การประชุมโต๊ะกลมดัตช์-อินโดนีเซีย จัดขึ้นในเดอะเฮกระหว่างวันที่ 23 สิงหาคม ถึง 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 1949 ระหว่างผู้แทนของเนเธอร์แลนด์, สาธารณรัฐอินโดนีเซีย และสภาที่ปรึกษาสหพันธ์ (BFO) อันเป็นตัวแทนของรัฐต่าง ๆ ที่เนเธอร์แลนด์จัดตั้งขึ้นในกลุ่มเกาะอินโดนีเซีย ก่อนหน้าการประชุมนี้ มีการประชุมระดับสูงเกิดขึ้นระหว่างเนเธอร์แลนด์กับอินโดนีเซียแล้วสามครั้ง การประชุมนี้ยุติลงโดยเนเธอร์แลนด์ตกลงถ่ายโอนอธิปไตยให้แก่สหรัฐอินโดนีเซีย
อินโดนีเซีย: Konferensi Meja Bundar ดัตช์: Ronde Tafel Conferentie | |
---|---|
, แห่ง และลงนามในการประชุมโต๊ะกลมดัตช์–อินโดนีเซียในวันที่ 2 พฤศจิกายน ค.ศ.1949 | |
วันร่าง | 23 สิงหาคม ค.ศ.1949 |
วันลงนาม | 2 พฤศจิกายน ค.ศ.1949 |
ที่ลงนาม | เดอะเฮก, ประเทศเนเธอร์แลนด์ |
วันมีผล | 27 ธันวาคม ค.ศ.1949 (โอนอำนาจอธิปไตย) |
เงื่อนไข | การให้สัตยาบันโดยการลงนามของเนเธอร์แลนด์และอินโดนีเซีย |
ผู้ลงนาม | |
ภาคี | |
ผู้เก็บรักษา | ราชอาณาจักรเนเธอร์แลนด์ |
ภาษา | ดัตช์ |
การประชุม
ทั้งสองบรรลุความตกลงในการถอนทหารดัตช์ "ภายในระยะเวลาสั้นที่สุดที่เป็นไปได้" และสหรัฐอินโดนีเซียจะมอบ "สถานะชาติที่ได้รับอนุเคราะห์ยิ่ง" แก่เนเธอร์แลนด์ นอกจากนั้น จะไม่มีการเลือกปฏิบัติระหว่างคนหรือบริษัทสัญชาติดัตช์ และสาธารณรัฐตกลงจะเข้าควบคุมความตกลงการค้าที่เจรจาโดยหมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ อย่างไรก็ดี มีอยู่สองประเด็นสำคัญที่ตกลงกันไม่ได้ คือ ว่าด้วยหนี้ในช่วงที่เนเธอร์แลนด์ปกครองในฐานะเจ้าอาณานิคม และสถานะของนิวกินีตะวันตก
การเจรจาว่าด้วยหนี้ในประเทศและหนี้ต่างประเทศของการปกครองอาณานิคมหมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ยืดเยื้อออกไป โดยต่างฝ่ายต่างเสนอการคำนวณของตนและโต้แย้งว่าสหรัฐอินโดนีเซียควรรับผิดชอบต่อหนี้ที่เนเธอร์แลนด์ก่อไว้หลังยอมจำนนต่อญี่ปุ่นใน ค.ศ. 1942 หรือไม่ โดยเฉพาะผู้แทนอินโดนีเซียรู้สึกขุ่นเคืองที่ต้องครอบคลุมสิ่งที่เห็นว่าเป็นราคาการปฏิบัติทางทหารของเนเธอร์แลนด์ต่ออินโดนีเซีย ท้ายที่สุด จากการเข้าแทรกแซงของสมาชิกสหรัฐอเมริกาของคณะกรรมาธิการอินโดนีเซียสหประชาชาติ (UN Commission on Indonesia) ฝ่ายอินโดนีเซียจึงตระหนักว่าการตกลงจ่ายหนี้ส่วนของเนเธอร์แลนด์จะเป็นราคาที่พวกเขาจะต้องจ่ายเพื่อให้ได้รับการถ่ายโอนอธิปไตย วันที่ 24 ตุลาคม ผู้แทนอินโดนีเซียตกลงว่าอินโดนีเซียจะรับภาระหนี้รัฐบาลหมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ประมาณ 4,300 ล้านกิลเดอร์ดัตช์
