ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
การเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะ (อังกฤษ: Logic programming) เป็น (programming paradigm) แบบหนึ่ง โดยกำหนดขอบเขตคุณลักษณะ (attribute) ของคำตอบ แทนที่จะกำหนดขั้นตอนที่ทำให้ได้คำตอบ ภาษาโปรแกรมสำหรับการเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะที่ใช้อย่างกว้างขวาง คือ ภาษาโปรล็อก (Prolog) อีกภาษาหนึ่งที่ใช้ในเชิงการค้า คือ (Mercury) การเขียนโปรแกรมแบบนี้มีหลักการคือ ความจริง + กฎ = ผลลัพธ์ หลักการอื่นที่แตกต่างให้ดู (Inductive logic programming)
จุดประสงค์ของการเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะ คือ การนำตรรกศาสตร์เชิงรูปแบบ (formal logic) มาใช้เป็นภาษาคอมพิวเตอร์ นักคณิตศาสตร์และนักปรัชญาพบว่าตรรกะเป็นเครื่องมือที่ดีในการขยายความเนื้อหาของทฤษฎี ปัญหาหลายๆ อย่างสามารถแสดงเป็นทฤษฎีได้อย่างเป็นธรรมชาติ การกล่าวว่าปัญหาต้องการวิธีการแก้ไขก็เหมือนกับการถามว่าสมมติฐานใหม่สอดคล้องกับทฤษฎีที่มีอยู่แล้วหรือไม่ ตรรกศาสตร์กำหนดหนทางเพื่อพิสูจน์ว่าคำถามนั้นจริงหรือเท็จ และกระบวนการสร้างการพิสูจน์เป็นสิ่งที่รู้กันอย่างดีแล้ว ดังนั้นตรรกศาสตร์จึงเป็นทางที่เชื่อถือได้ในการหาคำตอบ และระบบการเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะทำให้กระบวนการเหล่านี้เป็นไปอย่างอัตโนมัติ การพัฒนาการเขียนโปรแกรมเชิงตรรกะนั้นให้อิทธิพลอย่างมากต่อปัญญาประดิษฐ์
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisud karekhiynopraekrmechingtrrka xngkvs Logic programming epn programming paradigm aebbhnung odykahndkhxbekhtkhunlksna attribute khxngkhatxb aethnthicakahndkhntxnthithaihidkhatxb phasaopraekrmsahrbkarekhiynopraekrmechingtrrkathiichxyangkwangkhwang khux phasaoprlxk Prolog xikphasahnungthiichinechingkarkha khux Mercury karekhiynopraekrmaebbnimihlkkarkhux khwamcring kd phllphth hlkkarxunthiaetktangihdu Inductive logic programming cudprasngkhkhxngkarekhiynopraekrmechingtrrka khux karnatrrksastrechingrupaebb formal logic maichepnphasakhxmphiwetxr nkkhnitsastraelankprchyaphbwatrrkaepnekhruxngmuxthidiinkarkhyaykhwamenuxhakhxngthvsdi pyhahlay xyangsamarthaesdngepnthvsdiidxyangepnthrrmchati karklawwapyhatxngkarwithikaraekikhkehmuxnkbkarthamwasmmtithanihmsxdkhlxngkbthvsdithimixyuaelwhruxim trrksastrkahndhnthangephuxphisucnwakhathamnncringhruxethc aelakrabwnkarsrangkarphisucnepnsingthiruknxyangdiaelw dngnntrrksastrcungepnthangthiechuxthuxidinkarhakhatxb aelarabbkarekhiynopraekrmechingtrrkathaihkrabwnkarehlaniepnipxyangxtonmti karphthnakarekhiynopraekrmechingtrrkannihxiththiphlxyangmaktxpyyapradisth bthkhwamkhxmphiwetxr xupkrntang hruxekhruxkhayniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk