วิชาลำดับชั้นหิน (อังกฤษ: Stratigraphy) เป็นศาสตร์สาขาหนึ่งที่ว่าด้วยรูปแบบ การวางตัว การแผ่กระจาย การลำดับอายุ (chronolgic succession) การจำแนกชนิดและสัมพันธภาพของ (และหินอย่างอื่นที่สัมพันธ์กัน) อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือทั้งหมดที่มีอยู่ในหิน เป็นเกณฑ์กำหนดแบ่ง เพราะฉะนั้นวิชานี้จะมีความเกี่ยวข้องกับต้นกำเนิด องค์ประกอบสภาพแวดล้อม อายุ ประวัติ สัมพันธภาพที่มีต่อวิวัฒนาการของสิ่งที่มีชีวิต ตลอดจนลักษณะอื่น ๆ ของชั้นหิน สรุปว่า ในการจำแนกลำดับชั้นหิน หินทุกชนิดไม่ว่าจะวางตัวเป็นชั้นหรือไม่เป็นชั้น ก็อยู่ภายในขอบข่ายทั่วไปของวิชาลำดับชั้นหินและการจำแนกลำดับชั้นหินนี้ด้วยเพราะหินเหล่านั้นสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดหรือเกี่ยวเนื่องกันกับชั้นหิน
สรุปก็คือวิชาลำดับชั้นหินเป็นสาขาวิชาที่ศึกษาถึงความสัมพันธ์ทางแนวตั้งและทางข้างทั้งหลายของหินตะกอนโดยความสัมพันธ์เหล่านี้ถูกกำหนดขึ้นจากพื้นฐานของคุณสมบัติในทางกายภาพและทางเคมีลักษณะทางบรรพชีวิต ความสัมพันธ์ด้านอายุ และคุณสมบัติทางธรณีฟิสิกส์ซึ่งใช้กันมากในปัจจุบัน ก่อนปี ค.ศ. 1970 นั้น วิชาลำดับชั้นหินจะเกี่ยวข้องส่วนใหญ่กับแนวความคิดแบบดั้งเดิมทั้งหลายของ การลำดับชั้นหินตามอายุกาล
ส่วนประกอบและขั้นตอนของวิชาลำดับชั้นหิน
ส่วนประกอบและขั้นตอนของวิชาลำดับชั้นหินซึ่งเกี่ยวข้องโดยตรงอยู่กับลักษณะหินและลักษณะทางชีวภาพนั้น สามารถสรุปแสดงเป็นตารางได้ดังต่อไปนี้
กฎวิชาลำดับชั้นหิน (Principles of Stratigraphy)
กฎข้อแรกของวิชาลำดับชั้นหินก็คือ กฎของการวางตัวตามแนวนอนตอนเริ่มต้น (Law of original horizontality) ซึ่งกล่าวได้ว่า ถ้าไม่คำนึงถึงสภาพการวางตัวของชั้นหินที่เราพบเห็นอยู่ในปัจจุบัน ชั้นหินเหล่านั้นได้สะสมตัวในตอนเริ่มต้นเป็นชั้นที่วางตัวตามแนวนอนหรือเกือบตามแนวนอน และขนานหรือเกือบขนานกับพื้นผิวโลก ดังนั้นถ้าชั้นหินที่พบในปัจจุบันมีการเอียงเทหรือตลบทับแล้ว ชั้นหินดังกล่าวจะต้องถูกรบกวนมาตั้งแต่ที่มันได้สะสมตัวในตอนเริ่มต้นตามแนวนอนเป็นต้นมา
เนื่องจากตะกอนได้สะสมตัวเป็นชั้นตามแนวนอน มันจึงมีประโยชน์สำหรับการกำหนดอายุสัมพัทธ์ นอกจากนี้ยังมี กฎของลำดับชั้น (Law of superposition) ซึ่งเป็นกฎทั่วไปที่ใช้ในทางธรณีกาล เกี่ยวกับการลำดับชั้นหิน หรือหินอัคนีผุที่ยังไม่มีการเลื่อนย้อนหรือตลบทับของชั้นหิน ในกฎการลำดับชั้นให้ถือว่า ชั้นหินที่มีอายุอ่อนกว่าวางทับอยู่บนชั้นหินที่มีอายุแก่กว่า
ดังนั้น ในพื้นที่ซึ่งไม่มีการเปลี่ยนลักษณะการแปรสัณฐาน (tectonic deformation) หลังการสะสมตัวของตะกอน เราสามารถลำดับชั้นหินทั้งหลายที่ปรากฏอยู่นั้นได้อย่างง่ายดาย โดยอาศัยกฎดังกล่าวข้างต้น แต่ในพื้นที่ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงลักษณะการแปรสัณฐาน เช่น ชั้นหินถูกตลบทับ ในกรณีดังกล่าวนี้จะต้องค้นหาตัวชี้บอกเพื่อใช้เป็นเกณฑ์กำหนดว่า ชุดหินดังกล่าวอยู่ในลำดับตามปกติของการสะสมตัว หรืออยู่ในลำดับที่พลิกกลับ (รูปภาพที่ 1) โดยทั่วไปนั้นจะต้องมีตัวชี้บอกมากกว่าหนึ่งอย่าง เพื่อทำให้เกิดความมั่นใจว่าชั้นหินดังกล่าวถูกตลบทับจริง
