ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม (อังกฤษ: environmental impact assessment ย่อว่า EIA) หมายถึง การประเมินผลกระทบจากที่จะมีต่อสุขภาพหรือความสมบูรณ์ของสิ่งแวดล้อมทั้งทางบวกและทางลบ รวมทั้งความเสี่ยงที่จะมีผลต่อสภาพความสมบูรณ์ของระบบนิเวศและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นต่อธรรมชาติ ซึ่งบางครั้งอาจนำไปสู่ภัยพิบัติต่อสิ่งแวดล้อมที่ร้ายแรง การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมอาจนิยามได้ว่าเป็น "กระบวนการเพื่อการบ่งชี้ ทำนาย ประเมิน และบรรเทาผลกระทบทางชีวกายภาพ สังคม และผลกระทบที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ ที่มีต่อข้อเสนอการพัฒนาใด ๆ ก่อนที่จะมีการตัดสินใจให้ลงมือดำเนินได้" วัตถุประสงค์ของการประเมินก็เพื่อให้เป็นการประกันได้ว่า ผู้ที่มีอำนาจในการตัดสินใจได้พิจารณาอย่างรอบคอบถึงผลกระทบของโครงการพัฒนาที่จะมีต่อสิ่งแวดล้อม ก่อนทำการอนุมัติให้ดำเนินโครงการที่มีผู้ขออนุญาตดำเนินการ
ภาพรวม
สำนักงานปกป้องสิ่งแวดล้อมสหรัฐฯ (US Environmental Protection Agency - EPA) เป็นผู้บุกเบิกในด้านนี้โดยใช้วิธี “” (pathway analysis) เพื่อพิจารณาว่าโครงการจะกระทบต่อองค์ประกอบต่าง ๆ ของสิ่งแวดล้อมและดูว่าจะมีผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์อย่างไร เทคโนโลยีที่ใช้สำหรับวิเคราะห์ตามวิธีดังกล่าวเรียกอย่างถูกต้องว่า “วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม” หลักการของปรากฏการณ์หรือเส้นทางของผลกระทบดังกล่าวได้แก่: การประเมินผลกระทบที่มีต่อ (Soil contamination) (air pollution) สุขภาพจาก การประเมินผลกระทบต่อระบบนิเวศ ต่อ (endangered species) การประเมินผลกระทบต่อความเสี่ยงทางธรณีวิทยา และการประเมินผลกระทบ นิยามของการวิเคราะห์เชิงเส้นทางและระดับขั้นของธรรมชาติที่นำมาใช้ในวิธีการดังกล่าวนี้ได้พัฒนาเป็นพื้นฐานของมาตรฐานของประเภทสิ่งแวดล้อมที่ใช้ในระดับโลก คือ ISO 14000 ซึ่งเป็นอนุกรมมาตรฐานด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม รวมทั้งมาตรฐานชุดบัญชี ISO 19011 แต่มาตรฐานชุด ISO ดังกล่าวไม่นิยมใช้ในสหรัฐฯ และในอีกหลายประเทศ
หลังการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมแล้ว อาจมีการประยุกต์ใช้ “” (Precautionary Principle) และ “ (Polluter pays) เพื่อเป็นการป้องกัน จำกัด หรือบังคับให้มีการรับผิดตามกฎหมาย หรือให้จ่ายค่าเสียหายที่เกิดกับสภาพแวดล้อมมากน้อยตามผลกระทบที่จะตามมา
การวิเคราะห์ผลกระทบของสิ่งแวดล้อมนี้มักถูกต่อต้านหรือก่อให้เกิดปัญหาโต้เถียงกันขึ้นเสมอ การวิเคราะห์ผลกระทบที่ต้องมีควบคู่กันจึงเกิดขึ้นเรียกว่า “” (Social impact assessment) การวิเคราะห์ผลกระทบต่อธุรกิจเรีกยกว่า “” (Context analysis) ผลกระทบด้านการออกแบบจะทำการวิเคราะห์ด้วยเชิงของ “” (Context theory)
การประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในประเทศต่าง ๆ ในโลก
จีน
ในประเทศจีน กฎหมายการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมบังคับให้มีการประเมินผลกระทบที่จะมีต่อสิ่งแวดล้อมให้เรียบร้อย ก่อนที่จะดำเนินการก่อสร้างโครงการ อย่างไรก็ดี หากเจ้าของโครงการหรือผู้พัฒนาดื้อแพ่งไม่ดำเนินการประเมินและจัดส่งผลการประเมินฯ บทลงโทษอย่างมากก็คือ สำนักงานปกป้องสิ่งแวดล้อม (EPB) จะบังคับให้ผู้พัฒนาโครงการทำการประเมินตามมาในภายหลังได้ และถ้าผู้พัฒนาไม่ยอมทำภายในเวลาที่กำหนดให้ EPB จึงจะปรับผู้พัฒนาได้ และค่าปรับอย่างสูงกำหนดไว้มากที่สุดไม่เกิน 25,000 ดอลลาร์สหรัฐ (ประมาณ 850,000 บาท) ซึ่งเป็นมูลค่าเพียงน้อยนิดเมื่อเทียบกับมูลค่าของโครงการ การขาดกลไกและมาตรการที่เข้มงวด มีผลทำให้จำนวนโครงการที่ไม่ยอมส่งผลประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมก่อนลงมือก่อสร้างทวีจำนวนเป็นอย่างมาก
องค์การปกป้องสิ่งแวดล้อมระดับรัฐ (SEPA) ของจีนได้ใช้กฎหมายระงับการก่อสร้างไป 30 โครงการเมื่อ พ.ศ. 2547 รวมทั้งโครงการโรงไฟฟ้าพลังน้ำ 3 โครงการของบริษัทโครงการ "เขื่อนซานเสียต้าป้า" (เขื่อนสามผา) แต่ถึงกระนั้น ในหนึ่งเดือนต่อมา โครงการที่ถูกระงับทั้ง 30 โครงการก็สามารถเริ่มก่อสร้างต่อไปได้ นัยว่าได้ผ่านการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมไปแล้ว และดูไม่ออกด้วยซ้ำว่าการก่อสร้างโครงการใหญ่ ๆ ได้เคยถูกระงับมาแล้ว
