การแปลงทางเรขาคณิตคือการเคลื่อนไหวของรูปเร้าคณิตโดยการเลื่อนขนานการสะท้อนและการหมุนของรูปหนึ่งๆพบได้ในสิ่งแวดล้อมรอบตัวเราสามารถจำลองออกมาในรูปของการแปลง รวมทั้งงานศิลปะต่างๆ อ้างอิง
การแปลงทางเรขาคณิต เป็นคำศัพท์ที่ใช้เรียกการดำเนินการใด ๆ ทางเรขาคณิต ทั้งในสองมิติและสามมิติ เช่น การเลื่อนขนาน การหมุน การสะท้อน.
อ้างอิง
การแปลงทางเรขาคณิต เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับการย้ายวัตถุจากตำแหน่งหนึ่งไปยังอีกตำแหน่งหนึ่ง โดยอาจมีการเปลี่ยนแปลงขนาด รูปร่าง หรือตำแหน่ง ให้ต่างไปจากเดิมหรือไม่ก็ได้ ตัวอย่างของการแปลงที่เราเคยพบเช่น รถยนต์ซึ่งเดิมอยู่บนทางลาดย้ายเข้าไปจอดในช่องจอดรถ การหมุนของเข็มยาวของนาฬิกา จากปลายเข็มยาวชี้ที่ตัวเลข 12 ไปชี้ที่ตัวเลข 6 หรือลูกโป่งที่มีอากาศอัดอยู่เมื่อปล่อยอากาศออกทำให้ลูกโป่งเคลื่อนที่ออกไปและตกลงเมื่ออากาศที่อยู่ในลูกโป่งดันออกมาจนไม่มีแรงดัน สิ่งเหล่านี้เกี่ยวข้องกับการแปลงทั้งสิ้น สิ่งสำคัญของการแปลงคือ จุดทุกจุดของวัตถุที่อยู่ที่เดิม (หรือขนาดเดิม) จะต้องมีการส่งไปยังวัตถุที่ตำแหน่งใหม่ (หรือขนาดใหม่) ทุกจุด จุดต่อจุด
ในทางเรขาคณิตก็มีการแปลงที่กล่าวถึงความเกี่ยวข้องกันระหว่างรูปเรขาคณิตก่อนการแปลงและรูปเรขาคณิตหลังการแปลง เราเรียกรูปเรขาคณิตก่อนการแปลงว่า รูปต้นแบบ และเรียกรูปเรขาคณิตหลังการแปลงว่า ภาพที่ได้จากการแปลง
การแปลงทางเรขาคณิตที่เป็นพื้นฐานมีทั้งหมด 4 แบบ คือ การเลื่อนขนาน การสะท้อน การหมุน และการย่อ / ขยาย แต่ในที่นี้จะกล่าวถึงการแปลงทางเรขาคณิต 3 แบบ ได้แก่ การเลื่อนขนาน การสะท้อนและการหมุน การแปลงทางเรขาคณิตทั้งสามแบบนี้จะได้ภาพที่มีรูปร่างเหมือนกันและขนาดเดียวกันกับรูปต้นแบบเสมอ
การเลื่อนขนานบนระนาบเป็นการแปลงทางเรขาคณิตที่มีการเลื่อนจุดทุกจุดไปบนระนาบตามแนวเส้นตรงในทิศทางเดียวกันและเป็นระยะเท่ากันตามที่กำหนด
สมบัติของการเลื่อนขนาน
1. รูปที่ได้จากการเลื่อนขนานกับรูปต้นแบบเท่ากันทุกประการ
2. จุดแต่ละจุดที่สมนัยกันบนรูปที่ได้จากการเลื่อนขนานกับรูปต้นแบบจะมีระยะห่างเท่ากัน
3. ภายใต้การเลื่อนขนาน จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างและขนาดของรูปต้นแบบ
ตัวอย่าง จุดยอดของรูป ΔPQR คือ P(-3, 2) Q( 1, 4) และ R(3, 1) จงสร้างรูป ΔPQR แล้ววาดรูป สามเหลี่ยมที่เกิดจากการเลื่อนขนานไปทางขวา 4 หน่วย และขึ้นบน 3 หน่วย
วิธีคิด หาค่าพิกัดของจุดยอดของรูปสามเหลี่ยมใหม่ ดังนี้