Johanes Walther ได้พัฒนา กฎของลักษณะปรากฏ (Law of lateral continuity) ซึ่งกล่าวได้ว่าชั้นหินได้สะสมตัวเป็นชั้นที่ต่อเนื่องไปตลอดแอ่งสะสมตัวและอาจถูกเทียบสัมพันธ์กันได้ แม้จะอยู่ห่างกันออกไปก็ตาม (รูปภาพที่ 3)
กฎพื้นฐานอีกประการหนึ่งของวิชาลำดับชั้นหินก็คือ กฎของความสัมพันธ์กันของการตัดขวาง (Law of cross - cutting relationships) และผลที่ตามมาของกฎดังกล่าวนี้คือ กฎของสิ่งปะปนเข้าไป (Law of inclusions) ซึ่งแนวความคิดเหล่านี้จะถือว่าสิ่งใดก็ตามที่ตัดผ่านชั้นหินตะกอนจะมีอายุอ่อนกว่าชั้นหินดังกล่าว ดังนั้นพนัง (dike) ที่ตัดผ่านชั้นหินตะกอนก็จะมีอายุอ่อนกว่าชั้นหินตะกอนนั้น ในทำนอนเดียวกัน สิ่งที่ปะปนเข้าไป เช่น เศษหินหรือเปลือกหอยในหินกรวดมน จะต้องมีอายุแก่กว่า และจะต้องมีอยู่ก่อนที่ชั้นหินดังกล่าวได้สะสมตัวขึ้น
การขาดหายไปของการบันทึกชั้นหิน
เนื่องจากกระบวนการบนผิวโลกมีทั้งการสะสมตัว (sedimentation) และการกร่อน (erosion) เกิดขึ้นแตกต่างกันไป ทั้งในเชิงปริมาณและสถานที่มาตลอดธรณีกาล ดังนั้นอัตราของการเปลี่ยนแปลงจึงมีความแตกต่างกันอย่างมากในแต่ละแห่ง ซึ่งเป็นผลมาจากความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดกันระหว่าง การเคลื่อนที่ของเปลือกโลก การกร่อน และการสะสมตัว โดยเฉพาะการกร่อนนั้นจะทำลายการบันทึกชันหินไปซึ่งทำให้เกิดความไม่สมบูรณ์ และทำให้เกิดแนวชั้นไม่ต่อเนื่อง (unconformities) ขึ้น นอกจากนี้ยังทำให้ในช่วงธรณีกาลดังกล่าว ไม่มีการสะสมตัวแสดงให้เห็นเอาไว้อีกด้วย การขาดหายไปของเวลาที่ถูกแสดงไว้ด้วยแนวชั้นไม่ต่อเนื่องดังกล่างเรียกว่า hiatus (รูปภาพที่ 4 )
ตามปกติแนวชั้นไม่ต่อเนื่อง (unconformities) จะแสดงถึงการรบกวนที่รุนแรงต่อระบบการสะสมตัว และมักจะใช้แทน hiatus ที่ยาวนาน สำหรับการหายไปเป็นเวลาสั้น ๆ การสะสมตัวซึ่งเกิดจากการแปรเปลี่ยนไปตามปกติเกี่ยวกับสภาพทั่วไปลักษณะหนึ่ง โดยไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงที่รุนแรงขึ้นในรูปแบบทางหินตะกอนตามปกตินั้น จะเรียกว่า ชั้นว่างตะกอน (diastem) ซึ่งก็คือ ช่วงเวลาสั้น ๆ ที่ว่างเว้น จากการสะสมตัวของตะกอนนั่นเอง
การจำแนกของชั้นหิน (Stratigraphic Classification)
การจำแนกลำดับชั้นหินหมายถึง ระบบการจัดระเบียบของชั้นหินในโลกซึ่งมีอยู่ตามปกติ ให้เข้าเป็นหมู่ต่าง ๆ ได้ถือเอาลักษณะทางกายภาพ คุณสมบัติหรือคุณลักษณะอย่างใดอย่างหนึ่งที่อยู่ในหินเป็นเกณฑ์กำหนดแบ่ง และเนื่องจากคุณภาพในชั้นหินที่เป็นประโยชน์ในการจำแนกมีต่าง ๆ กันมากมาย การจำแนกลำดับหินชั้นจึงมีหลายลักษณะ
ประเภทจำแนกลำดับชั้นหิน (Categories of stratigraphic classification)
ลำดับชั้นหินจำแนกออกเป็นประเภทต่าง ๆ ดังนี้
- การลำดับชั้นตามลักษณะหิน (Lithostratigraphy) : การลำดับชั้นหินด้วยการรวมชั้นหินเข้าด้วยกันเป็นหมวดต่าง ๆ โดยอาศัยลักษณะทางกายภาพของหินเป็นเกณฑ์กำหนด