การสอบสวนร่วมระหว่าง SEPA และกระทรวงที่ดินและทรัพยากรเมื่อ พ.ศ. 2547 แสดงให้เห็นว่า ร้อยละ 30 ถึง 40 ของโครงการทำเหมืองเท่านั้นที่ผ่านกระบวนการขั้นตอนที่กำหนดของการประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม ในขณะที่โครงการในพื้นที่อื่น ๆ ผ่านการประเมินเพียงร้อยละ 6 ถึง 7 ซึ่งเป็นการอธิบายว่าเหตุใดจีนจึงมีอุบัติในการทำเหมืองมากมายในช่วงหลายปีที่ผ่านมา
ศาสตราจารย์หวาง คานฟา (Wang Canfa) ผู้อำนวยการศูนย์ช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติสิ่งแวดล้อมแห่งมหาวิทยาลัยรัฐศาสตร์และกฎหมายให้ความเห็นว่า ลำพัง SEPA เองไม่อาจรับประกันการบังคับใช้กฎหมายและข้อบังคับทางสิ่งแวดล้อม และว่าอัตราการบังคับใช้กฎหมายและข้อบังคับสิ่งแวดล้อมนับได้อย่างมากก็เพียงร้อยละ 10 เท่านั้น
สหภาพยุโรป
แนวทางการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของโครงการต่าง ๆ ที่อาจมีผลต่อสิ่งแวดล้อมของกลุ่มประเทศสหภาพยุโรปเริ่มเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2528 และปรับปรุงแก้ไขเมื่อ พ.ศ. 2540 แนวทางดังกล่าวได้รับการแก้ไขอีกครั้งหนึ่งใน พ.ศ. 2546 สืบเนื่องจากการลงนามโดยกลุ่มประเทศในสหภาพยุโรปในคราว (Aarhus Convention) ว่าด้วยในด้านสิ่งแวดล้อม ประเด็นปัญหาได้รับการขยายขอบเขตไปถึงการประเมินแผนและโปรแกรมด้วย "" (SEA-Directive) เมื่อ พ.ศ. 2544 ซึ่งใช้บังคับอยู่ในปัจจุบันและได้กำหนดแนวทางการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมให้เป็นแบบผสม คือมีทั้ง ภาคบังคับ และ ภาคตามควร
ภายใต้แนวทางของสหภาพฯ การประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจะต้องจัดทำการประเมินตามข้อกำหนด ซึ่งประกอบด้วยกลุ่มหลักที่จะต้องเน้น 7 กลุ่ม ประกอบด้วย
- รายละเอียดเกี่ยวกับโครงการ
- รายละเอียดที่เฉพาะเจาะจงของโครงการและที่ตั้ง
- การแบ่งย่อยส่วนประกอบของโครงการออกเป็นส่วนหลัก ๆ เช่น การก่อสร้าง การดำเนินการ การหยุดการดำเนินการ
- ในแต่ละองค์ประกอบให้แจงแหล่งที่จะรบกวนหรือกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
- ในแต่ละองค์ประกอบจะต้องแจงถึงสิ่งป้อนเข้าและผลปล่อยออก เช่น ขยะ ของเสีย
- ทางเลือกที่ได้รับการพิจารณาแล้ว
- ตรวจสอบทางเลือกที่ได้รับการพิจารณาแล้ว
- เช่น ในที่พิจารณาจะให้เป็นแหล่งพลังงานแก่ท้องถิ่นหรือแก่ระดับชาติ
- รายละเอียดของสิ่งแวดล้อม
- แจงรายละเอียดทุกแง่มุมของสิ่งแวดล้อมที่อาจได้รับผลกระทบการโครงการพัฒนานี้
- เช่น ประชากร สัตว์และพืช อากาศ ดิน น้ำ มนุษย์ ภูมิทัศน์ มรดกทางวัฒนธรรม
- รายละเอียดในหมวดนี้ควรให้ผู้เชี่ยวชาญในท้องถิ่นเป็นผู้ดำเนินการเพื่อให้ได้ผลดีที่สุด เช่น “” ในสหราชอาณาจักร
- รายละเอียดผลกระทบสำคัญที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อม
- คำว่า “สำคัญ” ในที่นี้มีความสำคัญมาก เนื่องจากระดับการให้ความสำคัญมีความผันแปรได้มาก
- จะต้องมีการให้นิยามของคำว่า “สำคัญ”
- วิธีการที่ใช้บ่อยมากในเรื่องนี้คือ “” หรือ ลีโอโปลด์เมทริกซ์ (Leopold matrix)
- แม่แบบนี้คือเครื่องมือที่นำมาใช้ในการตรวจสอบอย่างเป็นระบบใน
- เช่น ในการสร้าง (windfarm) ผลกระทบที่สำคัญอาจได้แก่การปะทะกับฝูงนก
- การบรรเทาผลกระทบ
- นี่คือส่วนที่เป็นประโยชน์ที่สุดของการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
- เมื่อทำหมวด 4 แล้วเสร็จก็จะเห็นได้ว่าผลกระทบที่รุนแรงที่สุดจะเกิดในส่วนใด
- ใช้ข้อมูลที่ได้ในส่วนนี้มาพัฒนาวิธีหลีกเลี่ยงหรือลดผลกระทบ
- ทำเรื่องในหมวดนี้ร่วมกับเจ้าของโครงการเนื่องจากเป็นผู้รู้รายละเอียดของโครงการมากที่สุด
- ใช้ตัวอย่างการสร้างลานกลุ่มกังหันลม อาจได้แก่การพักการใช้กังหันลมในฤดูผสมพันธุ์ของนก
- การสรุปด้านที่ไม่ใช่เทคนิค
- การประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจะถือเป็นเรื่องสาธารณะและจะต้องนำมาใช้ใน
- การเปิดเผยและแจกจ่ายข้อมูลต่อสาธารณชนถือเป็นสิ่งสำคัญ
- เนื้อหาในหมวดนี้เป็นการสรุปที่ไม่ต้องใช้ศัพท์เฉพาะทางเทคนิคหรือการแสดงแผนภูมิที่ซับซ้อน
- ควรให้ประชาชนทั่วไปที่จำเป็นต้องรับทราบเข้าใจได้ง่าย
- การขาดความรู้ความชำนาญ / ความยุ่งยากทางเทคนิค
- หมวดนี้มีไว้สำหรับให้ข้อแนะนำส่วนที่ยังอ่อนในด้านความรู้
- สามารถนำไปใช้กำหนดเน้นเรื่องที่ควรทำการวิจัยในอนาคต
- เจ้าของโครงการบางรายเห็นว่าการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมนี้เป็นพื้นฐานขั้นต้นที่ดีสำหรับการจัดการด้านสิ่งแวดล้อมของโครงการที่ตนต้องทำในขั้นตอนต่อไป
นิวซีแลนด์
ในประเทศนิวซีแลนด์ ปกติการประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจะหมายถึง “การประเมินผลที่ตามมาที่มีต่อสิ่งแวดล้อม” (Assessment of Environmental Effects - AEE) การใช้การประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมครั้งแรก เริ่มจากมติคณะรัฐมนตรีเมื่อ พ.ศ. 2517 โดยเรียกว่า “การปกป้องสิ่งแวดล้อมและขั้นตอนในการปรุบปรุง” (Environmental Protection and Enhancement Procedures) การนี้ไม่ได้ใช้บังคับเป็นกฎหมายแต่ใช้เฉพาะในหน่วยงานของรัฐ แต่เมื่อมีการประกาศใช้ “พระราชบัญญัติการจัดการทรัพยากร” (Resource Management Act) เมื่อ พ.ศ. 2534 การประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมกลายเป็นข้อบังคับให้เป็นส่วนหนึ่งของการขออนุญาตดำเนินการด้านทรัพยากร โดยตราไว้โดยชัดเจนในมาตรา 88
สหรัฐอเมริกา
ภายใน กฎหมายสิ่งแวดล้อมแห่งสหรัฐฯ การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม บ่งถึงด้วยวลีว่า “ข้อแถลงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม” (Environmental Impact Statement - EIS) ซึ่งมีต้นตอมาจาก กฎหมายนโยบายสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ (National Environmental Policy Act - NEPA) ที่ประกาศใช้เมื่อ พ.ศ. 2512 การปฏิบัติการของหน่วยงานกลางบางหน่วยจึงยังต้องเป็นไปตามกฎหมายฉบับนี้อยู่ ทำให้เกิดความเข้าใจผิดว่ากฎหมายเดิมไม่ห้ามหน่วยงานกลางของสหรัฐหรือผู้รับสัมปทานจากรัฐบาลกลางให้ทำสิ่งที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมได้ และไม่มีบทลงโทษสำหรับ ”ข้อแถลงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม” ที่นำส่ง กฎหมายนโยบายสิ่งแวดล้อมแห่งชาติต้องการเพียงให้ข้อแถลงที่พอรับฟังได้ว่าจะมีผลกระทบนั้นได้รับการเปิดเผยล่วงหน้า ซึ่งเป็นข้อบังคับเพียงประการเดียว
ตามปกติ หน่วยงานจะแจกจ่าย “ร่างข้อแถลงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม” (DEIS) เพื่อให้มีการวิพากษ์วิจารณ์ ผู้สนใจและสาธารณชนจะมีโอกาสแสดงความคิดเห็นต่อร่าง จากนั้น หน่วยงานก็จะรับรองผลเป็น “ข้อแถลงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมขั้นสุดท้าย” (FEIS) บางครั้ง หน่วยงานอาจแจกจ่าย “ข้อแถลงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมส่วนเพิ่ม” (SEIS) ให้ประชาชนได้รับทราบ
ความเพียงพอหรือไม่ของข้อแถลงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม หรือ EIS อาจนำเข้าสู่กระบวนการในศาลได้ โครงการใหญ่ ๆ จึงมักถูกต่อต้านเนื่องจากความบกพร่องของหน่วยงานในการจัดเตรียมข้อแถลงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่ดีพอ ตัวอย่างที่โด่งดังได้แก่ และโครงการก่อสร้างทางหลวงตามแม่น้ำฮัดสันในนครนิวยอร์ก ตัวอย่างที่ชัดเจนอีกตัวอย่างหนึ่งได้แก่กรณีที่ฟ้องกรมทางหลวงแห่งรัฐเนวาดาที่ปฏิเสธคำขอให้กรมฯ ออก “ข้อแถลงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมส่วนเพิ่ม” (SEIS) ว่าด้วยการปลดปล่อยและมลพิษของยานยนต์ที่เพิ่มจากการขยายทางหลวงสาย 95 ผ่านลาสเวกัสให้ประชาชนได้รับทราบ. การดำเนินคดีถึงศาลมีผลให้ต้องหยุดการก่อสร้างไว้ก่อนจนกว่าศาลจะตัดสิน กรณีนี้ตกลงยอมความกันได้ก่อนศาลมีคำตัดสิน
รัฐบาลระดับรัฐในหลายรัฐได้ยอมรับ นำมาใช้บังคับในกฎหมายของรัฐที่บังคับให้ต้องมีการจัดทำข้อแถลงผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมของโครงการบางโครงการของรัฐ และในกฎหมายของรัฐบางฉบับได้กล่าวถึงการที่จะต้องมีการศึกษาผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมโดยใช้วลีว่า “รายงานผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม” หรือ “การประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม” เช่น กฎหมายคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งรัฐแคลิฟอร์เนีย (California Environmental Quality Act -CEQA) ที่บังคับให้ต้องจัดทำรายงายผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม (EIR)
