บทความนี้ไม่มีจาก |
การลงทุนแบบเน้นคุณค่า หรือ การลงทุนตามมูลค่า (อังกฤษ: value investing) เป็นแนวทางการลงทุนที่ริเริ่มและพัฒนาขึ้นโดย เบนจามิน เกรแฮม และต่อมาถูกนำมาใช้โดยวอเรน บัฟเฟต เป็นแนวทางการลงทุนที่เน้นลงทุนในกิจการที่ผู้ลงทุนเชื่อว่ามีราคาหุ้นต่ำกว่ามูลค่าพื้นฐานโดยการวิเคราะห์มูลค่าทางบัญชีหรือสัดส่วนทางการเงินแบบต่างๆ เช่นมูลค่าหุ้นตามบัญชี (book value) สัดส่วนราคาหุ้นต่อกำไร (price-to-earning ratios) สัดส่วนราคาหุ้นต่อมูลค่าตามบัญชี (price-to-book ratios) หรือสัดส่วนเงินปันผล (dividend yields) อย่างไรก็ตาม ควรเข้าใจตัวธุรกิจให้ลึกซึ้ง เพื่อใช้สัดส่วนทางการเงินได้อย่างเหมาะสม
หลักการลงทุนแบบเน้นคุณค่า
ตามหลักการลงทุนแบบเน้นคุณค่า นักลงทุนจะประเมินมูลค่าบริษัทและหุ้นของบริษัทด้วยปัจจัยพื้นฐาน เมื่อได้มูลค่าที่เหมาะสมแล้วจึงพิจารณาราคาในตลาดหลักทรัพย์ หากพบว่าราคาของหลักทรัพย์ทั้งหมดต่ำกว่า ก็จะเข้าซื้อหุ้น ทั้งนี้เพราะเชื่อว่าราคาในตลาดจะวิ่งไปหามูลค่าที่เหมาะสมในระยะยาว อันที่จริง หลักการลงทุนทุกรูปแบบยกเว้นแบบเทคนิคอล จะเลือกซื้อหุ้นเมื่อพบว่าราคาหลักทรัพย์ต่ำกว่ามูลค่าตามปัจจัยพื้นฐาน (หลักการทางเศรษฐศาสตร์ก็บอกเช่นกันว่า ให้ลงทุนในโครงการที่มี Abnormal Profit หรือ Economic Profit) ดังนั้น การเลือกหุ้นที่ราคาต่ำกว่าปัจจัยพื้นฐาน จึงมิไม่เป็นหลักการเฉพาะของการลงทุนแบบคุณค่าแต่อย่างใด ที่หลักการการลงทุนแบบคุณค่าแตกต่างกับวิธีการการลงทุนแบบอื่นๆก็คือ การลงทุนแบบคุณค่าเชื่อว่าอัตราส่วนทางบัญชี เช่น P/E และ P/BV ที่ต่ำ สามารถบ่งบอกว่าราคาหุ้นต่ำกว่ามูลค่าพื้นฐาน ในขณะที่การลงทุนแบบอื่น อาทิ แบบ Growth เชื่อว่าอัตราเติบโตเร็วบ่งบอกว่ามูลค่าพื้นฐานของหุ้นนั้นสูงกว่าราคาปัจจุบัน (ซึ่งก็แปลว่า ราคาหุ้นต่ำกว่ามูลค่าพื้นฐานเช่นกัน นั่นเอง) สาเหตุที่หุ้นที่ P/E และ P/BV ต่ำมักจะมีราคาต่ำกว่าปัจจัยพื้นฐาน งานวิจัยบางส่วนบ่งบอกว่าเกิดจากปัจจัยทางจิตวิทยา โดยนักลงทุนส่วนใหญ่ประเมินหุ้นที่มีผลการดำเนินงานช่วงหลังๆไม่ค่อยดี หรือว่าหุ้นที่มีอัตราการเติบโตต่ำ ต่ำกว่าที่ควรจะเป็น ผลตรงนี้สนับสนุนความเชื่อของ เบนจามิน เกรแฮม
อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ว่าการวิจัยพบว่าการลงทุนแบบเน้นคุณค่าจะให้ผลตอบแทนสูงกว่าค่าเฉลี่ยของตลาดในระยะยาว ก็ยังเป็นที่ถกเถียงกันอยู่ในวงวิชาการว่า สาเหตุของกำไรเกิดจากอะไร ฝ่ายหนึ่งดังที่กล่าวไปแล้ว เชื่อว่าสาเหตุเกิดจากผลทางจิตวิทยา (Behavioural Finance) นำโดยศาสตราจารย์ ริชาร์ด ทาเลอร์ เดเนียล คาห์เนมาน (โนเบล 2004) ฯลฯ โดยการงานวิจัยทางจิตวิทยาสนับสนุนในขณะที่อีกฝ่ายเชื่อว่าสาเหตุเกิดจากการที่หุ้นที่มีอัตราส่วนทางบัญชีต่ำนั้นมีความเสี่ยงสูงกว่าหุ้นโดยทั่วไป ซึ่งค่ายนี้นำโดย ยูจีน ฟามา มาร์ค รูบินสไตน์ ฯลฯ โดยมีหลักฐานชี้ว่า หากมีการปรับ Asset Pricing Model โดยพิจารณาความเสี่ยงที่เกิดจากอัตราส่วนบัญชีเข้าไปด้วย การลงทุนแบบเน้นคุณค่านั้นไม่ได้ให้ผลตอบแทนสูงกว่าการลงทุนแบบทั่วไปแต่อย่างใด กำไรที่สูงกว่าเกิดขึ้นจากความเสี่ยงที่มากกว่าเท่านั้นเอง (ข้อมูลเพิ่มเติม: Fama and French (1996) )
ปัจจุบันได้มีหนังสือที่ออกมาเกี่ยวกับแนวทางดังกล่าวหลายเล่ม ที่ยอมรับนับถือว่าเป็นคัมภีร์ของนักลงทุนก็เช่น และ The Intelligent Investor โดยเบนจามิน เกรแฮม
อย่างไรก็ตาม ด้วยวิวัฒนาการในการลงทุน จึงมีแนวคิดอื่นเช่นการลงทุนในหุ้นโตเร็ว และปัจจัยทางการบริหารจัดการ เป็นเจ้าของแนวคิดดังกล่าว ท่านเป็นนักลงทุนอีกท่านในยุคนั้นที่ประสบความสำเร็จเป็นอย่างมาก และได้แต่งหนังสือชื่อ ขึ้นมา ในหนังสือนี้จะสอนให้นักลงทุนพิจารณามากกว่า ซึ่งหลักการนี้ต่างจากหลักการของเกรแฮมที่สอนให้นักลงทุนศึกษาปัจจัยทางปริมาณ
ปัจจุบันมีแนวคิดและหลักการต่างๆ ประยุกต์และแตกแขนงออกไปจากหลักการพื้นฐาน แต่ทุกแนวคิดก็ยังต้องอิงกับปัจจัยทางปริมาณ และปัจจัยทางคุณภาพ ร่วมกันเพื่อประเมินมูลค่าหุ้นที่เหมาะสม
การประเมินมูลค่ากิจการ
การลงทุนแบบคุณค่านั้นมีหลายแนวทางอยู่ที่การตีความ วิธีประเมินมูลค่าตามแบบของการลงทุนแบบเน้นคุณค่าของ ตามหนังสือ Value Investing from Graham to Buffett and Beyond ของ Greenwald และคณะ ได้แสดงไว้ 3 วิธี
- วิธีต้นทุนทดแทน (Replacement Cost) คือการหาว่าหากต้องการสร้างกิจการนี้ขึ้นมาใหม่ จะต้องใช้เงินเท่าไหร่ วิธีนี้จะแก้ไขการใช้มูลค่าทางบัญชี ซึ่งไม่ได้รวมต้นทุนการสร้างกิจการไว้ทั้งหมด เช่นค่าลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร แบรนด์ ความนิยมหรือใบอนุญาตประกอบกิจการเฉพาะ
- ความสามารถในการทำกำไร (Earning Power Value) พิจารณามูลค่ากิจการจากความสามารถในการสร้างเงินสด และ/หรือกำไรจากผลประกอบการ
- การเติบโต (Growth) พิจารณาความเติบโตของผลกำไร
การใช้อัตราส่วนต่างๆเพื่อหามูลค่า
อัตราส่วนราคาต่อกำไร (P/E) หรือมูลค่าทางบัญชี (P/B) นำมาใช้ประเมินมูลค่าแบบคร่าวๆ ได้ เช่น
- P/E ของกิจการใดต่ำกว่า P/E เฉลี่ยของกิจการอื่นที่ทำธุรกิจเดียวกันและมีขนาดใกล้เคียงกัน ทั้งที่ไม่มีปัญหาอะไร ย่อมถือว่า เป็นหุ้นที่ถูกกว่า ตลาดอาจจะให้มูลค่าผิดไปในบางช่วงเวลา และราคาจะกลับมาที่ควรจะเป็นได้