- การลำดับชั้นหินตามชีวภาพ (Biostratitraphy) : การลำดับชั้นหินด้วยการรวบรวมชั้นหินเข้าด้วยกันเป็นหน่วยต่าง ๆ โดยอาศัยซากดึกดำบรรพ์ที่ปรากฏอยู่ในชั้นหินเป็นเกณฑ์กำหนด
- การลำดับชั้นหินตามอายุกาล (Cronostratitraphy) : การลำดับชั้นหินด้วยการรวมชั้นหินเข้าด้วยกันเป็นหน่วยต่าง ๆ โดยอาศัยอายุและความสัมพันธ์ทางกาลเวลาของหินเป็นเกณฑ์กำหนด
- การลำดับชั้นหินตามลักษณะอื่น ๆ
อ้างอิง
- Math/Science Nucleus © 2001, Stratigraphy Teacher Guide including Lesson Plans, Student Readers, and More Information.
- http//www.hbcollege.com, Introduction to Physical Geology by Thrompson and Turk.
- Fritz, William J.,1988. Basics of Physical Stratigraphy and Sedimentology, John Wiley & Sons, Inc., USA.
- Neawsuparpa,et al., (2005) Ph.D. presentation, department of geology, Chulalongkorn University.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
wichaladbchnhin xngkvs Stratigraphy epnsastrsakhahnungthiwadwyrupaebb karwangtw karaephkracay karladbxayu chronolgic succession karcaaenkchnidaelasmphnthphaphkhxng aelahinxyangxunthismphnthkn xyangidxyanghnung hruxthnghmdthimixyuinhin epneknthkahndaebng ephraachannwichanicamikhwamekiywkhxngkbtnkaenid xngkhprakxbsphaphaewdlxm xayu prawti smphnthphaphthimitxwiwthnakarkhxngsingthimichiwit tlxdcnlksnaxun khxngchnhin srupwa inkarcaaenkladbchnhin hinthukchnidimwacawangtwepnchnhruximepnchn kxyuphayinkhxbkhaythwipkhxngwichaladbchnhinaelakarcaaenkladbchnhinnidwyephraahinehlannsmphnthxyangiklchidhruxekiywenuxngknkbchnhinchnthangthrniwithyainxarecntina srupkkhuxwichaladbchnhinepnsakhawichathisuksathungkhwamsmphnththangaenwtngaelathangkhangthnghlaykhxnghintakxnodykhwamsmphnthehlanithukkahndkhuncakphunthankhxngkhunsmbtiinthangkayphaphaelathangekhmilksnathangbrrphchiwit khwamsmphnthdanxayu aelakhunsmbtithangthrnifisikssungichknmakinpccubn kxnpi kh s 1970 nn wichaladbchnhincaekiywkhxngswnihykbaenwkhwamkhidaebbdngedimthnghlaykhxng karladbchnhintamxayukalswnprakxbaelakhntxnkhxngwichaladbchnhinswnprakxbaelakhntxnkhxngwichaladbchnhinsungekiywkhxngodytrngxyukblksnahinaelalksnathangchiwphaphnn samarthsrupaesdngepntarangiddngtxipni tarang 1 swnprakxbaelakhntxnkhxngwichaladbchnhin thima Fritz William J 1988 kdwichaladbchnhin Principles of Stratigraphy kdkhxaerkkhxngwichaladbchnhinkkhux kdkhxngkarwangtwtamaenwnxntxnerimtn Law of original horizontality sungklawidwa thaimkhanungthungsphaphkarwangtwkhxngchnhinthieraphbehnxyuinpccubn chnhinehlannidsasmtwintxnerimtnepnchnthiwangtwtamaenwnxnhruxekuxbtamaenwnxn aelakhnanhruxekuxbkhnankbphunphiwolk