฟ้าหม่น |
เว็บไซต์ | http://www.vet.chula.ac.th/vet2018/ |
ประวัติ
แผนกอิสระสัตวแพทยศาสตร์ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ถูกโอนย้ายไปสังกัดมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (ปัจจุบันคือมหาวิทยาลัยมหิดล) ในปี พ.ศ. 2486 ก่อนจะถูกโอนย้ายสังกัดอีกครั้งในปี พ.ศ. 2497 เข้าสู่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึ่งได้ปรับปรุงหลักสูตรสัตวแพทยศาสตร์ จาก 5 ปีเป็น 6 ปี โดยศึกษาเตรียมสัตวแพทย์ที่มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จากนั้นศึกษาระดับปรีคลินิกและคลินิกที่คณะสัตวแพทย์ศาสตร์ ในพื้นที่เดิมของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ต่อมาในปี พ.ศ. 2507 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ทำเรื่องถึงมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพื่อขอโอนคณะสัตวแพทยศาสตร์ซึ่งยังคงตั้งอยู่ในบริเวณพื้นที่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยกลับคืนเช่นเดิม แต่ทางสภามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ไม่เห็นด้วย จึงเตรียมสร้างอาคารสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ เพื่อย้ายออกจากพื้นที่ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อย่างไรก็ตาม คณะสัตวแพทยศาสตร์ได้ทำเรื่องไม่ขอย้ายออกจากที่ตั้งเดิม และขอโอนกลับไปสังกัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยในปี พ.ศ. 2510 ส่วนมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ได้เปิดหลักสูตรสัตวแพทย์ศาสตร์ขึ้นมาในพื้นที่ที่ได้จัดเตรียมไว้แล้ว และแยกการบริหารกับส่วนที่โอนคืนให้จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- พ.ศ. 2478 มีการจัดตั้งแผนกอิสระสัตวแพทยศาสตร์ในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยมีหลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต 4 ปี
- พ.ศ. 2482 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้ปรับปรุงหลักสูตรขั้นปริญญาสัตวแพทยศาสตรบัณฑิต จาก 4 ปีเป็น 5 ปี
- พ.ศ. 2486 แผนกอิสระสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถูกโอนย้ายไปสังกัดมหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ (มหาวิทยาลัยมหิดลในปัจจุบัน) และจัดตั้งขึ้นเป็นคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์
- พ.ศ. 2497 คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยแพทยศาสตร์ โอนย้ายมาอยู่ในสังกัดของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ สังกัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
- พ.ศ. 2500 คณะสัตวแพทยศาสตร์ได้ปรับปรุงหลักสูตรสัตวแพทยศาสตรบัณฑิตจากเดิม 5 ปีเป็น 6 ปี
- พ.ศ. 2502 คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ได้โอนไปอยู่ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี
- พ.ศ. 2510 คณะสัตวแพทยศาสตร์ โอนย้ายมาอยู่ในสังกัดของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สำนักนายกรัฐมนตรี
- พ.ศ. 2515 คณะสัตวแพทยศาสตร์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ก็ได้โอนจากสำนักนายกรัฐมนตรีไปอยู่ในสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย
หลักสูตร
ระดับปริญญาตรี
คณะสัตวแพทยศาสตร์ เปิดสอนหลักสูตรในระดับปริญญาบัณฑิต 1 หลักสูตร ได้แก่
- สัตวแพทยศาสตรบัณฑิต หลักสูตร 6 ปี
ระดับบัณฑิตศึกษา
คณะสัตวแพทยศาสตร์ เปิดสอนหลักสูตรในระดับบัณฑิตศึกษา ในสาขาวิชา ดังนี้
- หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา จำนวน 25 หลักสูตร ได้แก่
- หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตทางวิทยาศาสตร์ทางสัตวแพทย์คลินิก 7 หลักสูตร ได้แก่ แขนงวิชาคลินกสัตว์เลี้ยงเป็นเพื่อน แขนงวิชาอายุรกรรม แขนงวิชาสูติ–เธนุเวชกรรม แขนงวิชาพยาธิชีววิทยาชันสูตร แขนงวิชาศัลยศาสตร์ แขนงวิชาสัตว์ทดลอง แขนงวิชาศัลยกรรม
- หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต 10 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาวิทยาการสืบพันธุ์สัตว์ สาขาสรีรวิทยาการสัตว์ สาขาวิชาสัตวแพทย์สาธารณสุข สาขาวิชาพยาธิชีววิทยาทางสัตวแพทย์ สาขาวิชาอายุรศาสตร์ทางสัตวแพทย์ สาขาวิชาชีวศาสตร์ทางสัตวแพทย์ สาขาสัตวศาสตร์ประยุกต์ สาขาศัลยศาสตร์ทางสัตวแพทย์ สาขาวิชาเภสัชวิทยาทางสัตวแพทย์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทางสัตวแพทย์และเทคโนโลยี (หลักสูตรนานาชาติ) ได้แก่
- หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต 6 สาขาวิชา ได้แก่ สาขาวิชาวิทยาการสืบพันธุ์สัตว์ สาขาวิชาสรีรวิทยาการสัตว์ สาขาวิชาสัตวแพทย์สาธารณสุข สาขาวิชาพยาธิชีววิทยาทางสัตวแพทย์ สาขาวิชาอายุรศาสตร์สัตวแพทย์ สาขาวิชาชีวศาสตร์ทางสัตวแพทย์ สาขาวิชาสัตวศาสตร์ประยุกต์ สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ทางสัตวแพทย์และเทคโนโลยี (หลักสูตรนานาชาติ)
ภาควิชา
|
|
โรงพยาบาลสัตว์
คณะสัตวแพทยศาสตร์ จัดให้มีบริการรักษาสัตว์โดยมี
- โรงพยาบาลสัตว์เล็ก ซึ่งตั้งอยู่ ณ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนอังรีดูนังต์ กรุงเทพมหานคร
บริการรักษา สุนัข แมว สัตว์ต่างถิ่น สัตว์ป่า สัตว์ชนิดพิเศษ โดยจัดให้มีคลินิกพิเศษ ได้แก่ คลินิกโรคตา คลินิกโรคผิวหนัง คลินิกโรคไต คลินิกโรคหัวใจ คลินิกโรคระบบฮอร์โมนและเมตาบอลิสม คลินิกโรคมะเร็ง คลินิกม้า คลินิกสัตว์น้ำ คลินิกอัลตราซาวนด์ คลินิกศัลยกรรมเนื้อเยื่อ คลินิกศัลยกรรมกระดูกและข้อ คลินิกทันตกรรมและสุขภาพช่องปาก คลินิกสูติกรรม คลินิกฉุกเฉิน และมีหน่วยชันสูตรโรคสัตว์ ให้บริการตรวจวินิจฉัยทางห้องปฏิบัติการ
- โรงพยาบาลปศุสัตว์ ซึ่งตั้งอยู่ ณ ศูนย์ฝึกนิสิต (ไร่ฝึกจารุเสถียร) ณ จังหวัดนครปฐม
ข้างกรมการสัตว์ทหารบก ถนนทหารบก ตำบลบ่อพลับ อำเภอเมืองนครปฐม บริการรักษาโค กระบือ แพะ แกะ สุกร สัตว์ปีก สัตว์น้ำ สัตว์ป่า ทั้งนี้โรงพยาบาลได้จัดตั้ง คลินิกสัตว์เล็ก เพื่อบริการรักษาสุนัข แมวและสัตว์เลี้ยงเป็นเพื่อนทุกชนิด
ซึ่งทั้งสองแห่งใช้เป็นสถานที่ฝึกงานเพื่อเสริมสร้างทักษะในการตรวจรักษาสัตว์ให้กับนิสิตสัตวแพทย์และให้บริการตรวจวินิจฉัย บำบัดรักษาโรคสัตว์ แก่สัตว์เลี้ยงของประชาชนโดยทั่วไป
