การแปลงโคไซน์ไม่ต่อเนื่อง (อังกฤษ: discrete cosine transform - DCT) เป็นการแปลง ที่เป็นจำนวนจริง และมีฟังก์ชันโคไซน์ เป็นฐาน มีทั้งหมด 8 ชนิด คือ DCT-1 ถึง DCT-4 ความยาวคู่ (หรือ DCT-IE ถึง DCT-IVE) และ DCT-5 ถึง DCT-8 ความยาวคี่ (หรือ DCT-IO ถึง DCT-IVO)
การแปลงโคไซน์ ที่รู้จักกันมากที่สุด คือ DCT ชนิดที่สองความยาวคู่ ซึ่งมักจะเรียกสั้นๆว่า "การแปลง DCT" และ เรียกการแปลงกลับ ซึ่งเท่ากับการแปลง DCT-III ว่า "การแปลงกลับ DCT" หรือ "IDCT (Inverse DCT)"
การประยุกต์ใช้งาน
DCT และ การแปลงที่สัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกันคือ (DST) นั้นมีการประยุกต์ใช้งานที่รู้จักกันดีใน การประมวลผลสัญญาณ และ การประมวลผลภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการเข้ารหัสแบบแปลง(transform coding) เพื่อ ทั้งตามมาตรฐานการบีบอัดภาพนิ่ง JPEG และ มาตรฐานการบีบอัดภาพเคลื่อนไหว MPEG ทั้งนี้เนื่องมาจากคุณสมบัติของ DCT ที่เรียกว่า energy compaction ที่ดี คือ สามารถอัดพลังงานส่วนใหญ่ของ โดยเฉพาะภาพ ไปไว้ในสัมประสิทธิ์ย่านความถี่ต่ำในโดเมนของการแปลง และ การคำนวณการแปลงในทางปฏิบัติสามารถกระทำได้อย่างมีประสิทธิภาพ
นอกจากการอธิบายด้วยเหตุผลข้างต้นแล้ว สาเหตุที่ การใช้ DCT เป็นที่นิยมในการบีบอัดข้อมูลสารสนเทศกว่าการใช้ DFT นั้น เป็นเพราะว่า เมื่อตัดสัมประสิทธิ์ของการแปลงที่มีค่าใกล้ศูนย์ออกไปเป็นจำนวนเท่าๆกัน ผลของการทำผกผันหรือ IDCT จะให้ข้อมูลสารสนเทศมีความใกล้เคียงกับข้อมูลต้นแบบ (orignal sequence) มากกว่า การตัดสัมประสิทธิ์จากการแปลง DFT
สำหรับ DCT-4 นั้นมักจะนิยมนำมาใช้เพื่อคำนวณ การแปลงที่มีความสัมพันธ์กันกับ DCT-4 เช่น Malvar Wavelet และ MDCT ซึ่งเป็นที่นิยมใช้ในการบีบอัดข้อมูลเสียง และด้วยเหตุที่ DCT-4 นั้นสามารถเป็น การแปลงผกผันได้โดยตรง (ไม่จำเป็นต้องคูณด้วยค่าชดเชยในบางรูปแบบของ DCT-1) จึงทำให้ลดความซับซอนในการออกแบบกระบวนการในทางปฏิบัติ
คำจำกัดความมาตรฐาน
การแปลงในรูปเมทริกซ์ :
หมายเหตุ : ความยาวคี่(คู่) ของการแปลงในที่นี้หมายถึงส่วนความยาวของข้อมูล รวมกับส่วนขยายเสมือน ไม่ใช่ความยาวของตัวข้อมูลเอง ซึ่งในที่นี้ความยาวของข้อมูลสามารถเป็นได้ทั้งคู่ และคี่ ขึ้นกับ N
การแปลงความยาวคู่
การแปลงโคไซน์มาตรฐาน ความยาวคู่ ในรูปเมทริกซ์ ให้
DCT-1
โดยที่
DCT-2
DCT-3
โดยที่ สำหรับกรณี DCT-2, DCT-3
DCT-4
การแปลงความยาวคี่
การแปลงโคไซน์มาตรฐาน ความยาวคู่ ในรูปเมทริกซ์ ให้
DCT-5
DCT-6
DCT-7
โดยที่ และ
สำหรับกรณี DCT-5, DCT-6 และ DCT-7
DCT-8
การแปลงกลับ
การแปลงกลับ DCT หรือ IDCT นั้น สามารถหาได้จาก ทรานสโพส ของการแปลง เนื่องมาจากคุณสมบัติ unitary ของเมทริกซ์การแปลง DCT ซึ่งการแปลงทั้งความยาวคู่ และ คี่ นั้นมีคุณสมบัติดังกล่าว เมทริกซ์การแปลงด้านล่างจึงใช้หมายถึงทั้งความยาวคู่ และ คี่
รายละเอียดอื่นๆ
การแปลงโคไซน์ ไม่ต่อเนื่องนั้นถูกค้นพบครั้งแรกในปี ค.ศ. 1974 [1] โดย DCT-2 ได้ถูกพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ในการประมาณ ของเมทริกซ์โทปลิทซ์ (Toeplitz) โดยฐาน DCT นี้ จะมีค่าเข้าใกล้(asymptotically) ไอเก้นเวกเตอร์จริง(หรือ เวกเตอร์ฐาน Karhunen-Loève) ของเมทริกซ์โควาเรียนซ์ (covariance matrix) ของ first-order stationary Markov process เมื่อค่า(correlation coefficient) มีค่าเข้าใกล้ 1 ดังนั้น ฐาน DCT นี้จึงเหมาะที่จะใช้แทนไอเก้นเวกเตอร์ซึ่งเป็นฐานที่ดีที่สุดในการบีบอัดสัญญาณประเภทนี้
ความสัมพันธ์ของ DCT ทั้ง 8 ชนิด
เช่นเดียวกับ(DFT) DCT นี้ก็เป็นการวิเคราะห์ เพียงแต่ฐานที่ใช้ในการวิเคราะห์นั้นเป็นจำนวนจริง [2]ได้แสดงถึงชุดที่สมบูรณ์ทั้ง 8 ของ DCT และ DST โดยการวิเคราห์ฮาร์โมนิกที่เป็นจำนวนเต็ม(integer harmonics) และ ครึ่งจำนวนเต็ม(half integer harmonics)ของสัญญาณ
ในลักษณะเดียวกับที่ (circulant matrix) ซึ่งมี เมทริกซ์ DFT เป็นไอเก้น เมทริกซ์ที่มีเมตริกซ์ DCT เป็นไอเก้นนั้นจะอยู่ในรูปของ เมทริกซ์โทปลิทซ์(Toeplitz matrix)+เมทริกซ์เฮงเคิล(Hankel matrix)(หรือ ใกล้เคียง)และคูณด้วยค่าสเกล ซึ่งแทนการกระทำ (symmetric convolution) จาก การ และ เงื่อนไขความสมมาตรที่ขอบ (ในลักษณะเดียวกับ เซอร์คิวแลนท์เมทริกซ์ แทนการกระทำ(circular convolution)) ค่าสเกลนั้นใช้ในการจัดเมทริกซ์ให้อยู่ในรูปสมมาตร เพื่อจะได้ไอเก้นเวกเตอร์ ที่ออทอโกนัล :ดูเพิ่ม [4]
ภาพด้านล่างเป็นการแสดงสัญญาณเสมือน(ซึ่งเป็นการต่อสัญญาณดั้งเดิมออกไป เป็นสัญญาณคาบที่มีความยาวไม่จำกัด) ของสัญญาณดั้งเดิมซึ่งมีความยาวจำกัด N(จาก 0 ถึง N-1) และเป็นไปตามเงื่อนไขขอบ ที่ จุด (midpoint) หรือ กึ่งกลางระหว่างจุด (meshpoint) โดยเงื่อนไขขอบด้านซ้าย หรือ จุดต้น นั้นจะเป็นเงื่อนไขความสมมาตร และ เงื่อนไขขอบด้านขวา หรือ จุดปลาย นั้นจะเงื่อนไขเพื่อสร้างสัญญาณคาบ(เป็นได้ทั้ง สมมาตร(symmetry) และ สมมาตรกลับ(antisymmetry)) ซึ่งจะมีทั้งหมด 8 รูปแบบดังแสดงในรูป
ชนิด | ความยาวคาบคู่ | ชนิด | ความยาวคาบคี่ |
---|---|---|---|
DCT-I | DCT-V | ||
DCT-II | DCT-VI | ||
DCT-III | DCT-VII | ||
DCT-IV | DCT-VIII |
อ้างอิง
- N.Ahmed, T. Natarajan, K. R. Rao, "Discrete cosine transform," IEEE Trans. Comput., C-23(1974), pp. 90-93.