ปัญหาที่ว่านิวกินีตะวันตกควรรวมเข้าหรือไม่เกือบส่งผลให้การประชุมถึงทางตัน ผู้แทนอินโดนีเซียถือมุมมองว่าอินโดนีเซียควรประกอบด้วยดินแดนหมู่เกาะอินเดียตะวันออกของเนเธอร์แลนด์ทั้งหมด ฝ่ายเนเธอร์แลนด์ปฏิเสธที่จะประนีประนอม โดยอ้างว่านิวกินีตะวันตกไม่มีความสัมพันธ์ด้านเชื้อชาติกับส่วนที่เหลือของกลุ่มเกาะ แม้ความเห็นของสาธารณชนดัตช์จะสนับสนุนให้ถ่ายโอนนิวกินีตะวันตกแก่อินโดนีเซีย คณะรัฐมนตรีดัตช์กังวลว่าจะไม่สามารถให้สัตยาบันความตกลงโต๊ะกลมในรัฐสภาหากยอมรับจุดนี้ ท้ายสุด ในช่วงเช้าของวันที่ 1 พฤศจิกายน ค.ศ. 1949 มีการบรรลุความประนีประนอม สถานะของนิวกินีตะวันตกจะถูกพิจารณาผ่านการเจรจาระหว่างสหรัฐอินโดนีเซียและเนเธอร์แลนด์ภายในปีที่มีการถ่ายโอนอธิปไตยนั้น
การประชุมดังกล่าวปิดลงอย่างเป็นทางการในอาคารรัฐสภาเนเธอร์แลนด์เมื่อวันที่ 2 พฤศจิกายน ค.ศ. 1949 และอธิปไตยถูกถ่ายโอนให้แก่สหรัฐอินโดนีเซียเมื่อวันที่ 27 ธันวาคม ปีเดียวกัน
อ้างอิง
- Kahin (1952), p. 437
- Kahin (1952), pp. 439-441, 443.
- Ide Anak Agung, (1973) p. 67.
- Kahin (1952), p. 444, 443.
- Ide Anak Agung, (1973) pp. 69-70.
- Ide Anak Agung, (1973) pp. 70-71.
บรรณานุกรม
- Ide Anak Agung Gde Agung (1973) Twenty Years Indonesian Foreign Policy: 1945-1965 Mouton & Co
- Kahin, George McTurnan (1952) Nationalism and Revolution in Indonesia Cornell University Press,
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karprachumotaklmdtch xinodniesiy cdkhuninedxaehkrahwangwnthi 23 singhakhm thung 2 phvscikayn kh s 1949 rahwangphuaethnkhxngenethxraelnd satharnrthxinodniesiy aelasphathipruksashphnth BFO xnepntwaethnkhxngrthtang thienethxraelndcdtngkhuninklumekaaxinodniesiy kxnhnakarprachumni mikarprachumradbsungekidkhunrahwangenethxraelndkbxinodniesiyaelwsamkhrng karprachumniyutilngodyenethxraelndtklngthayoxnxthipityihaekshrthxinodniesiykarprachumotaklmdtch xinodniesiyxinodniesiy Konferensi Meja Bundar dtch Ronde Tafel Conferentie aehng aelalngnaminkarprachumotaklmdtch xinodniesiyinwnthi 2 phvscikayn kh s 1949wnrang23 singhakhm kh s 1949wnlngnam2 phvscikayn kh s 1949thilngnamedxaehk praethsenethxraelndwnmiphl27 thnwakhm kh s 1949 oxnxanacxthipity enguxnikhkarihstyabnodykarlngnamkhxngenethxraelndaelaxinodniesiyphulngnampraethsxinodniesiypraethsenethxraelndshprachachati khnamntrikhwammnkhngaehngshprachachatiphakhipraethsxinodniesiypraethsenethxraelnd niwkinikhxngenethxraelndpraethsshrth praethsxxsetreliy praethsebleyiym shrachxanackr satharnrthfrngessthi 4 satharnrthcin shphaphosewiytphuekbrksarachxanackrenethxraelndphasadtchkarprachumkarprachumotaklmkalngxyuinchwngkarprachum thngsxngbrrlukhwamtklnginkarthxnthhardtch phayinrayaewlasnthisudthiepnipid aelashrthxinodniesiycamxb sthanachatithiidrbxnuekhraahying aekenethxraelnd nxkcaknn caimmikareluxkptibtirahwangkhnhruxbristhsychatidtch aelasatharnrthtklngcaekhakhwbkhumkhwamtklngkarkhathiecrcaodyhmuekaaxinediytawnxxkkhxngenethxraelnd xyangirkdi mixyusxngpraednsakhythitklngknimid khux wadwyhniinchwngthienethxraelndpkkhrxnginthanaecaxananikhm aelasthanakhxngniwkinitawntk karecrcawadwyhniinpraethsaelahnitangpraethskhxngkarpkkhrxngxananikhmhmuekaaxinediytawnxxkkhxngenethxraelndyudeyuxxxkip odytangfaytangesnxkarkhanwnkhxngtnaelaotaeyngwashrthxinodniesiykhwrrbphidchxbtxhnithienethxraelndkxiwhlngyxmcanntxyipunin kh s 1942 hruxim odyechphaaphuaethnxinodniesiyrusukkhunekhuxngthitxngkhrxbkhlumsingthiehnwaepnrakhakarptibtithangthharkhxngenethxraelndtxxinodniesiy thaythisud cakkarekhaaethrkaesngkhxngsmachikshrthxemrikakhxngkhnakrrmathikarxinodniesiyshprachachati UN Commission on Indonesia fayxinodniesiycungtrahnkwakartklngcayhniswnkhxngenethxraelndcaepnrakhathiphwkekhacatxngcayephuxihidrbkarthayoxnxthipity wnthi 24 tulakhm phuaethnxinodniesiytklngwaxinodniesiycarbpharahnirthbalhmuekaaxinediytawnxxkkhxngenethxraelndpraman 4 300 lankiledxrdtch pyhathiwaniwkinitawntkkhwrrwmekhahruximekuxbsngphlihkarprachumthungthangtn phuaethnxinodniesiythuxmummxngwaxinodniesiykhwrprakxbdwydinaednhmuekaaxinediytawnxxkkhxngenethxraelndthnghmd fayenethxraelndptiesththicapranipranxm odyxangwaniwkinitawntkimmikhwamsmphnthdanechuxchatikbswnthiehluxkhxngklumekaa aemkhwamehnkhxngsatharnchndtchcasnbsnunihthayoxnniwkinitawntkaekxinodniesiy khnarthmntridtchkngwlwacaimsamarthihstyabnkhwamtklngotaklminrthsphahakyxmrbcudni thaysud inchwngechakhxngwnthi 1 phvscikayn kh s 1949 mikarbrrlukhwampranipranxm sthanakhxngniwkinitawntkcathukphicarnaphankarecrcarahwangshrthxinodniesiyaelaenethxraelndphayinpithimikarthayoxnxthipitynn karprachumdngklawpidlngxyangepnthangkarinxakharrthsphaenethxraelndemuxwnthi 2 phvscikayn kh s 1949 aelaxthipitythukthayoxnihaekshrthxinodniesiyemuxwnthi 27 thnwakhm piediywknxangxingKahin 1952 p 437 Kahin 1952 pp 439 441 443 Ide Anak Agung 1973 p 67 Kahin 1952 p 444 443 Ide Anak Agung 1973 pp 69 70 Ide Anak Agung 1973 pp 70 71 brrnanukrmIde Anak Agung Gde Agung 1973 Twenty Years Indonesian Foreign Policy 1945 1965 Mouton amp Co ISBN 979 8139 06 2 Kahin George McTurnan 1952 Nationalism and Revolution in Indonesia Cornell University Press ISBN 0 8014 9108 8