- P/B ที่ต่ำกว่า 1 หมายถึงราคาตลาดของหุ้นต่ำกว่ามูลค่าทางบัญชี โดยหลักการทางบัญชีแล้ว หากการบันทึกราคาครอบคลุมทั้งสินทรัพยที่มีและไม่มีตัวตนเป็นไปอย่างสมบูรณ์ P/B ควรจะเท่ากับ 1 ที่ P/B ต่ำกว่า 1 อาจจะเป็นไปได้จากหลายสาเหตุ อาทิ การบันทึกมูลค่าสินทรัพย์ไม่ได้ปรับราคาตามความเป็นจริง (เช่นที่ดิน เครื่องจักร มูลค่าแบรนด์ ลิขสิทธิ์ หรือมูลค่าโอกาสทางธุรกิจในอนาคต) หรือหากเป็นตามความเชื่อของการลงทุนแบบคุณค่าก็คือ นักลงทุนในตลาดประเมินมูลค่าหุ้นต่ำกว่ามูลค่าที่แท้จริง หากเป็นกรณีนี้ นักลงทุนก็จะมีโอกาสทำกำไรหากราคาหุ้นกลับเข้ามาสู่มูลค่าที่เหมาะสม
อย่างไรก็ตามการใช้อัตราส่วนทั้ง P/E และ P/B ก็มีข้อจำกัดหลายอย่างเช่น
- มาตรฐานการบันทึกมูลค่าทางบัญชีของแต่ละบริษัทต่างกัน จึงไม่สามารถเทียบกันได้อย่างสมบูรณ์
- วิธีการทำบัญชีของแต่ละประเทศต่างกัน
- บอกความเสี่ยงของกิจการได้ไม่สมบูรณ์ อันที่จริง หุ้นที่ P/E และ P/B ต่ำนั้น จะมีค่าความเสี่ยงสูงกว่าโดยเฉลี่ย (ข้อมูลเพิ่มเติม ลองอ่าน Fama (1991) และ Fama (1998) )
- มีความเข้าใจคลาดเคลื่อนว่า P/E ไม่บอกถึงความเติบโตของกิจการ อันที่จริง หุ้นที่มี P/E สูงก็เนื่องจากว่านักลงทุกคาดหมายการเติบโตที่สูงมากนั่นเอง
การลงทุนแบบเน้นคุณค่าในประเทศไทย
ในประเทศไทย ไม่มีหลักฐานแน่ชัดว่ามีการลงทุนแบบเน้นคุณค่าตั้งแต่เมื่อใด หลักฐานการตื่นตัวในการลงทุนแบบเน้นคุณค่าในประเทศไทย เริ่มจากการล่มสลายของตลาดหุ้นในวิกฤตการณ์ทางการเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540 แต่ยังมีนักลงทุนกลุ่มหนึ่งที่สามารถเอาตัวรอดและทำกำไรในภาวะวิกฤติได้ ในหนังสือ "ตีแตก" ดร.นิเวศน์ เหมวชิรวรากร เชื่อว่าที่ท่านสามารถเอาตัวรอดได้ในเหตุการณ์นั้น[] ซึ่งหลักการนั้นก็คือหลักการของการลงทุนแบบเน้นคุณค่านั่นเอง การลงทุนแบบเน้นคุณค่านั้นเป็นที่นิยมในหมู่นักลงทุนทั่วไปเนื่องจากใช้วิธีการไม่ซับซ้อน ไม่ต้องอาศัยความรู้แคลคูลัสหรือสถิติซับซ้อนแบบที่ต้องใช้ในทฤษฎีการลงทุนสมัยใหม่
นักลงทุนไทยอีกท่านหนึ่งที่ถือว่าเป็นแนวเน้นคุณค่าก็คือ โกศล ไกรฤกษ์ ผู้ล่วงลับ ท่านเป็นอีกผู้หนึ่งซึ่งสามารถฟื้นตัวหลังจากวิกฤติได้[] แม้จะต้องสูญเสีย บงล.ตะวันออกฟายแนนซ์ ไปกับการสั่งปิดสถาบันการเงินก็ตาม
จุดอ่อนของการลงทุนแบบคุณค่า
[]