- Z. Wang and B. Hunt, "The discrete W-transform," Appl. Math. Comput., 16 (1985), pp. 19-48.
- S. A. Martucci, "Symmetric convolution and the discrete sine and cosine transforms," IEEE Trans. Sig. Processing, SP-42, 1038-1051 (1994).
- G. Strang, "The Discrete Cosine Transform," Siam Review, vol. 41, no.1, pp. 135-147.
แหล่งข้อมูลเถื่อน
- discrete cosine transform ที่ PlanetMath
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karaeplngokhisnimtxenuxng xngkvs discrete cosine transform DCT epnkaraeplng thiepncanwncring aelamifngkchnokhisn epnthan mithnghmd 8 chnid khux DCT 1 thung DCT 4 khwamyawkhu hrux DCT IE thung DCT IVE aela DCT 5 thung DCT 8 khwamyawkhi hrux DCT IO thung DCT IVO karaeplngokhisn thiruckknmakthisud khux DCT chnidthisxngkhwamyawkhu sungmkcaeriyksnwa karaeplng DCT aela eriykkaraeplngklb sungethakbkaraeplng DCT III wa karaeplngklb DCT hrux IDCT Inverse DCT karprayuktichnganDCT aela karaeplngthismphnththiiklchidknkhux DST nnmikarprayuktichnganthiruckkndiin karpramwlphlsyyan aela karpramwlphlphaph odyechphaaxyangyinginkarekharhsaebbaeplng transform coding ephux thngtammatrthankarbibxdphaphning JPEG aela matrthankarbibxdphaphekhluxnihw MPEG thngnienuxngmacakkhunsmbtikhxng DCT thieriykwa energy compaction thidi khux samarthxdphlngnganswnihykhxng odyechphaaphaph ipiwinsmprasiththiyankhwamthitainodemnkhxngkaraeplng aela karkhanwnkaraeplnginthangptibtisamarthkrathaidxyangmiprasiththiphaph nxkcakkarxthibaydwyehtuphlkhangtnaelw saehtuthi karich DCT epnthiniyminkarbibxdkhxmulsarsnethskwakarich DFT nn epnephraawa emuxtdsmprasiththikhxngkaraeplngthimikhaiklsunyxxkipepncanwnethakn phlkhxngkarthaphkphnhrux IDCT caihkhxmulsarsnethsmikhwamiklekhiyngkbkhxmultnaebb orignal sequence makkwa kartdsmprasiththicakkaraeplng DFT sahrb DCT 4 nnmkcaniymnamaichephuxkhanwn karaeplngthimikhwamsmphnthknkb DCT 4 echn Malvar Wavelet aela MDCT sungepnthiniymichinkarbibxdkhxmulesiyng aeladwyehtuthi DCT 4 nnsamarthepn karaeplngphkphnidodytrng imcaepntxngkhundwykhachdechyinbangrupaebbkhxng DCT 1 cungthaihldkhwamsbsxninkarxxkaebbkrabwnkarinthangptibtikhacakdkhwammatrthankaraeplnginrupemthriks XDCT C x displaystyle mathbf X DCT C mathbf x hmayehtu khwamyawkhi khu khxngkaraeplnginthinihmaythungswnkhwamyawkhxngkhxmul rwmkbswnkhyayesmuxn imichkhwamyawkhxngtwkhxmulexng sunginthinikhwamyawkhxngkhxmulsamarthepnidthngkhu aelakhi khunkb N karaeplngkhwamyawkhu karaeplngokhisnmatrthan khwamyawkhu inrupemthriks ih m n 0 N 1 displaystyle m n 0 ldots N 1 DCT 1 CNIE mn 2N 1 kmkncos mnpN 1 displaystyle left C N IE right mn sqrt frac 2 N 1 left k m k n cos left mn frac pi N 1 right right odythi ki 1 2 if i 0 or N 11 otherwise displaystyle k i left begin matrix 1 sqrt 2 amp mbox if i 0 mbox or N 1 1 amp mbox otherwise end matrix right DCT 2 CNIIE mn 2N kmcos m n 12 pN displaystyle left C N IIE right mn sqrt frac 2 N left k m cos left m n frac 1 2 frac pi N right right DCT 3 CNIIIE mn 2N kncos m 12 npN displaystyle left C N IIIE right mn sqrt frac 2 N left k n cos left m frac 1 2 n frac pi N right right odythi ki 1 2 if i 01 otherwise displaystyle k i left begin matrix 1 sqrt 2 amp mbox if i 0 1 amp mbox otherwise end matrix right sahrbkrni DCT 2 DCT 3 DCT 4 CNIVE mn 2N cos m 12 n 12 pN displaystyle left C N IVE right mn sqrt frac 2 N left cos left m frac 1 2 n frac 1 2 frac pi N right right karaeplngkhwamyawkhi karaeplngokhisnmatrthan khwamyawkhu inrupemthriks ih m n 0 N 1 displaystyle m n 0 ldots N 1 DCT 5 CNI0 mn 2N 1 2 kmkncos mnpN 1 2 displaystyle left C N I0 right mn sqrt frac 2 N 1 2 left k m k n cos left mn frac pi N 1 2 right right DCT 6 CNII0 mn 2N 1 2 kmlncos m n 12 pN 1 2 displaystyle left C N II0 right mn sqrt frac 2 N 1 2 left k m l n cos left m n frac 1 2 frac pi N 1 2 right right DCT 7 CNIII0 mn 2N 1 2 lmkncos m 12 npN 1 2 displaystyle left C N III0 right mn sqrt frac 2 N 1 2 left l m k n cos left m frac 1 2 n frac pi N 1 2 right right odythi ki 1 2 if i 01 otherwise displaystyle k i left begin matrix 1 sqrt 2 amp mbox if i 0 1 amp mbox otherwise end matrix right aela li 1 2 if i N 11 otherwise displaystyle l i left begin matrix 1 sqrt 2 amp mbox if i N 1 1 amp mbox otherwise end matrix right sahrbkrni DCT 5 DCT 6 aela DCT 7 DCT 8 CNIV0 mn 2N 1 2 cos m 12 n 12 pN 1 2 displaystyle left C N IV0 right mn sqrt frac 2 N 1 2 left cos left m frac 1 2 n frac 1 2 frac pi N 1 2 right right karaeplngklb karaeplngklb DCT hrux IDCT nn samarthhaidcak thransophs khxngkaraeplng enuxngmacakkhunsmbti unitary khxngemthrikskaraeplng DCT sungkaraeplngthngkhwamyawkhu aela khi nnmikhunsmbtidngklaw emthrikskaraeplngdanlangcungichhmaythungthngkhwamyawkhu aela khi CNI 1 displaystyle left C N I right 1 CNI T displaystyle left C N I right T CNI displaystyle left C N I right CNII 1 displaystyle left C N II right 1 CNII T displaystyle left C N II right T CNIII displaystyle left C N III right CNIII 1 displaystyle left C N III right 1 CNIII T displaystyle left C N III right T CNII