dngnnthachnhinthiphbinpccubnmikarexiyngethhruxtlbthbaelw chnhindngklawcatxngthukrbkwnmatngaetthimnidsasmtwintxnerimtntamaenwnxnepntnma enuxngcaktakxnidsasmtwepnchntamaenwnxn mncungmipraoychnsahrbkarkahndxayusmphthth nxkcakniyngmi kdkhxngladbchn Law of superposition sungepnkdthwipthiichinthangthrnikal ekiywkbkarladbchnhin hruxhinxkhniphuthiyngimmikareluxnyxnhruxtlbthbkhxngchnhin inkdkarladbchnihthuxwa chnhinthimixayuxxnkwawangthbxyubnchnhinthimixayuaekkwa dngnn inphunthisungimmikarepliynlksnakaraeprsnthan tectonic deformation hlngkarsasmtwkhxngtakxn erasamarthladbchnhinthnghlaythipraktxyunnidxyangngayday odyxasykddngklawkhangtn aetinphunthisungmikarepliynaeplnglksnakaraeprsnthan echn chnhinthuktlbthb inkrnidngklawnicatxngkhnhatwchibxkephuxichepneknthkahndwa chudhindngklawxyuinladbtampktikhxngkarsasmtw hruxxyuinladbthiphlikklb rupphaphthi 1 odythwipnncatxngmitwchibxkmakkwahnungxyang ephuxthaihekidkhwammnicwachnhindngklawthuktlbthbcring rupphaphthi 1 phaphhinophlbriewncnghwdely thiaesdngihehnchnhinthithukkrathaihkhdokhngaelamilksnathangokhrngsrangkhxnghintakxn sungmipraoychninkarcaaenkwachnhindngklawxyuintaaehnngtampkti hndanbnkhun xyuintaaehnnginaenwtng hruxthuktlbthbexaiw thima Neawsuparpa et al 2005 rupthi 2 epnphaphthiaesdngihinkarekhlixnyayipkhxnglksnaprakt Facies migration sungepnphlsungekidcakprimankhxngkarihtakxnthiaetktangkn inkhnathiradbnathaelldlng thima Math Science Nucleus c 2001 Johanes Walther idphthna kdkhxnglksnaprakt Law of lateral continuity sungklawidwachnhinidsasmtwepnchnthitxenuxngiptlxdaexngsasmtwaelaxacthukethiybsmphnthknid aemcaxyuhangknxxkipktam rupphaphthi 3 kdphunthanxikprakarhnungkhxngwichaladbchnhinkkhux kdkhxngkhwamsmphnthknkhxngkartdkhwang Law of cross cutting relationships aelaphlthitammakhxngkddngklawnikhux kdkhxngsingpapnekhaip Law of inclusions sungaenwkhwamkhidehlanicathuxwasingidktamthitdphanchnhintakxncamixayuxxnkwachnhindngklaw dngnnphnng dike thitdphanchnhintakxnkcamixayuxxnkwachnhintakxnnn inthanxnediywkn singthipapnekhaip echn esshinhruxepluxkhxyinhinkrwdmn catxngmixayuaekkwa aelacatxngmixyukxnthichnhindngklawidsasmtwkhun rupthi 3 karethiybhnwysmphnthkhxnghnwychnhintamlksnahin rahwanghnatdaenwtngsxngaehng thima Math Science Nucleus c 2001karkhadhayipkhxngkarbnthukchnhinenuxngcakkrabwnkarbnphiwolkmithngkarsasmtw sedimentation aelakarkrxn erosion ekidkhunaetktangknip thnginechingprimanaelasthanthimatlxdthrnikal dngnnxtrakhxngkarepliynaeplngcungmikhwamaetktangknxyangmakinaetlaaehng sungepnphlmacakkhwamsmphnthxyangiklchidknrahwang karekhluxnthikhxngepluxkolk karkrxn aelakarsasmtw odyechphaakarkrxnnncathalaykarbnthukchnhinipsungthaihekidkhwamimsmburn aelathaihekidaenwchnimtxenuxng unconformities khun nxkcakniyngthaihinchwngthrnikaldngklaw immikarsasmtwaesdngihehnexaiwxikdwy karkhadhayipkhxngewlathithukaesdngiwdwyaenwchnimtxenuxngdngklangeriykwa hiatus rupphaphthi 4 tampktiaenwchnimtxenuxng unconformities caaesdngthungkarrbkwnthirunaerngtxrabbkarsasmtw aelamkcaichaethn hiatus thiyawnan sahrbkarhayipepnewlasn karsasmtwsungekidcakkaraeprepliyniptampktiekiywkbsphaphthwiplksnahnung odyimekidkarepliynaeplngthirunaerngkhuninrupaebbthanghintakxntampktinn caeriykwa chnwangtakxn diastem sungkkhux chwngewlasn thiwangewn cakkarsasmtwkhxngtakxnnnexng rupthi 4 khwamsmphnthrahwanghnatdhinthithukrksaexaiw kbchwngthrnikarthisxdkhlxngknaenwchntxenuxngthaihekid hiatus sungepnchwngewlathiimmikarbnthukkarsasmtwehluxihehn thima Math Science Nucleus c 2001 karcaaenkkhxngchnhin Stratigraphic Classification karcaaenkladbchnhinhmaythung rabbkarcdraebiybkhxngchnhininolksungmixyutampkti ihekhaepnhmutang idthuxexalksnathangkayphaph khunsmbtihruxkhunlksnaxyangidxyanghnungthixyuinhinepneknthkahndaebng aelaenuxngcakkhunphaphinchnhinthiepnpraoychninkarcaaenkmitang knmakmay karcaaenkladbhinchncungmihlaylksnapraephthcaaenkladbchnhin Categories of stratigraphic classification ladbchnhincaaenkxxkepnpraephthtang dngni karladbchntamlksnahin Lithostratigraphy karladbchnhindwykarrwmchnhinekhadwyknepnhmwdtang odyxasylksnathangkayphaphkhxnghinepneknthkahnd karladbchnhintamchiwphaph Biostratitraphy karladbchnhindwykarrwbrwmchnhinekhadwyknepnhnwytang odyxasysakdukdabrrphthipraktxyuinchnhinepneknthkahnd karladbchnhintamxayukal Cronostratitraphy karladbchnhindwykarrwmchnhinekhadwyknepnhnwytang odyxasyxayuaelakhwamsmphnththangkalewlakhxnghinepneknthkahnd karladbchnhintamlksnaxun tarangthi 2 tarangsruppraephthkarcaaenkaelachuxhnwythisakhy inkarcaaenkladbchnhin thima Fritz William J 1988 rupphaphthi 5 epnphaphthiaesdngihehnthungkhwamaetktangknkhxngtaaehnnginhnatdladbchnhinbriewnhnungthithakarcaaenktamkhunsmbtithnghlaythiaetktangknkhxngchnhinxyangsxdkhlxngkbpraephthkarcaaenkladb thima Math Science Nucleus c 2001xangxingMath Science Nucleus c 2001 Stratigraphy Teacher Guide including Lesson Plans Student Readers and More Information http www hbcollege com Introduction to Physical Geology by Thrompson and Turk Fritz William J 1988 Basics of Physical Stratigraphy and Sedimentology John Wiley amp Sons Inc USA Neawsuparpa et al 2005 Ph D presentation department of geology Chulalongkorn University