การลงทุนแบบคุณค่านั้นไม่ใช่เป็นแต่ศาสตร์เพียงอย่างเดียวแต่เป็นศิลปะด้วยถึงแม้ว่าเราจะหามูลค่าที่แท้จริงได้ใกล้เคียง หรือ เข้าใจในหลักการดีพอแต่เราต้องควบคุมสภาวะอารมณ์ของเรา ไม่ให้ถูกความผันผวน และ ความบ้าคลั่งของฝูงชนครอบงำ ไม่ใช่เรื่องง่ายเลยที่เราจะละเลยฝูงชนพร้อมกับยึดมั่นในหลักการในยามที่ตลาดทล่มทลาย การคว้าโอกาสยามที่ผู้คนหวาดกลัว เป็นเรื่องยากแต่ในบางครั้งถ้าเรากล้าที่จะสวนกระแสชัยชนะจะเป็นของเรา แม้ว่าในบางครั้งราคาจะไม่กลับเข้าสู่มูลค่าที่แท้จริงในระยะเวลาอันสั้นแต่ถ้าเราอดทนผลตอบแทนที่งดงามจะเป็นของคุณ จากสถิติของนักลงทุนแบบเน้นคุณค่าทั้งหลายทำให้เราเชื่อว่ามันเป็นเช่นนั้น แต่สิ่งที่สำคัญที่สุดในการที่เราจะตัดสินใจลงทุนทุกครั้งเราจะต้องเผื่อส่วนต่างความปลอดภัย(Margin of safty) เอาไว้ด้วยเพราะมันจะเป็นเบาะรองรับไม่ให้เราเสียหายอย่างหนักจากการทลายของตลาด ถ้าเราเผื่อส่วนต่างมากพอคุณไม่จำเป็นต้องกลัวไม่ว่ามิสเตอร์มาเก็ตจะโยนอะไรมาใส่คุณ แต่ถ้าคุณจะขายทุกอย่างไปในยามที่เกิดการตกหนักๆของตลาดเราแนะนำให้คุณซื้อกองทุนดัชนีจะเหมาะสมกว่า จุดอ่อนที่แท้จริงก็คือตัวคุณเองถ้าคุณสามารถควบคุมตจิตใจตัวเองได้ก็ไม่มีสิ่งใดที่ต้องกลัว ไม่ว่าตลาดจะทล่มทลายแค่ไหนก็มันก็ฟื้นตัวกลับมาได้เสมอจากสถิติตลอดระยะเวลาอันยาวนานมันทำให้เราเชื่อว่ามันจะเป็นเช่นนั้น
บทความที่เกี่ยวข้อง
- ตลาดหุ้น
- วอเรน บัฟเฟต
- อัตราส่วนราคาต่อกำไร (P/E ratio)
แหล่งข้อมูลอื่น
- เว็บไซต์ส่งเสริม การลงทุนแบบเน้นคุณค่า
- ขอรับการส่งเสริมการลงทุน BOI
- แหล่งรวมคนลงทุนแบบ VI
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir karlngthunaebbennkhunkha hrux karlngthuntammulkha xngkvs value investing epnaenwthangkarlngthunthirierimaelaphthnakhunody ebncamin ekraehm aelatxmathuknamaichodywxern bfeft epnaenwthangkarlngthunthiennlngthuninkickarthiphulngthunechuxwamirakhahuntakwamulkhaphunthanodykarwiekhraahmulkhathangbychihruxsdswnthangkarenginaebbtang echnmulkhahuntambychi book value sdswnrakhahuntxkair price to earning ratios sdswnrakhahuntxmulkhatambychi price to book ratios hruxsdswnenginpnphl dividend yields xyangirktam khwrekhaictwthurkicihluksung ephuxichsdswnthangkarenginidxyangehmaasmhlkkarlngthunaebbennkhunkhatamhlkkarlngthunaebbennkhunkha nklngthuncapraeminmulkhabristhaelahunkhxngbristhdwypccyphunthan emuxidmulkhathiehmaasmaelwcungphicarnarakhaintladhlkthrphy hakphbwarakhakhxnghlkthrphythnghmdtakwa kcaekhasuxhun thngniephraaechuxwarakhaintladcawingiphamulkhathiehmaasminrayayaw xnthicring hlkkarlngthunthukrupaebbykewnaebbethkhnikhxl caeluxksuxhunemuxphbwarakhahlkthrphytakwamulkhatampccyphunthan hlkkarthangesrsthsastrkbxkechnknwa ihlngthuninokhrngkarthimi Abnormal Profit hrux