displaystyle left C N II right CNIV 1 displaystyle left C N IV right 1 CNIV T displaystyle left C N IV right T CNIV displaystyle left C N IV right raylaexiydxunkaraeplngokhisn imtxenuxngnnthukkhnphbkhrngaerkinpi kh s 1974 1 ody DCT 2 idthukphthnakhunmaephuxichinkarpraman khxngemthriksothpliths Toeplitz odythan DCT ni camikhaekhaikl asymptotically ixeknewketxrcring hrux ewketxrthan Karhunen Loeve khxngemthriksokhwaeriyns covariance matrix khxng first order stationary Markov process emuxkha correlation coefficient mikhaekhaikl 1 dngnn than DCT nicungehmaathicaichaethnixeknewketxrsungepnthanthidithisudinkarbibxdsyyanpraephthni khwamsmphnthkhxng DCT thng 8 chnid echnediywkb DFT DCT nikepnkarwiekhraah ephiyngaetthanthiichinkarwiekhraahnnepncanwncring 2 idaesdngthungchudthismburnthng 8 khxng DCT aela DST odykarwiekhrahharomnikthiepncanwnetm integer harmonics aela khrungcanwnetm half integer harmonics khxngsyyan inlksnaediywkbthi circulant matrix sungmi emthriks DFT epnixekn emthriksthimiemtriks DCT epnixeknnncaxyuinrupkhxng emthriksothpliths Toeplitz matrix emthriksehngekhil Hankel matrix hrux iklekhiyng aelakhundwykhasekl sungaethnkarkratha symmetric convolution cak kar aela enguxnikhkhwamsmmatrthikhxb inlksnaediywkb esxrkhiwaelnthemthriks aethnkarkratha circular convolution khaseklnnichinkarcdemthriksihxyuinrupsmmatr ephuxcaidixeknewketxr thixxthxoknl duephim 4 phaphdanlangepnkaraesdngsyyanesmuxn sungepnkartxsyyandngedimxxkip epnsyyankhabthimikhwamyawimcakd khxngsyyandngedimsungmikhwamyawcakd N cak 0 thung N 1 aelaepniptamenguxnikhkhxb thi cud midpoint hrux kungklangrahwangcud meshpoint odyenguxnikhkhxbdansay hrux cudtn nncaepnenguxnikhkhwamsmmatr aela enguxnikhkhxbdankhwa hrux cudplay nncaenguxnikhephuxsrangsyyankhab epnidthng smmatr symmetry aela smmatrklb antisymmetry sungcamithnghmd 8 rupaebbdngaesdnginrup syyanesmuxn sungepniptamenguxnikh khxbsay smmatr aela khxbkhwa khab ddaeplngcak phaph2in 3 chnid khwamyawkhabkhu chnid khwamyawkhabkhiDCT I DCT VDCT II DCT VIDCT III DCT VIIDCT IV DCT VIIIxangxingN Ahmed T Natarajan K R Rao Discrete cosine transform IEEE Trans Comput C 23 1974 pp 90 93 Z Wang and B Hunt The discrete W transform Appl Math Comput 16 1985 pp 19 48 S A Martucci Symmetric convolution and the discrete sine and cosine transforms IEEE Trans Sig Processing SP 42 1038 1051 1994 G Strang The Discrete Cosine Transform Siam Review vol 41 no 1 pp 135 147 aehlngkhxmulethuxndiscrete cosine transform thi PlanetMath