ข้อบังคับที่ใช้บังคับของรัฐต่าง ๆ มีผลที่ทำให้ได้ข้อมูลจำนวนมากที่ไม่เฉพาะผลกระทบที่มีต่อโครงการเฉพาะราย แต่ยังช่วยอธิบายให้ความกระจ่างทางวิทยาศาสตร์ที่ยังไม่เคยได้รับการศึกษาวิจัยที่ดีพอมาก่อน ตัวอย่างเช่น รายงานผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่ทำส่งเมือง รัฐแคลิฟอร์เนีย ที่มีข้อมูลสำคัญที่เผยให้เห็นรายชื่อชนิดของสิ่งมีชีวิตใกล้สูญพันธุ์ของหน่วยงานรัฐบาลกลางที่เรียกกันว่า “” (Hickman's potentilla) หรือรายชื่อพืชสมุนไพรชายฝั่งชนิดใกล้สูญพันธุ์ยังขาดดอกไม้ป่าที่เป็นตระกูลกุหลาบที่หายากมากที่มีขึ้นอยู่เฉพาะถิ่นนี้
ประเทศไทย
ประเทศไทยได้ประกาศใช้กฎหมายสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นทางการฉบับแรก คือ พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2518 ซึ่งได้กำหนดให้มีการแต่งตั้งขึ้น มีอำนาจหน้าที่ คือ
- เสนอนโยบายและความเห็นเกี่ยวกับการส่งเสริมและรักษา
- ให้ความเห็นเกี่ยวกับโครงการ ที่อาจส่งผลเสียหายต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อม
ต่อมาได้มีการออก ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2521 ทั้งนี้เนื่องจากพระราชบัญญัติ ฉบับที่ 1 มิได้มีการระบุให้แน่ชัดเกี่ยวกับอำนาจและหน้าที่ของสำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติบางเรื่อง จึงก่อให้เกิดปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินการ ดังนั้น จึงได้มีการแก้ไขปรับปรุงพระราชบัญญัติ ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2518 โดยได้กำหนดอำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติให้ชัดเจนและรัดกุมขึ้นกว่าเดิมรวม 3 ประการ คือ
- กำหนดให้มีการจัดทำสำหรับโครงการพัฒนาของรัฐและกิจกรรมบางประเภทของเอกชน
- ให้อำนาจในการกำหนด ที่มิได้อยู่ในความรับผิดชอบของหน่วยราชการใด ตลอดจนการกำหนดวิธีการตรวจสอบคุณภาพสิ่งแวดล้อม
- ดำเนินการในด้านการจัดการเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในกรณีที่ฉุกเฉิน
สำหรับกฎหมายที่เกี่ยวข้องอื่น ๆ สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติสามารถเสนอแนะให้มีการปรับปรุงแก้ไขเพื่อเอื้ออำนวยต่อการบริหารสิ่งแวดล้อม และแก้ไขอุปสรรคและข้อขัดข้องในทางปฏิบัติได้
ในเดือนกันยายน พ.ศ. 2524 สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ได้กำหนดให้มีการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมของโครงการ หรือกิจการบางประเภทและบางขนาด โดยอาศัยอำนาจตามประกาศกฎกระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและการพลังงานซึ่งมีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 27 กันยายน พ.ศ. 2524 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้มีการศึกษาเกี่ยวกับและคุณค่าต่าง ๆ ที่มีต่อมนุษย์ที่อาจจะถูกกระทบกระเทือน เนื่องจากโครงการหรือกิจการนั้น ๆ (สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2527)
ในปี พ.ศ. 2535 ได้มีการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงกฎหมายสิ่งแวดล้อมออกเป็น พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 ในส่วนของการทำรายงานวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมได้ปรากฏใน ส่วนที่ 4 มาตราที่ 46 ถึง มาตราที่ 51
กฎหมายฉบับดังกล่าวได้มีการกำหนดหลักเกณฑ์แก่ผู้รักษาการ (แต่ยังมิได้ระบุไว้ในมาตราโดยตรง) วิธีการ ระเบียบปฏิบัติ แนวทางการจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมตลอดจนเอกสารที่เกี่ยวข้องซึ่งต้องนำเสนอพร้อมรายงานฯ เพิ่มเติม
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 ได้ระบุไว้ชัดในมาตราที่ 56 โดยมีประเด็นหลักที่สำคัญ คือ โครงการพัฒนาใด ๆ ก็ตามที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและคุณภาพชีวิตชุมชน จะไม่ได้รับอนุญาตให้ดำเนินกิจการใด ๆ หากไม่มีการศึกษาผลกระทบสิ่งแวดล้อมก่อน ดังนั้น จากกฎหมายหลักฉบับนี้ของไทย ทำให้กฎหมายและข้อบังคับต่าง ๆ ต้องปฏิบัติตามภายใต้เงื่อนไขดังกล่าว
อ้างอิง
- (PDF). International Association for Impact Assessment. 1999. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (pdf)เมื่อ 2008-06-25.
- Wang, Alex (2007-02-05). "Environmental protection in China: the role of law".
- Gu, Lin (2005-09-29). "China Improves Enforcement of Environmental Laws". China Features.
- Watson, Michael (November 13–15, 2003). . XIV International Conference "Danube-River of Cooperation". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2007-03-28.
{{}}
: CS1 maint: date format () - Court decision 2004-03-28 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน in v.
- Ritter, John (2003-06-03). "Lawsuit pits risks and roads". USA Today.
- (PDF). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2012-10-04. สืบค้นเมื่อ 2008-01-28.
- Petts, J. (ed), Handbook of Environmental Impact Assessment Vol 1 & 2, Blackwell, Oxford
- Environmental Impact Assessment Review (1980 - ), Elsevier
- Glasson, J; Therivel, R; Chadwick A, Introduction to Environmental Impact Assessment, (2005) Routledge, London
- กนกพร สว่างแจ้ง.การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม.กรุงเทพ : โรงพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช,2545
- Petts, J. (ed), Handbook of Environmental Impact Assessment Vol 1 & 2, Blackwell, Oxford
- Environmental Impact Assessment Review (1980 - ), Elsevier
- Glasson, J; Therivel, R; Chadwick A, Introduction to Environmental Impact Assessment, (2005) Routledge, London
แหล่งข้อมูลอื่น
- European Commission - EIA website
- Environmental Impact Assessment at the University of Sydney
- Guide to Environmental Impact Assessment and Design[]
- International Association for Impact Assessment (IAIA)
- Dutch Commission for EIA
- UNU Open Educational Resource on EIA: A Course Module, Wiki and Instructional Guide 2017-08-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisud karpraeminphlkrathbsingaewdlxm xngkvs environmental impact assessment yxwa EIA hmaythung karpraeminphlkrathbcakthicamitxsukhphaphhruxkhwamsmburnkhxngsingaewdlxmthngthangbwkaelathanglb rwmthngkhwamesiyngthicamiphltxsphaphkhwamsmburnkhxngrabbniewsaelakarepliynaeplngthicaekidkhuntxthrrmchati sungbangkhrngxacnaipsuphyphibtitxsingaewdlxmthirayaerng karpraeminphlkrathbsingaewdlxmxacniyamidwaepn krabwnkarephuxkarbngchi thanay praemin aelabrrethaphlkrathbthangchiwkayphaph sngkhm aelaphlkrathbthiekiywkhxngxun thimitxkhxesnxkarphthnaid kxnthicamikartdsinicihlngmuxdaeninid wtthuprasngkhkhxngkarpraeminkephuxihepnkarpraknidwa phuthimixanacinkartdsinicidphicarnaxyangrxbkhxbthungphlkrathbkhxngokhrngkarphthnathicamitxsingaewdlxm kxnthakarxnumtiihdaeninokhrngkarthimiphukhxxnuyatdaeninkarphaphrwmsanknganpkpxngsingaewdlxmshrth US Environmental Protection Agency EPA epnphubukebikindanniodyichwithi pathway analysis ephuxphicarnawaokhrngkarcakrathbtxxngkhprakxbtang khxngsingaewdlxmaeladuwacamiphlkrathbtxsukhphaphkhxngmnusyxyangir ethkhonolyithiichsahrbwiekhraahtamwithidngklaweriykxyangthuktxngwa withyasastrsingaewdlxm hlkkarkhxngpraktkarnhruxesnthangkhxngphlkrathbdngklawidaek karpraeminphlkrathbthimitx Soil contamination air pollution sukhphaphcak karpraeminphlkrathbtxrabbniews tx endangered species karpraeminphlkrathbtxkhwamesiyngthangthrniwithya aelakarpraeminphlkrathb niyamkhxngkarwiekhraahechingesnthangaelaradbkhnkhxngthrrmchatithinamaichinwithikardngklawniidphthnaepnphunthankhxngmatrthankhxngpraephthsingaewdlxmthiichinradbolk khux ISO 14000 sungepnxnukrmmatrthandankarcdkarsingaewdlxm rwmthngmatrthanchudbychi ISO 19011 aetmatrthanchud ISO dngklawimniymichinshrth aelainxikhlaypraeths hlngkarwiekhraahphlkrathbsingaewdlxmaelw xacmikarprayuktich Precautionary Principle aela Polluter pays ephuxepnkarpxngkn cakd hruxbngkhbihmikarrbphidtamkdhmay hruxihcaykhaesiyhaythiekidkbsphaphaewdlxmmaknxytamphlkrathbthicatamma karwiekhraahphlkrathbkhxngsingaewdlxmnimkthuktxtanhruxkxihekidpyhaotethiyngknkhunesmx karwiekhraahphlkrathbthitxngmikhwbkhukncungekidkhuneriykwa Social impact assessment karwiekhraahphlkrathbtxthurkicerikykwa Context analysis phlkrathbdankarxxkaebbcathakarwiekhraahdwyechingkhxng Context theory karpraeminphlkrathbtxsingaewdlxminpraethstang inolkcin inpraethscin kdhmaykarpraeminphlkrathbsingaewdlxmbngkhbihmikarpraeminphlkrathbthicamitxsingaewdlxmiheriybrxy kxnthicadaeninkarkxsrangokhrngkar xyangirkdi hakecakhxngokhrngkarhruxphuphthnaduxaephngimdaeninkarpraeminaelacdsngphlkarpraemin bthlngothsxyangmakkkhux sanknganpkpxngsingaewdlxm EPB cabngkhbihphuphthnaokhrngkarthakarpraemintammainphayhlngid aelathaphuphthnaimyxmthaphayinewlathikahndih EPB cungcaprbphuphthnaid aelakhaprbxyangsungkahndiwmakthisudimekin 25 000 dxllarshrth praman 850 000 bath sungepnmulkhaephiyngnxynidemuxethiybkbmulkhakhxngokhrngkar karkhadklikaelamatrkarthiekhmngwd miphlthaihcanwnokhrngkarthiimyxmsngphlpraeminphlkrathbsingaewdlxmkxnlngmuxkxsrangthwicanwnepnxyangmak xngkhkarpkpxngsingaewdlxmradbrth SEPA khxngcinidichkdhmayrangbkarkxsrangip 30 okhrngkaremux ph s 2547 rwmthngokhrngkarorngiffaphlngna 3 okhrngkarkhxngbristhokhrngkar ekhuxnsanesiytapa ekhuxnsampha aetthungkrann inhnungeduxntxma okhrngkarthithukrangbthng 30 okhrngkarksamartherimkxsrangtxipid nywaidphankarpraeminphlkrathbsingaewdlxmipaelw aeladuimxxkdwysawakarkxsrangokhrngkarihy idekhythukrangbmaaelw karsxbswnrwmrahwang SEPA aelakrathrwngthidinaelathrphyakremux ph s 2547 aesdngihehnwa rxyla 30 thung 40 khxngokhrngkarthaehmuxngethannthiphankrabwnkarkhntxnthikahndkhxngkarpraeminphlkrathbsingaewdlxm inkhnathiokhrngkarinphunthixun phankarpraeminephiyngrxyla 6 thung 7 sungepnkarxthibaywaehtuidcincungmixubtiinkarthaehmuxngmakmayinchwnghlaypithiphanma sastracaryhwang khanfa Wang Canfa phuxanwykarsunychwyehluxphuprasbphyphibtisingaewdlxmaehngmhawithyalyrthsastraelakdhmayihkhwamehnwa laphng SEPA exngimxacrbpraknkarbngkhbichkdhmayaelakhxbngkhbthangsingaewdlxm aelawaxtrakarbngkhbichkdhmayaelakhxbngkhbsingaewdlxmnbidxyangmakkephiyngrxyla 10 ethann shphaphyuorp aenwthangkarpraeminphlkrathbtxsingaewdlxmkhxngokhrngkartang thixacmiphltxsingaewdlxmkhxngklumpraethsshphaphyuorperimepnkhrngaerkemux ph s 2528 aelaprbprungaekikhemux ph s 2540 aenwthangdngklawidrbkaraekikhxikkhrnghnungin ph s 2546 subenuxngcakkarlngnamodyklumpraethsinshphaphyuorpinkhraw Aarhus Convention wadwyindansingaewdlxm praednpyhaidrbkarkhyaykhxbekhtipthungkarpraeminaephnaelaopraekrmdwy SEA Directive emux ph s 2544 sungichbngkhbxyuinpccubnaelaidkahndaenwthangkarpraeminphlkrathbtxsingaewdlxmihepnaebbphsm khuxmithng phakhbngkhb aela phakhtamkhwr phayitaenwthangkhxngshphaph karpraeminphlkrathbtxsingaewdlxmcatxngcdthakarpraemintamkhxkahnd sungprakxbdwyklumhlkthicatxngenn 7 klum prakxbdwy raylaexiydekiywkbokhrngkar raylaexiydthiechphaaecaacngkhxngokhrngkaraelathitng karaebngyxyswnprakxbkhxngokhrngkarxxkepnswnhlk echn karkxsrang kardaeninkar karhyudkardaeninkar inaetlaxngkhprakxbihaecngaehlngthicarbkwnhruxkrathbtxsingaewdlxm inaetlaxngkhprakxbcatxngaecngthungsingpxnekhaaelaphlplxyxxk echn khya khxngesiy thangeluxkthiidrbkarphicarnaaelw trwcsxbthangeluxkthiidrbkarphicarnaaelw echn inthiphicarnacaihepnaehlngphlngnganaekthxngthinhruxaekradbchati raylaexiydkhxngsingaewdlxm aecngraylaexiydthukaengmumkhxngsingaewdlxmthixacidrbphlkrathbkarokhrngkarphthnani echn prachakr stwaelaphuch xakas din na mnusy phumithsn mrdkthangwthnthrrm raylaexiydinhmwdnikhwrihphuechiywchayinthxngthinepnphudaeninkarephuxihidphldithisud echn inshrachxanackr raylaexiydphlkrathbsakhythimiphltxsingaewdlxm khawa sakhy inthinimikhwamsakhymak enuxngcakradbkarihkhwamsakhymikhwamphnaepridmak catxngmikarihniyamkhxngkhawa sakhy withikarthiichbxymakineruxngnikhux hrux lioxopldemthriks Leopold matrix aemaebbnikhuxekhruxngmuxthinamaichinkartrwcsxbxyangepnrabbin echn inkarsrang windfarm phlkrathbthisakhyxacidaekkarpathakbfungnk karbrrethaphlkrathb nikhuxswnthiepnpraoychnthisudkhxngkarpraeminphlkrathbtxsingaewdlxm emuxthahmwd 4 aelwesrckcaehnidwaphlkrathbthirunaerngthisudcaekidinswnid ichkhxmulthiidinswnnimaphthnawithihlikeliynghruxldphlkrathb thaeruxnginhmwdnirwmkbecakhxngokhrngkarenuxngcakepnphururaylaexiydkhxngokhrngkarmakthisud ichtwxyangkarsranglanklumknghnlm xacidaekkarphkkarichknghnlminvduphsmphnthukhxngnk karsrupdanthiimichethkhnikh karpraeminphlkrathbtxsingaewdlxmcathuxepneruxngsatharnaaelacatxngnamaichin karepidephyaelaaeckcaykhxmultxsatharnchnthuxepnsingsakhy enuxhainhmwdniepnkarsrupthiimtxngichsphthechphaathangethkhnikhhruxkaraesdngaephnphumithisbsxn khwrihprachachnthwipthicaepntxngrbthrabekhaicidngay karkhadkhwamrukhwamchanay khwamyungyakthangethkhnikh hmwdnimiiwsahrbihkhxaenanaswnthiyngxxnindankhwamru samarthnaipichkahndenneruxngthikhwrthakarwicyinxnakht ecakhxngokhrngkarbangrayehnwakarpraeminphlkrathbtxsingaewdlxmniepnphunthankhntnthidisahrbkarcdkardansingaewdlxmkhxngokhrngkarthitntxngthainkhntxntxipniwsiaelnd inpraethsniwsiaelnd pktikarpraeminphlkrathbtxsingaewdlxmcahmaythung karpraeminphlthitammathimitxsingaewdlxm Assessment of Environmental Effects AEE karichkarpraeminphlkrathbtxsingaewdlxmkhrngaerk erimcakmtikhnarthmntriemux ph s 2517 odyeriykwa karpkpxngsingaewdlxmaelakhntxninkarprubprung Environmental Protection and Enhancement Procedures karniimidichbngkhbepnkdhmayaetichechphaainhnwyngankhxngrth aetemuxmikarprakasich phrarachbyytikarcdkarthrphyakr Resource Management Act emux ph s 2534 karpraeminphlkrathbtxsingaewdlxmklayepnkhxbngkhbihepnswnhnungkhxngkarkhxxnuyatdaeninkardanthrphyakr odytraiwodychdecninmatra 88 shrthxemrika phayin kdhmaysingaewdlxmaehngshrth karpraeminphlkrathbsingaewdlxm bngthungdwywliwa khxaethlngphlkrathbtxsingaewdlxm Environmental Impact Statement EIS sungmitntxmacak kdhmaynoybaysingaewdlxmaehngchati National Environmental Policy Act NEPA thiprakasichemux ph s 2512 karptibtikarkhxnghnwynganklangbanghnwycungyngtxngepniptamkdhmaychbbnixyu thaihekidkhwamekhaicphidwakdhmayedimimhamhnwynganklangkhxngshrthhruxphurbsmpthancakrthbalklangihthasingthimiphlkrathbtxsingaewdlxmid aelaimmibthlngothssahrb khxaethlngphlkrathbtxsingaewdlxm thinasng kdhmaynoybaysingaewdlxmaehngchatitxngkarephiyngihkhxaethlngthiphxrbfngidwacamiphlkrathbnnidrbkarepidephylwnghna sungepnkhxbngkhbephiyngprakarediyw tampkti hnwyngancaaeckcay rangkhxaethlngphlkrathbtxsingaewdlxm DEIS ephuxihmikarwiphakswicarn phusnicaelasatharnchncamioxkasaesdngkhwamkhidehntxrang caknn hnwyngankcarbrxngphlepn khxaethlngphlkrathbtxsingaewdlxmkhnsudthay FEIS bangkhrng hnwynganxacaeckcay khxaethlngphlkrathbtxsingaewdlxmswnephim SEIS ihprachachnidrbthrab khwamephiyngphxhruximkhxngkhxaethlngphlkrathbtxsingaewdlxm hrux EIS xacnaekhasukrabwnkarinsalid okhrngkarihy cungmkthuktxtanenuxngcakkhwambkphrxngkhxnghnwynganinkarcdetriymkhxaethlngphlkrathbtxsingaewdlxmthidiphx twxyangthiodngdngidaek aelaokhrngkarkxsrangthanghlwngtamaemnahdsninnkhrniwyxrk twxyangthichdecnxiktwxyanghnungidaekkrnithifxngkrmthanghlwngaehngrthenwadathiptiesthkhakhxihkrm xxk khxaethlngphlkrathbtxsingaewdlxmswnephim SEIS wadwykarpldplxyaelamlphiskhxngyanyntthiephimcakkarkhyaythanghlwngsay 95 phanlasewksihprachachnidrbthrab kardaeninkhdithungsalmiphlihtxnghyudkarkxsrangiwkxncnkwasalcatdsin krninitklngyxmkhwamknidkxnsalmikhatdsin rthbalradbrthinhlayrthidyxmrb namaichbngkhbinkdhmaykhxngrththibngkhbihtxngmikarcdthakhxaethlngphlkrathbtxsingaewdlxmkhxngokhrngkarbangokhrngkarkhxngrth aelainkdhmaykhxngrthbangchbbidklawthungkarthicatxngmikarsuksaphlkrathbtxsingaewdlxmodyichwliwa raynganphlkrathbtxsingaewdlxm hrux karpraeminphlkrathbtxsingaewdlxm echn kdhmaykhunphaphsingaewdlxmaehngrthaekhlifxreniy California Environmental Quality Act CEQA thibngkhbihtxngcdtharayngayphlkrathbtxsingaewdlxm EIR khxbngkhbthiichbngkhbkhxngrthtang miphlthithaihidkhxmulcanwnmakthiimechphaaphlkrathbthimitxokhrngkarechphaaray aetyngchwyxthibayihkhwamkracangthangwithyasastrthiyngimekhyidrbkarsuksawicythidiphxmakxn twxyangechn raynganphlkrathbtxsingaewdlxmthithasngemuxng rthaekhlifxreniy thimikhxmulsakhythiephyihehnraychuxchnidkhxngsingmichiwitiklsuyphnthukhxnghnwynganrthbalklangthieriykknwa Hickman s potentilla hruxraychuxphuchsmuniphrchayfngchnidiklsuyphnthuyngkhaddxkimpathiepntrakulkuhlabthihayakmakthimikhunxyuechphaathinni praethsithy praethsithyidprakasichkdhmaysingaewdlxmxyangepnthangkarchbbaerk khux phrarachbyytisngesrimaelarksakhunphaphsingaewdlxmaehngchati ph s 2518 sungidkahndihmikaraetngtngkhun mixanachnathi khux esnxnoybayaelakhwamehnekiywkbkarsngesrimaelarksa ihkhwamehnekiywkbokhrngkar thixacsngphlesiyhaytxkhunphaphsingaewdlxm txmaidmikarxxkchbbthi 2 ph s 2521 thngnienuxngcakphrarachbyyti chbbthi 1 miidmikarrabuihaenchdekiywkbxanacaelahnathikhxngsankngankhnakrrmkarsingaewdlxmaehngchatibangeruxng cungkxihekidpyhaaelaxupsrrkhinkardaeninkar dngnn cungidmikaraekikhprbprungphrarachbyyti chbbthi 1 ph s 2518 odyidkahndxanachnathikhxngkhnakrrmkarsingaewdlxmaehngchatiihchdecnaelardkumkhunkwaedimrwm 3 prakar khux kahndihmikarcdthasahrbokhrngkarphthnakhxngrthaelakickrrmbangpraephthkhxngexkchn ihxanacinkarkahnd thimiidxyuinkhwamrbphidchxbkhxnghnwyrachkarid tlxdcnkarkahndwithikartrwcsxbkhunphaphsingaewdlxm daeninkarindankarcdkarekiywkbsingaewdlxminkrnithichukechin sahrbkdhmaythiekiywkhxngxun sankngankhnakrrmkarsingaewdlxmaehngchatisamarthesnxaenaihmikarprbprungaekikhephuxexuxxanwytxkarbriharsingaewdlxm aelaaekikhxupsrrkhaelakhxkhdkhxnginthangptibtiid ineduxnknyayn ph s 2524 sankngankhnakrrmkarsingaewdlxmaehngchati idkahndihmikarcdtharayngankarwiekhraahphlkrathbsingaewdlxmkhxngokhrngkar hruxkickarbangpraephthaelabangkhnad odyxasyxanactamprakaskdkrathrwngwithyasastr ethkhonolyiaelakarphlngngansungmiphlbngkhbichtngaetwnthi 27 knyayn ph s 2524 odymiwtthuprasngkhephuxihmikarsuksaekiywkbaelakhunkhatang thimitxmnusythixaccathukkrathbkraethuxn enuxngcakokhrngkarhruxkickarnn sankngankhnakrrmkarsingaewdlxmaehngchati ph s 2527 inpi ph s 2535 idmikarprbprungaelaepliynaeplngkdhmaysingaewdlxmxxkepn phrarachbyytisngesrimaelarksakhunphaphsingaewdlxm ph s 2535 inswnkhxngkartharaynganwiekhraahphlkrathbsingaewdlxmidpraktin swnthi 4 matrathi 46 thung matrathi 51 kdhmaychbbdngklawidmikarkahndhlkeknthaekphurksakar aetyngmiidrabuiwinmatraodytrng withikar raebiybptibti aenwthangkarcdtharayngankarwiekhraahphlkrathbsingaewdlxmtlxdcnexksarthiekiywkhxngsungtxngnaesnxphrxmrayngan ephimetim rththrrmnuyaehngrachxanackrithy ph s 2540 idrabuiwchdinmatrathi 56 odymipraednhlkthisakhy khux okhrngkarphthnaid ktamthisngphlkrathbtxsingaewdlxmaelakhunphaphchiwitchumchn caimidrbxnuyatihdaeninkickarid hakimmikarsuksaphlkrathbsingaewdlxmkxn dngnn cakkdhmayhlkchbbnikhxngithy thaihkdhmayaelakhxbngkhbtang txngptibtitamphayitenguxnikhdngklawxangxing PDF International Association for Impact Assessment 1999 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim pdf emux 2008 06 25 Wang Alex 2007 02 05 Environmental protection in China the role of law Gu Lin 2005 09 29 China Improves Enforcement of Environmental Laws China Features Watson Michael November 13 15 2003 XIV International Conference Danube River of Cooperation khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2007 03 28 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a CS1 maint date format lingk Court decision 2004 03 28 thi ewyaebkaemchchin in v Ritter John 2003 06 03 Lawsuit pits risks and roads USA Today PDF khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2012 10 04 subkhnemux 2008 01 28 Petts J ed Handbook of Environmental Impact Assessment Vol 1 amp 2 Blackwell Oxford ISBN 0 632 04772 0 Environmental Impact Assessment Review 1980 Elsevier Glasson J Therivel R Chadwick A Introduction to Environmental Impact Assessment 2005 Routledge London knkphr swangaecng karpraeminphlkrathbsingaewdlxm krungethph orngphimphithywthnaphanich 2545 Petts J ed Handbook of Environmental Impact Assessment Vol 1 amp 2 Blackwell Oxford ISBN 0 632 04772 0 Environmental Impact Assessment Review 1980 Elsevier Glasson J Therivel R Chadwick A Introduction to Environmental Impact Assessment 2005 Routledge LondonaehlngkhxmulxunEuropean Commission EIA website Environmental Impact Assessment at the University of Sydney Guide to Environmental Impact Assessment and Design lingkesiy International Association for Impact Assessment IAIA Dutch Commission for EIA UNU Open Educational Resource on EIA A Course Module Wiki and Instructional Guide 2017 08 27 thi ewyaebkaemchchin