Economic Profit dngnn kareluxkhunthirakhatakwapccyphunthan cungmiimepnhlkkarechphaakhxngkarlngthunaebbkhunkhaaetxyangid thihlkkarkarlngthunaebbkhunkhaaetktangkbwithikarkarlngthunaebbxunkkhux karlngthunaebbkhunkhaechuxwaxtraswnthangbychi echn P E aela P BV thita samarthbngbxkwarakhahuntakwamulkhaphunthan inkhnathikarlngthunaebbxun xathi aebb Growth echuxwaxtraetiboterwbngbxkwamulkhaphunthankhxnghunnnsungkwarakhapccubn sungkaeplwa rakhahuntakwamulkhaphunthanechnkn nnexng saehtuthihunthi P E aela P BV tamkcamirakhatakwapccyphunthan nganwicybangswnbngbxkwaekidcakpccythangcitwithya odynklngthunswnihypraeminhunthimiphlkardaeninnganchwnghlngimkhxydi hruxwahunthimixtrakaretibotta takwathikhwrcaepn phltrngnisnbsnunkhwamechuxkhxng ebncamin ekraehm xyangirktam thungaemwakarwicyphbwakarlngthunaebbennkhunkhacaihphltxbaethnsungkwakhaechliykhxngtladinrayayaw kyngepnthithkethiyngknxyuinwngwichakarwa saehtukhxngkairekidcakxair fayhnungdngthiklawipaelw echuxwasaehtuekidcakphlthangcitwithya Behavioural Finance naodysastracary richard thaelxr edeniyl khahenman onebl 2004 l odykarnganwicythangcitwithyasnbsnuninkhnathixikfayechuxwasaehtuekidcakkarthihunthimixtraswnthangbychitannmikhwamesiyngsungkwahunodythwip sungkhayninaody yucin fama markh rubinsitn l odymihlkthanchiwa hakmikarprb Asset Pricing Model odyphicarnakhwamesiyngthiekidcakxtraswnbychiekhaipdwy karlngthunaebbennkhunkhannimidihphltxbaethnsungkwakarlngthunaebbthwipaetxyangid kairthisungkwaekidkhuncakkhwamesiyngthimakkwaethannexng khxmulephimetim Fama and French 1996 pccubnidmihnngsuxthixxkmaekiywkbaenwthangdngklawhlayelm thiyxmrbnbthuxwaepnkhmphirkhxngnklngthunkechn aela The Intelligent Investor odyebncamin ekraehm xyangirktam dwywiwthnakarinkarlngthun cungmiaenwkhidxunechnkarlngthuninhunoterw aelapccythangkarbriharcdkar epnecakhxngaenwkhiddngklaw thanepnnklngthunxikthaninyukhnnthiprasbkhwamsaercepnxyangmak aelaidaetnghnngsuxchux khunma inhnngsuxnicasxnihnklngthunphicarnamakkwa sunghlkkarnitangcakhlkkarkhxngekraehmthisxnihnklngthunsuksapccythangpriman pccubnmiaenwkhidaelahlkkartang prayuktaelaaetkaekhnngxxkipcakhlkkarphunthan aetthukaenwkhidkyngtxngxingkbpccythangpriman aelapccythangkhunphaph