จุดยอดเดิม ไปทางขวา 4 ขึ้นบน 3 จุดยอดใหม่
P(-3, 2) + (4, 3) => P′(1, 5)
Q(1, 4) + (4, 3) => Q′(5, 7)
R(3, 1) + (4, 3) => R′(7, 4)
ค่าพิกัดของจุดยอดใหม่ คือ P′(1, 5) , Q′(5, 7) , R′(7, 4) เขียนกราฟของจุด P′, Q′ และ R′แล้ววาดรูป Δ P′ Q′ R′ ดังนี้
การสะท้อน
การสะท้อนบนระนาบเป็นการแปลงทางเรขาคณิตที่มีเส้นตรง l ที่ตรึงเส้นหนึ่งเป็นเส้นสะท้อน แต่ละจุด P บนระนาบจะมีจุด P' เป็นภาพที่ได้จากการสะท้อนจุด P โดยที่
1. ถ้าจุด P ไม่อยู่บนเส้นตรง l แล้วเส้นตรง l จะแบ่งครึ่งและตั้งฉากกับ PP'
2. ถ้าจุด P อยู่บนเส้นตรง l แล้วจุด P และจุด P' เป็นจุดเดียวกัน
สมบัติของการสะท้อน
1. รูปต้นแบบกับภาพที่ได้จากการสะท้อน สามารถทับกันได้สนิทโดยต้องพลิกรูป หรือกล่าวว่า รูปต้นแบบและภาพที่ได้จากการสะท้อนเท่ากันทุกประการ
2. ส่วนของเส้นตรงที่เชื่อมจุดแต่ละจุดบนรูปต้นแบบ กับจุดที่สมนัยกันบนภาพที่ได้จากการสะท้อนจะขนานกัน
รูปเรขาคณิตที่สามารถหารอยพับและพับรูปทั้งสองข้างของรอยพับให้ทับกันสนิทได้เรียกว่า รูปสมมาตรบนเส้น และเรียกรอยพับนี้ว่า แกนสมมาตร รูปสมมาตรบนเส้นแต่ละรูปอาจมีจำนวนแกนสมมาตรไม่เท่ากัน
เส้นสะท้อน (แกนสมมาตร) จะแบ่งครึ่งและตั้งฉากกับส่วนของเส้นตรงที่เชื่อมระหว่างจุดแต่ละจุดบนรูปต้นแบบกับจุดแต่ละจุดบนรูปสะท้อนที่สมนัยกัน
สรุปได้ว่ารูปที่เกิดจาการสะท้อนก็คือรูปสมมาตรบนเส้น โดยมีเส้นสะท้อนคือแกนสมมาตรนั่นเอง
ถ้าเส้นสะท้อนเป็นแกน Y พิกัดของภาพที่เกิดจากการสะท้อน คือการเปลี่ยนเครื่องหมายของสมาชิกตัวหน้าเป็นเครื่องหมายตรงข้ามทุกจุดของรูปต้นแบบ ส่วนสมาชิกตัวหลังให้คงเดิมไว้
ถ้าเส้นสะท้อนเป็นแกน X พิกัดของภาพที่เกิดจากการสะท้อน คือการเปลี่ยนเครื่องหมายของสมาชิกตัวหลังเป็นเครื่องหมายตรงข้ามทุกจุดของรูปต้นแบบ ส่วนสมาชิกตัวหน้าให้คงเดิมไว้
ถ้าเส้นสะท้อนขนานแกน X หรือแกน Y ให้นับช่องตารางหาระยะระหว่างจุดที่กำหนดให้กับเส้นสะท้อนซึ่งภาพของจุดนั้นจะอยู่ห่างจากเส้นสะท้อนเป็นระยะที่เท่ากันกับระยะที่นับได้เมื่อได้ภาพของจุดนั้นแล้วจึงหาพิกัด
ถ้าเส้นสะท้อนไม่ขนานแกน X และไม่ขนานกับแกน Y แต่เป็นเส้นในแนวทแยง ให้ลากเส้นตรงผ่านจุดที่กำหนดให้และตั้งฉากกับเส้นสะท้อน ภาพของจุดที่กำหนดให้จะอยู่บนเส้นตั้งฉากที่สร้างขึ้นและอยู่ห่างจากเส้นสะท้อนเป็นระยะเท่ากันกับจุดที่กำหนดให้อยู่ห่างจากเส้นสะท้อน เมื่อได้ภาพของจุดนั้นแล้วจึงหาพิกัด
การหมุน
การหมุนบนระนาบเป็นการแปลงทางเรขาคณิตที่มีจุด O เป็นจุดที่ตรึงอยู่จุดหนึ่งเรียกว่า O ว่า จุดหมุน แต่ละจุด P บนระนาบ มีจุด P' เป็นภาพที่ได้จากการหมุนจุด P รอบจุด O ตามทิศทางที่กำหนดด้วยมุมที่มีขนาด K โดยที่
1. ถ้าจุด P ไม่ใช่จุด O แล้ว OP = OP^' และขนาดของ เท่ากับ K
2. ถ้าจุด P เป็นจุดเดียวกันกับจุด O แล้ว P เป็นจุดหมุน
สมบัติของการหมุน
1. สามารถเลื่อนรูปต้นแบบทับภาพที่ได้จากการหมุนได้สนิท โดยไม่ต้องพลิกรูปหรือกล่าวว่า รูปต้นแบบกับภาพที่ได้จากการหมุนเท่ากันทุกประการ
2. ส่วนของเส้นตรงบนรูปต้นแบบและภาพที่ได้จากการหมุนส่วนของเส้นตรงนั้นไม่จำเป็นต้องขนานกันทุกคู่ หรืออาจกล่าวได้ว่า จุดบนรูปต้นแบบและภาพที่ได้จากการหมุนจุดนั้น แต่ละคู่อยู่บนวงกลมเดียวกันและมีจุดหมุนเป็นจุดศูนย์กลาง แต่วงกลมเหล่านี้ไม่จำเป็นต้องมีรัศมียาวเท่ากัน
ลักษณะของการหมุน
การหมุนจะหมุนทวนเข็มหรือตามเข็มนาฬิกาก็ได้ จุดหมุนจะเป็นจุดที่อยู่บนรูปหรือนอกรูปก็ได้ โดยที่จุดแต่ละจุดบนรูปต้นแบบเคลื่อนที่รอบจุดหมุนด้วยขนานของมุมที่กำหนด
ตัวอย่าง กำหนดให้ ∆A'B'C' เป็นภาพที่เกิดจากการหมุนรูป ∆ABC ตามเข็มนาฬิกาเป็นมุม 60 องศา โดยที่ A เป็นจุดหมุน และหมุนทวนเข็มนาฬิกาเป็นมุม 60 องศา โดยมีจุด O เป็นจุดหมุนที่ไม่อยู่บนรูปต้นแบบ
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karaeplngthangerkhakhnitkhuxkarekhluxnihwkhxngruperakhnitodykareluxnkhnankarsathxnaelakarhmunkhxngruphnungphbidinsingaewdlxmrxbtwerasamarthcalxngxxkmainrupkhxngkaraeplng rwmthngngansilpatang xangxingkareluxnkhnan karaeplngthangerkhakhnit epnkhasphththiicheriykkardaeninkarid thangerkhakhnit thnginsxngmitiaelasammiti echn kareluxnkhnan karhmun karsathxn xangxinghttp math free blogspot com 2013 11 blog post 23 html m 1 karaeplngthangerkhakhnit epneruxngthiekiywkbkaryaywtthucaktaaehnnghnungipyngxiktaaehnnghnung odyxacmikarepliynaeplngkhnad ruprang hruxtaaehnng ihtangipcakedimhruximkid twxyangkhxngkaraeplngthieraekhyphbechn rthyntsungedimxyubnthangladyayekhaipcxdinchxngcxdrth karhmunkhxngekhmyawkhxngnalika cakplayekhmyawchithitwelkh 12 ipchithitwelkh 6 hruxlukopngthimixakasxdxyuemuxplxyxakasxxkthaihlukopngekhluxnthixxkipaelatklngemuxxakasthixyuinlukopngdnxxkmacnimmiaerngdn singehlaniekiywkhxngkbkaraeplngthngsin singsakhykhxngkaraeplngkhux cudthukcudkhxngwtthuthixyuthiedim hruxkhnadedim catxngmikarsngipyngwtthuthitaaehnngihm hruxkhnadihm thukcud cudtxcud inthangerkhakhnitkmikaraeplngthiklawthungkhwamekiywkhxngknrahwangruperkhakhnitkxnkaraeplngaelaruperkhakhnithlngkaraeplng eraeriykruperkhakhnitkxnkaraeplngwa ruptnaebb aelaeriykruperkhakhnithlngkaraeplngwa phaphthiidcakkaraeplng karaeplngthangerkhakhnitthiepnphunthanmithnghmd 4 aebb khux kareluxnkhnan karsathxn karhmun aelakaryx khyay aetinthinicaklawthungkaraeplngthangerkhakhnit 3 aebb idaek kareluxnkhnan karsathxnaelakarhmun karaeplngthangerkhakhnitthngsamaebbnicaidphaphthimiruprangehmuxnknaelakhnadediywknkbruptnaebbesmx kareluxnkhnanbnranabepnkaraeplngthangerkhakhnitthimikareluxncudthukcudipbnranabtamaenwesntrnginthisthangediywknaelaepnrayaethakntamthikahnd smbtikhxngkareluxnkhnan 1 rupthiidcakkareluxnkhnankbruptnaebbethaknthukprakar 2 cudaetlacudthismnyknbnrupthiidcakkareluxnkhnankbruptnaebbcamirayahangethakn 3 phayitkareluxnkhnan caimmikarepliynaeplngruprangaelakhnadkhxngruptnaebb twxyang cudyxdkhxngrup DPQR khux P 3 2 Q 1 4 aela R 3 1 cngsrangrup DPQR aelwwadrup samehliymthiekidcakkareluxnkhnanipthangkhwa 4 hnwy aelakhunbn 3 hnwy withikhid hakhaphikdkhxngcudyxdkhxngrupsamehliymihm dngni cudyxdedim ipthangkhwa 4 khunbn 3 cudyxdihm P 3 2 4 3 gt P 1 5 Q 1 4 4 3 gt Q 5 7 R 3 1 4 3 gt R 7 4 khaphikdkhxngcudyxdihm khux P 1 5 Q 5 7 R 7 4 ekhiynkrafkhxngcud P Q aela R aelwwadrup D P Q R dngnikarsathxnkarsathxnbnranabepnkaraeplngthangerkhakhnitthimiesntrng l thitrungesnhnungepnesnsathxn aetlacud P bnranabcamicud P epnphaphthiidcakkarsathxncud P odythi 1 thacud P imxyubnesntrng l aelwesntrng l caaebngkhrungaelatngchakkb PP 2 thacud P xyubnesntrng l aelwcud P aelacud P epncudediywkn smbtikhxngkarsathxn 1 ruptnaebbkbphaphthiidcakkarsathxn samarththbknidsnithodytxngphlikrup hruxklawwa ruptnaebbaelaphaphthiidcakkarsathxnethaknthukprakar 2 swnkhxngesntrngthiechuxmcudaetlacudbnruptnaebb kbcudthismnyknbnphaphthiidcakkarsathxncakhnankn ruperkhakhnitthisamarthharxyphbaelaphbrupthngsxngkhangkhxngrxyphbihthbknsnithideriykwa rupsmmatrbnesn aelaeriykrxyphbniwa aeknsmmatr rupsmmatrbnesnaetlarupxacmicanwnaeknsmmatrimethakn esnsathxn aeknsmmatr caaebngkhrungaelatngchakkbswnkhxngesntrngthiechuxmrahwangcudaetlacudbnruptnaebbkbcudaetlacudbnrupsathxnthismnykn srupidwarupthiekidcakarsathxnkkhuxrupsmmatrbnesn odymiesnsathxnkhuxaeknsmmatrnnexng thaesnsathxnepnaekn Y phikdkhxngphaphthiekidcakkarsathxn khuxkarepliynekhruxnghmaykhxngsmachiktwhnaepnekhruxnghmaytrngkhamthukcudkhxngruptnaebb swnsmachiktwhlngihkhngedimiw thaesnsathxnepnaekn X phikdkhxngphaphthiekidcakkarsathxn khuxkarepliynekhruxnghmaykhxngsmachiktwhlngepnekhruxnghmaytrngkhamthukcudkhxngruptnaebb swnsmachiktwhnaihkhngedimiw thaesnsathxnkhnanaekn X hruxaekn Y ihnbchxngtarangharayarahwangcudthikahndihkbesnsathxnsungphaphkhxngcudnncaxyuhangcakesnsathxnepnrayathiethaknkbrayathinbidemuxidphaphkhxngcudnnaelwcunghaphikd thaesnsathxnimkhnanaekn X aelaimkhnankbaekn Y aetepnesninaenwthaeyng ihlakesntrngphancudthikahndihaelatngchakkbesnsathxn phaphkhxngcudthikahndihcaxyubnesntngchakthisrangkhunaelaxyuhangcakesnsathxnepnrayaethaknkbcudthikahndihxyuhangcakesnsathxn emuxidphaphkhxngcudnnaelwcunghaphikdkarhmunkarhmunbnranabepnkaraeplngthangerkhakhnitthimicud O epncudthitrungxyucudhnungeriykwa O wa cudhmun aetlacud P bnranab micud P epnphaphthiidcakkarhmuncud P rxbcud O tamthisthangthikahnddwymumthimikhnad K odythi 1 thacud P imichcud O aelw OP OP aelakhnadkhxng ethakb K 2 thacud P epncudediywknkbcud O aelw P epncudhmun smbtikhxngkarhmun 1 samartheluxnruptnaebbthbphaphthiidcakkarhmunidsnith odyimtxngphlikruphruxklawwa ruptnaebbkbphaphthiidcakkarhmunethaknthukprakar 2 swnkhxngesntrngbnruptnaebbaelaphaphthiidcakkarhmunswnkhxngesntrngnnimcaepntxngkhnanknthukkhu hruxxacklawidwa cudbnruptnaebbaelaphaphthiidcakkarhmuncudnn aetlakhuxyubnwngklmediywknaelamicudhmunepncudsunyklang aetwngklmehlaniimcaepntxngmirsmiyawethakn lksnakhxngkarhmun karhmuncahmunthwnekhmhruxtamekhmnalikakid cudhmuncaepncudthixyubnruphruxnxkrupkid odythicudaetlacudbnruptnaebbekhluxnthirxbcudhmundwykhnankhxngmumthikahnd twxyang kahndih A B C epnphaphthiekidcakkarhmunrup ABC tamekhmnalikaepnmum 60 xngsa odythi A epncudhmun aelahmunthwnekhmnalikaepnmum 60 xngsa odymicud O epncudhmunthiimxyubnruptnaebb