พิพิธภัณฑ์
พิพิธภัณฑสถานปรสิตวิทยาในสัตว์ ตึกเก่ารูปตัวยู คณะสัตวแพทยศาสตร์ เก็บรวบรวมตัวอย่างปรสิตภายในและภายนอกของสัตว์ชนิดต่าง ๆ มาเป็นเป็นเวลายาวนานทำให้เก็บตัวอย่างได้หลากหลายและหลายประเภท เช่น หนอนพยาธิ แมลง ไร เห็บ และโปรโตซัว อันมีประโยชน์ต่อการศึกษาด้านสัตวแพทย์
ห้องสมุดและศูนย์เอกสารการสัตว์
คณะสัตวแพทยศาสตร์ได้เริ่มก่อตั้งในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้ก่อตั้งขึ้นเป็นแห่งแรกในประเทศไทยเมื่อปี พ.ศ. 2478 พัฒนาการของห้องสมุดและศูนย์เอกสารการสัตว์จึงค่อยๆ เริ่มขึ้นตามความจำเป็นเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอน พร้อมการจัดตั้งคณะ ห้องสมุดและศูนย์เอกสารการสัตว์ ได้รับการสนับสนุนจากผู้บริหารคณะทุกสมัย จึงพัฒนาและขยายพื้นที่กว้างขวางขึ้นตามลำดับเพื่อให้เหมาะสมกับทรัพยากรต่างๆ ของห้องสมุดที่เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งจำนวนผู้ใช้บริการเพิ่มขึ้นทุกปี ห้องสมุดและศูนย์เอกสารการสัตว์ เป็นห้องสมุดอ้างอิงเฉพาะทางการสัตว์ ที่ได้เก็บรวบรวมหนังสือวารสารและเอกสารสิ่งพิมพ์ตลอดจนฐานข้อมูล ทั้งของไทย และต่างประเทศด้านการสัตว์ไว้มากที่สุดในประเทศไทย โดยเฉพาะ Collection พิเศษที่ห้องสมุดพยายามเก็บรวบรวม เช่นเอกสารรายงานการประชุมวิชาการด้านการสัตว์ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ งานวิจัยด้านปศุสัตว์ในประเทศไทย เป็นต้น
พัฒนาการของห้องสมุดและศูนย์เอกสารการสัตว์
- พ.ศ. 2477 มีพระราชบัญญัติจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พุทธศักราช 2477 จัดตั้งแผนกอิสระชื่อแผนกสัตวแพทยศาสตร์
- พ.ศ. 2478 จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเริ่มมีนิสิตเตรียมสัตวแพทยศาสตร์เป็นครั้งแรก
- พ.ศ. 2481 ห้องสมุดสัตวแพทยศาสตร์ มีพัฒนาการขึ้นมาพร้อมๆกับการต่อตั้งแผนกอิสระสัตวแพทยศาสตร์ ขึ้นในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยวางโครงการสร้างอาคารสถานศึกษา อย่างทันสมัยของแผนกสัตวแพทย์ขึ้นที่ปลาย ถนนพญาไท ในที่ดินทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ (ปัจจุบันอาคารดังกล่าวได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของโรงพยาบาลราชวิถี) โดยในระยะแรกมีลักษณะเป็นเพียงห้องอ่านหนังสือสำหรับอาจารย์ ค่อยๆ ขยับขยายมาเป็นห้องสมุดเมื่อศาสตราจารย์ พ.ท.หลวง ชัยอัศวรักษ์ M.R.C.V.S., สพ.ด. มารับตำแหน่งหัวหน้าแผนกวิชาอิสระแพทย์ ในปี พ.ศ. 2481
- พ.ศ. 2482 ทางแผนกวิชาสัตวแพทย์ ได้ว่าจ้าง Dr.R.P. Jones M.R.C.S. และ Dr.Winther M.R.C.V.S., M.A. ซึ่งเป็นสัตวแพทย์ชาวอังกฤษทั้ง 2 ท่าน มาเป็นอาจารย์ประจำ ซึ่งอาจารย์ทั้งสองมีส่วนอย่างมากในการสนับสนุนการจัดตั้งห้องสมุด ในระยะแรกรวมทั้งการบริจาคหนังสือส่วนตัว เกี่ยวกับสัตวแพทย์หลายเล่มให้แก่ห้องสมุด
- พ.ศ. 2495 ห้องสมุดย้ายมาอยู่ตึกเก่าของคณะสัตวแพทยศาสตร์ ถนนสนามม้า หรือ อังรีดูนังต์ปัจจุบัน
- พ.ศ. 2499 ห้องสมุดคณะสัตวแพทยศาสตร์ ย้ายมาอยู่ที่อาคาร 2 อาคารเก่า (อาคาร 2 ชั้นรูปตัวยู) ของคณะ ที่ถนนสนามม้าหรืออังรีดูนังต์ในปัจจุบัน ห้องสมุดคณะสัตวแพทย์ได้รับการเอาใจใส่ดูแลจากคณบดีเป็นอย่างดีทุกสมัย
- พ.ศ. 2500 ศาสตราจารย์ เตียง ตันสงวนให้ลูกจ้างประจำมาทำงานประจำในห้องสมุดโดยตัวท่านเองทำหน้าที่บรรณารักษ์ เมื่อศาสตราจารย์ ดร.อายุ พิชัยชาญณรงค์ เป็นคณบดีก็ได้รับมอบหมายให้ รองศาสตราจารย์ ระบิล รัตนพานี เลขานุการคณะเป็นผู้รับผิดชอบ
- พ.ศ. 2514 เมื่อสร้างอาคารใหม่ (อาคาร 5 มักเรียกว่าอาคารหัวโต) ของคณะสัตวแพทยศาสตร์สร้างเสร็จห้องสมุดจึงย้ายอยู่ในส่วนหนึ่งบนชั้น 2 ของสำนักคณบดีด้วย
- พ.ศ. 2517 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประจักษ์ พุ่มวิเศษ (ตำแหน่งในขณะนั้น) ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นหัวหน้าห้องสมุดคณะสัตวแพทยศาสตร์ เนื่องจากผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจักษ์ พุ่มวิเศษ เป็นผู้ที่สนใจกิจกรรมห้องสมุดเป็นอย่างมาก ตั้งแต่เมื่อศึกษาอยู่ในต่างประเทศ โดยได้ศึกษาการบริหารงานห้องสมุดของมหาวิทยาลัยและของศูนย์การแพทย์ต่างๆ รวมทั้งห้องสมุดสัตวแพทย์ในประเทศต่างๆ ทั้งในสหราชอาณาจัก ยุโรป แคนาดา และสหรัฐอเมริกา นอกจากนี้ยังได้ศึกษาการปฏิบัติงาน Commonwealth Bureau of Animal Health ซึ่งเป็นสถาบันหนึ่งของ Commonwealth Agricultural Bureaux (CAB) อีกด้วย จึงได้ทำการปรับปรุงกิจการห้องสมุดคณะสัตวแพทยศาสตร์มากมาย
- พ.ศ. 2519 บรรจุบรรณารักษ์ อัตราและตำแหน่งแรกเข้าทำงาน
- พ.ศ. 2540 ห้องสมุดและศูนย์เอกสารการสัตว์ ได้ย้ายจากชั้น 2 อาคาร 5 ชั้น (ตึกหัวโต) มาอยู่ที่ชั้น 9 อาคาร 60 ปี สัตวแพทยศาสตร์ ซึ่งเป็นอาคาร 14 ชั้น สร้างใหม่และได้มีการวางแผนการใช้พื้นที่อาคารชั้น 9 ไว้ตั้งแต่ทำแปลนการก่อสร้างอาคารหลังนี้ ให้พื้นที่ 1,200 ตารางเมตร เป็นห้องสมุดและศูนย์เอกสารการสัตว์ หัวหน้าห้องสมุดได้มีโอกาสให้ข้อมูล ระบุพื้นที่ใช้สอยให้กับสถาปนิกผู้ออกแบบ ทำให้ห้องสมุดมีการจัดสรรพื้นที่ ที่ดูแลโปร่งสบายตา เป็นที่ชื่นชอบของผู้ปฏิบัติงานและผู้มาเยี่ยมชม
- พ.ศ. 2542 ได้รับการคัดเลือกจากสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ ให้เป็นห้องสมุดดีเด่น
- พ.ศ. 2544 ได้มีการประกาศจากสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ์ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี เรื่อง มาตรฐานห้องสมุดเฉพาะ พ.ศ. 2544 โดยที่สมาชิกของสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ ควรปรับปรุงแก้ไขมาตรฐานห้องสมุดเฉพาะให้สอดคล้องกับการพัฒนาดังกล่าวตามการเปลี่ยนแปลงของห้องสมุดยุคเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยมีการกำหนดโครงสร้างการบริหารห้องสมุดอย่างชัดเจน หน้าที่ความรับผิดชอบ การบริการและความร่วมมือระหว่างห้องสมุด ทรัพยากรสารสนเทศ บุคลากร เป็นต้น
อ้างอิง
- http://www.vet.chula.ac.th/memorial_hall/history.html[] หอประวัติและหอเกียรติยศ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. พิพิธภัณฑสถานปรสิตวิทยาในสัตว์. 2558. http://www.chula.ac.th/th/archive/museum/3596 2018-03-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน (1 กันยายน 2559 ที่เข้าถึง).
- http://lib.vet.chula.ac.th/history-th.html ประวัติห้องสมุดและศูนย์เอกสารการสัตว์
แหล่งข้อมูลอื่น
- คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- โรงพยาบาลสัตว์เล็ก จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2008-01-06 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- หอประวัติและหอเกียรติยศ คณะสัตวแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2007-11-21 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- ห้องสมุดและศูนย์เอกสารการสัตว์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnitxngkarkarcdhna cdhmwdhmu islingkphayin hruxekbkwadenuxha ihmikhunphaphdikhun khunsamarthprbprungaekikhbthkhwamniid aelanapayxxk phicarnaichpaykhxkhwamxunephuxchichdkhxbkphrxngbthkhwamniyngtxngkarephimaehlngxangxingephuxphisucnkhwamthuktxngkhunsamarthphthnabthkhwamniidodyephimaehlngxangxingtamsmkhwr enuxhathikhadaehlngxangxingxacthuklbxxk haaehlngkhxmul khnastwaephthysastr culalngkrnmhawithyaly khaw hnngsuxphimph hnngsux skxlar JSTOR eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir khnastwaephthysastr culalngkrnmhawithyaly epnkhnastwaephthysastraehngaerkkhxngpraethsithy thuxkaenidkhuninpi ph s 2478 odymiphnthkichlkindankareriynkarsxn karwicyaelabrikarwichakarthangdanstwaephthy pccubnkhnastwaephthysastr epidsxnhlksutrradbpriyyabnthit 1 hlksutr khuxhlksutrstwaephthysastrbnthit sph b hlksutrradbbnthitsuksa canwn 25 hlksutr idaek 2 1 prakasniybtrbnthitthangwithyasastrthangstwaephthykhlinik 7 hlksutr idaek aekhnngwichakhlinkstweliyngepnephuxn aekhnngwichaxayurkrrm aekhnngwichasuti ethnuewchkrrm aekhnngwichaphyathichiwwithyachnsutr aekhnngwichaslysastr aekhnngwichastwthdlxng aekhnngwichaslykrrm 2 2 priyyamhabnthit 10 sakhawicha idaek sakhawichawithyakarsubphnthustw sakhasrirwithyakarstw sakhawichastwaephthysatharnsukh sakhawichaphyathichiwwithyathangstwaephthy sakhawichaxayursastrthangstwaephthy sakhawichachiwsastrthangstwaephthy sakhastwsastrprayukt sakhaslysastrthangstwaephthy sakhawichaephschwithyathangstwaephthy sakhawichawithyasastrthangstwaephthyaelaethkhonolyi hlksutrnanachati idaek 2 3 priyyadusdibnthit 6 sakhawicha idaek sakhawichawithyakarsubphnthustw sakhawichasrirwithyakarstw sakhawichastwaephthysatharnsukh sakhawichaphyathichiwwithyathangstwaephthy sakhawichaxayursastrstwaephthy sakhawichachiwsastrthangstwaephthy sakhawichastwsastrprayukt sakhawichawithyasastrthangstwaephthyaelaethkhonolyi hlksutrnanachati khnastwaephthysastr idphlitbukhlakrthimikhwamru khwamsamarth aelakhunthrrm ephuxrbichsngkhmxyangmikhunphaph tlxdcnphlitphlnganwicythiyngpraoychntxsngkhmaelapraethskhnastwaephthysastr culalngkrnmhawithyalyFaculty of Veterinary Science Chulalongkorn University chuxedimaephnkxisrastwaephthysastrsthapna22 emsayn ph s 2478 89 pikxn 2478 04 22 khnbdis sph y dr snnipha surthttthixyu39 thnnxngridunngt aekhwngpthumwn ekhtpthumwn krungethphmhankhr 10330warsarewchchsarstwaephthy The Thai J of Veterinary Medicine si sifahmnewbisthttp www vet chula ac th vet2018 prawtiaephnkxisrastwaephthysastrkhxngculalngkrnmhawithyalyidthukoxnyayipsngkdmhawithyalyaephthysastr pccubnkhuxmhawithyalymhidl inpi ph s 2486 kxncathukoxnyaysngkdxikkhrnginpi ph s 2497 ekhasumhawithyalyekstrsastr sungidprbprunghlksutrstwaephthysastr cak 5 piepn 6 pi odysuksaetriymstwaephthythimhawithyalyekstrsastr caknnsuksaradbprikhlinikaelakhlinikthikhnastwaephthysastr inphunthiedimkhxngculalngkrnmhawithyaly txmainpi ph s 2507 culalngkrnmhawithyaly idthaeruxngthungmhawithyalyekstrsastr ephuxkhxoxnkhnastwaephthysastrsungyngkhngtngxyuinbriewnphunthikhxngculalngkrnmhawithyalyklbkhunechnedim aetthangsphamhawithyalyekstrsastrimehndwy cungetriymsrangxakharstwaephthysastr mhawithyalyekstrsastr ephuxyayxxkcakphunthikhxngculalngkrnmhawithyaly xyangirktam khnastwaephthysastridthaeruxngimkhxyayxxkcakthitngedim aelakhxoxnklbipsngkdculalngkrnmhawithyalyinpi ph s 2510 swnmhawithyalyekstrsastridepidhlksutrstwaephthysastrkhunmainphunthithiidcdetriymiwaelw aelaaeykkarbriharkbswnthioxnkhunihculalngkrnmhawithyaly xakharkhnastwaephthysastr culalngkrnmhawithyalyph s 2478 mikarcdtngaephnkxisrastwaephthysastrinculalngkrnmhawithyaly odymihlksutrstwaephthysastrbnthit 4 pi ph s 2482 culalngkrnmhawithyalyidprbprunghlksutrkhnpriyyastwaephthysastrbnthit cak 4 piepn 5 pi ph s 2486 aephnkxisrastwaephthysastr culalngkrnmhawithyaly thukoxnyayipsngkdmhawithyalyaephthysastr mhawithyalymhidlinpccubn aelacdtngkhunepnkhnastwaephthysastr mhawithyalyaephthysastr ph s 2497 khnastwaephthysastr mhawithyalyaephthysastr oxnyaymaxyuinsngkdkhxngmhawithyalyekstrsastr sngkdkrathrwngekstraelashkrn ph s 2500 khnastwaephthysastridprbprunghlksutrstwaephthysastrbnthitcakedim 5 piepn 6 pi ph s 2502 khnastwaephthysastr mhawithyalyekstrsastr idoxnipxyuinsngkdsanknaykrthmntri ph s 2510 khnastwaephthysastr oxnyaymaxyuinsngkdkhxngculalngkrnmhawithyaly sanknaykrthmntri ph s 2515 khnastwaephthysastraehngculalngkrnmhawithyaly kidoxncaksanknaykrthmntriipxyuinsngkdthbwngmhawithyalyhlksutrradbpriyyatri khnastwaephthysastr epidsxnhlksutrinradbpriyyabnthit 1 hlksutr idaek stwaephthysastrbnthit hlksutr 6 piradbbnthitsuksa khnastwaephthysastr epidsxnhlksutrinradbbnthitsuksa insakhawicha dngni hlksutrradbbnthitsuksa canwn 25 hlksutr idaek hlksutrprakasniybtrbnthitthangwithyasastrthangstwaephthykhlinik 7 hlksutr idaek aekhnngwichakhlinkstweliyngepnephuxn aekhnngwichaxayurkrrm aekhnngwichasuti ethnuewchkrrm aekhnngwichaphyathichiwwithyachnsutr aekhnngwichaslysastr aekhnngwichastwthdlxng aekhnngwichaslykrrm hlksutrpriyyamhabnthit 10 sakhawicha idaek sakhawichawithyakarsubphnthustw sakhasrirwithyakarstw sakhawichastwaephthysatharnsukh sakhawichaphyathichiwwithyathangstwaephthy sakhawichaxayursastrthangstwaephthy sakhawichachiwsastrthangstwaephthy sakhastwsastrprayukt sakhaslysastrthangstwaephthy sakhawichaephschwithyathangstwaephthy sakhawichawithyasastrthangstwaephthyaelaethkhonolyi hlksutrnanachati idaek hlksutrpriyyadusdibnthit 6 sakhawicha idaek sakhawichawithyakarsubphnthustw sakhawichasrirwithyakarstw sakhawichastwaephthysatharnsukh sakhawichaphyathichiwwithyathangstwaephthy sakhawichaxayursastrstwaephthy sakhawichachiwsastrthangstwaephthy sakhawichastwsastrprayukt sakhawichawithyasastrthangstwaephthyaelaethkhonolyi hlksutrnanachati phakhwichaphakhwichakaywiphakhsastr Veterinary Anatomy phakhwichaculchiwwithya Veterinary Microbiology phakhwichaephschwithya Veterinary Pharmacology phakhwichaphyathiwithya Veterinary Pathology phakhwichasrirwithya Veterinary Physiology phakhwichaxayursastr Veterinary Medicine phakhwichastwbal Animal Husbandry phakhwichastwaephthysatharnsukh Veterinary Public Health phakhwichasutisastr ethnuewchwithyaaelawithyakarsubphnthustw Veterinary Obstetrics Gynecology and Animal Reproduction phakhwichaslysastr Veterinary Surgery orngphyabalstworngphyabalstwelk khnastwaephthysastr cdihmibrikarrksastwodymi orngphyabalstwelk sungtngxyu n khnastwaephthysastr culalngkrnmhawithyaly thnnxngridunngt krungethphmhankhr brikarrksa sunkh aemw stwtangthin stwpa stwchnidphiess odycdihmikhlinikphiess idaek khlinikorkhta khlinikorkhphiwhnng khlinikorkhit khlinikorkhhwic khlinikorkhrabbhxromnaelaemtabxlism khlinikorkhmaerng khlinikma khlinikstwna khlinikxltrasawnd khlinikslykrrmenuxeyux khlinikslykrrmkradukaelakhx khlinikthntkrrmaelasukhphaphchxngpak khliniksutikrrm khlinikchukechin aelamihnwychnsutrorkhstw ihbrikartrwcwinicchythanghxngptibtikar orngphyabalpsustw sungtngxyu n sunyfuknisit irfukcaruesthiyr n cnghwdnkhrpthm khangkrmkarstwthharbk thnnthharbk tablbxphlb xaephxemuxngnkhrpthm brikarrksaokh krabux aepha aeka sukr stwpik stwna stwpa thngniorngphyabalidcdtng khlinikstwelk ephuxbrikarrksasunkh aemwaelastweliyngepnephuxnthukchnid sungthngsxngaehngichepnsthanthifuknganephuxesrimsrangthksainkartrwcrksastwihkbnisitstwaephthyaelaihbrikartrwcwinicchy babdrksaorkhstw aekstweliyngkhxngprachachnodythwipphiphithphnthphiphithphnthsthanprsitwithyainstw tukekaruptwyu khnastwaephthysastr ekbrwbrwmtwxyangprsitphayinaelaphaynxkkhxngstwchnidtang maepnepnewlayawnanthaihekbtwxyangidhlakhlayaelahlaypraephth echn hnxnphyathi aemlng ir ehb aelaoprotsw xnmipraoychntxkarsuksadanstwaephthyhxngsmudaelasunyexksarkarstwkhnastwaephthysastriderimkxtnginculalngkrnmhawithyaly idkxtngkhunepnaehngaerkinpraethsithyemuxpi ph s 2478 phthnakarkhxnghxngsmudaelasunyexksarkarstwcungkhxy erimkhuntamkhwamcaepnephuxichprakxbkareriynkarsxn phrxmkarcdtngkhna hxngsmudaelasunyexksarkarstw idrbkarsnbsnuncakphubriharkhnathuksmy cungphthnaaelakhyayphunthikwangkhwangkhuntamladbephuxihehmaasmkbthrphyakrtang khxnghxngsmudthiephimkhun odyechphaaxyangyingcanwnphuichbrikarephimkhunthukpi hxngsmudaelasunyexksarkarstw epnhxngsmudxangxingechphaathangkarstw thiidekbrwbrwmhnngsuxwarsaraelaexksarsingphimphtlxdcnthankhxmul thngkhxngithy aelatangpraethsdankarstwiwmakthisudinpraethsithy odyechphaa Collection phiessthihxngsmudphyayamekbrwbrwm echnexksarrayngankarprachumwichakardankarstwthngphasaithyaelaphasaxngkvs nganwicydanpsustwinpraethsithy epntn phthnakarkhxnghxngsmudaelasunyexksarkarstw ph s 2477 miphrarachbyyticulalngkrnmhawithyaly phuththskrach 2477 cdtngaephnkxisrachuxaephnkstwaephthysastr ph s 2478 culalngkrnmhawithyalyerimminisitetriymstwaephthysastrepnkhrngaerk ph s 2481 hxngsmudstwaephthysastr miphthnakarkhunmaphrxmkbkartxtngaephnkxisrastwaephthysastr khuninculalngkrnmhawithyaly odyculalngkrnmhawithyalywangokhrngkarsrangxakharsthansuksa xyangthnsmykhxngaephnkstwaephthykhunthiplay thnnphyaith inthidinthrphysinswnphramhakstriy pccubnxakhardngklawidklayepnswnhnungkhxngorngphyabalrachwithi odyinrayaaerkmilksnaepnephiynghxngxanhnngsuxsahrbxacary khxy khybkhyaymaepnhxngsmudemuxsastracary ph th hlwng chyxswrks M R C V S sph d marbtaaehnnghwhnaaephnkwichaxisraaephthy inpi ph s 2481 ph s 2482 thangaephnkwichastwaephthy idwacang Dr R P Jones M R C S aela Dr Winther M R C V S M A sungepnstwaephthychawxngkvsthng 2 than maepnxacarypraca sungxacarythngsxngmiswnxyangmakinkarsnbsnunkarcdtnghxngsmud inrayaaerkrwmthngkarbricakhhnngsuxswntw ekiywkbstwaephthyhlayelmihaekhxngsmud ph s 2495 hxngsmudyaymaxyutukekakhxngkhnastwaephthysastr thnnsnamma hrux xngridunngtpccubn ph s 2499 hxngsmudkhnastwaephthysastr yaymaxyuthixakhar 2 xakhareka xakhar 2 chnruptwyu khxngkhna thithnnsnammahruxxngridunngtinpccubn hxngsmudkhnastwaephthyidrbkarexaicisduaelcakkhnbdiepnxyangdithuksmy ph s 2500 sastracary etiyng tnsngwnihlukcangpracamathanganpracainhxngsmudodytwthanexngthahnathibrrnarks emuxsastracary dr xayu phichychaynrngkh epnkhnbdikidrbmxbhmayih rxngsastracary rabil rtnphani elkhanukarkhnaepnphurbphidchxb ph s 2514 emuxsrangxakharihm xakhar 5 mkeriykwaxakharhwot khxngkhnastwaephthysastrsrangesrchxngsmudcungyayxyuinswnhnungbnchn 2 khxngsankkhnbdidwy ph s 2517 phuchwysastracary dr pracks phumwiess taaehnnginkhnann idrbkaraetngtngihepnhwhnahxngsmudkhnastwaephthysastr enuxngcakphuchwysastracary pracks phumwiess epnphuthisnickickrrmhxngsmudepnxyangmak tngaetemuxsuksaxyuintangpraeths odyidsuksakarbriharnganhxngsmudkhxngmhawithyalyaelakhxngsunykaraephthytang rwmthnghxngsmudstwaephthyinpraethstang thnginshrachxanack yuorp aekhnada aelashrthxemrika nxkcakniyngidsuksakarptibtingan Commonwealth Bureau of Animal Health sungepnsthabnhnungkhxng Commonwealth Agricultural Bureaux CAB xikdwy cungidthakarprbprungkickarhxngsmudkhnastwaephthysastrmakmay ph s 2519 brrcubrrnarks xtraaelataaehnngaerkekhathangan ph s 2540 hxngsmudaelasunyexksarkarstw idyaycakchn 2 xakhar 5 chn tukhwot maxyuthichn 9 xakhar 60 pi stwaephthysastr sungepnxakhar 14 chn srangihmaelaidmikarwangaephnkarichphunthixakharchn 9 iwtngaetthaaeplnkarkxsrangxakharhlngni ihphunthi 1 200 tarangemtr epnhxngsmudaelasunyexksarkarstw hwhnahxngsmudidmioxkasihkhxmul rabuphunthiichsxyihkbsthapnikphuxxkaebb thaihhxngsmudmikarcdsrrphunthi thiduaeloprngsbayta epnthichunchxbkhxngphuptibtinganaelaphumaeyiymchm ph s 2542 idrbkarkhdeluxkcaksmakhmhxngsmudaehngpraethsithy ihepnhxngsmuddiedn ph s 2544 idmikarprakascaksmakhmhxngsmudaehngpraethsithy inphrarachupthmphkhxngsmedcphraethphrtnrachsuda syambrmrachkumari eruxng matrthanhxngsmudechphaa ph s 2544 odythismachikkhxngsmakhmhxngsmudaehngpraethsithy khwrprbprungaekikhmatrthanhxngsmudechphaaihsxdkhlxngkbkarphthnadngklawtamkarepliynaeplngkhxnghxngsmudyukhethkhonolyisarsneths odymikarkahndokhrngsrangkarbriharhxngsmudxyangchdecn hnathikhwamrbphidchxb karbrikaraelakhwamrwmmuxrahwanghxngsmud thrphyakrsarsneths bukhlakr epntnxangxinghttp www vet chula ac th memorial hall history html lingkesiy hxprawtiaelahxekiyrtiys khnastwaephthysastr culalngkrnmhawithyaly culalngkrnmhawithyaly phiphithphnthsthanprsitwithyainstw 2558 http www chula ac th th archive museum 3596 2018 03 12 thi ewyaebkaemchchin 1 knyayn 2559 thiekhathung http lib vet chula ac th history th html prawtihxngsmudaelasunyexksarkarstwaehlngkhxmulxunkhnastwaephthysastr culalngkrnmhawithyaly orngphyabalstwelk culalngkrnmhawithyaly 2008 01 06 thi ewyaebkaemchchin hxprawtiaelahxekiyrtiys khnastwaephthysastr culalngkrnmhawithyaly 2007 11 21 thi ewyaebkaemchchin hxngsmudaelasunyexksarkarstw culalngkrnmhawithyaly