rwmknephuxpraeminmulkhahunthiehmaasmkarpraeminmulkhakickarkarlngthunaebbkhunkhannmihlayaenwthangxyuthikartikhwam withipraeminmulkhatamaebbkhxngkarlngthunaebbennkhunkhakhxng tamhnngsux Value Investing from Graham to Buffett and Beyond khxng Greenwald aelakhna idaesdngiw 3 withi withitnthunthdaethn Replacement Cost khuxkarhawahaktxngkarsrangkickarnikhunmaihm catxngichenginethaihr withinicaaekikhkarichmulkhathangbychi sungimidrwmtnthunkarsrangkickariwthnghmd echnkhalikhsiththi siththibtr aebrnd khwamniymhruxibxnuyatprakxbkickarechphaa khwamsamarthinkarthakair Earning Power Value phicarnamulkhakickarcakkhwamsamarthinkarsrangenginsd aela hruxkaircakphlprakxbkar karetibot Growth phicarnakhwametibotkhxngphlkairkarichxtraswntangephuxhamulkhaxtraswnrakhatxkair P E hruxmulkhathangbychi P B namaichpraeminmulkhaaebbkhraw id echn P E khxngkickaridtakwa P E echliykhxngkickarxunthithathurkicediywknaelamikhnadiklekhiyngkn thngthiimmipyhaxair yxmthuxwa epnhunthithukkwa tladxaccaihmulkhaphidipinbangchwngewla aelarakhacaklbmathikhwrcaepnid P B thitakwa 1 hmaythungrakhatladkhxnghuntakwamulkhathangbychi odyhlkkarthangbychiaelw hakkarbnthukrakhakhrxbkhlumthngsinthrphythimiaelaimmitwtnepnipxyangsmburn P B khwrcaethakb 1 thi P B takwa 1 xaccaepnipidcakhlaysaehtu xathi karbnthukmulkhasinthrphyimidprbrakhatamkhwamepncring echnthidin ekhruxngckr mulkhaaebrnd likhsiththi hruxmulkhaoxkasthangthurkicinxnakht hruxhakepntamkhwamechuxkhxngkarlngthunaebbkhunkhakkhux nklngthunintladpraeminmulkhahuntakwamulkhathiaethcring hakepnkrnini nklngthunkcamioxkasthakairhakrakhahunklbekhamasumulkhathiehmaasm xyangirktamkarichxtraswnthng P E aela P B kmikhxcakdhlayxyangechn matrthankarbnthukmulkhathangbychikhxngaetlabristhtangkn cungimsamarthethiybknidxyangsmburn withikarthabychikhxngaetlapraethstangkn bxkkhwamesiyngkhxngkickaridimsmburn xnthicring hunthi P E aela P B tann camikhakhwamesiyngsungkwaodyechliy khxmulephimetim lxngxan Fama 1991 aela Fama 1998 mikhwamekhaickhladekhluxnwa P E imbxkthungkhwametibotkhxngkickar xnthicring hunthimi P E sungkenuxngcakwanklngthukkhadhmaykaretibotthisungmaknnexngkarlngthunaebbennkhunkhainpraethsithyinpraethsithy immihlkthanaenchdwamikarlngthunaebbennkhunkhatngaetemuxid hlkthankartuntwinkarlngthunaebbennkhunkhainpraethsithy erimcakkarlmslaykhxngtladhuninwikvtkarnthangkarengininexechiy ph s 2540 aetyngminklngthunklumhnungthisamarthexatwrxdaelathakairinphawawikvtiid inhnngsux tiaetk dr niewsn ehmwchirwrakr echuxwathithansamarthexatwrxdidinehtukarnnn txngkarxangxing sunghlkkarnnkkhuxhlkkarkhxngkarlngthunaebbennkhunkhannexng karlngthunaebbennkhunkhannepnthiniyminhmunklngthunthwipenuxngcakichwithikarimsbsxn imtxngxasykhwamruaekhlkhulshruxsthitisbsxnaebbthitxngichinthvsdikarlngthunsmyihm nklngthunithyxikthanhnungthithuxwaepnaenwennkhunkhakkhux oksl ikrvks phulwnglb thanepnxikphuhnungsungsamarthfuntwhlngcakwikvtiid txngkarxangxing aemcatxngsuyesiy bngl tawnxxkfayaenns ipkbkarsngpidsthabnkarenginktamcudxxnkhxngkarlngthunaebbkhunkha txngkarxangxing karlngthunaebbkhunkhannimichepnaetsastrephiyngxyangediywaetepnsilpadwythungaemwaeracahamulkhathiaethcringidiklekhiyng hrux ekhaicinhlkkardiphxaeteratxngkhwbkhumsphawaxarmnkhxngera imihthukkhwamphnphwn aela khwambakhlngkhxngfungchnkhrxbnga imicheruxngngayelythieracalaelyfungchnphrxmkbyudmninhlkkarinyamthitladthlmthlay karkhwaoxkasyamthiphukhnhwadklw epneruxngyakaetinbangkhrngthaeraklathicaswnkraaeschychnacaepnkhxngera aemwainbangkhrngrakhacaimklbekhasumulkhathiaethcringinrayaewlaxnsnaetthaeraxdthnphltxbaethnthingdngamcaepnkhxngkhun caksthitikhxngnklngthunaebbennkhunkhathnghlaythaiheraechuxwamnepnechnnn aetsingthisakhythisudinkarthieracatdsiniclngthunthukkhrngeracatxngephuxswntangkhwamplxdphy Margin of safty exaiwdwyephraamncaepnebaarxngrbimiheraesiyhayxyanghnkcakkarthlaykhxngtlad thaeraephuxswntangmakphxkhunimcaepntxngklwimwamisetxrmaektcaoynxairmaiskhun aetthakhuncakhaythukxyangipinyamthiekidkartkhnkkhxngtladeraaenanaihkhunsuxkxngthundchnicaehmaasmkwa cudxxnthiaethcringkkhuxtwkhunexngthakhunsamarthkhwbkhumtcitictwexngidkimmisingidthitxngklw imwatladcathlmthlayaekhihnkmnkfuntwklbmaidesmxcaksthititlxdrayaewlaxnyawnanmnthaiheraechuxwamncaepnechnnnbthkhwamthiekiywkhxngtladhun wxern bfeft xtraswnrakhatxkair P E ratio aehlngkhxmulxunewbistsngesrim karlngthunaebbennkhunkha khxrbkarsngesrimkarlngthun BOI aehlngrwmkhnlngthunaebb VIbthkhwamesrsthsastr karengin thurkic hrux karkhaniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk