บทความนี้ไม่มีจาก |
การประกันคุณภาพ (อังกฤษ: quality assurance) เป็นวิธีบริหารจัดการเพื่อเป็นหลักประกันหรือสร้างความมั่นใจว่ากระบวนการหรือการดำเนินงานจะทำให้ได้ผลลัพธ์ที่มีคุณภาพตรงตามที่กำหนด
การประกันคุณภาพ เป็นเพื่อให้เกิด
แนวทางที่จะให้ได้ผลตามที่ปรารถนาทุกครั้ง หรือได้ผลเท่ากันทุกครั้งนั้น ขึ้นอยู่กับเมื่อครั้งที่ดำเนินการจนได้ผลดีนั้นทำอย่างไร หากดำเนินการเหมือนอย่างที่เคยทุกครั้ง โดยไม่มีปัจจัยแวดล้อมใด ๆ มาแทรกซ้อน ผลที่เกิดตามมาก็น่าจะเป็นเช่นนั้นทุกครั้ง การเน้นให้ดำเนินการเหมือนครั้งที่ได้ผลดีนี้ เป็นการประกันคุณภาพวิธีหนึ่ง
การบริหารจัดการอย่างเป็นระบบ เพื่อให้เกิดความมั่นใจได้ว่ากระบวนการหรือการดำเนินงานจะทำให้ได้ผลลัพธ์ที่มีคุณภาพตรงตามที่กำหนด จะประกอบด้วย การวิเคราะห์ปัจจัยและลักษณะของปัจจัยที่ดี ที่จะส่งผลให้เกิดคุณภาพได้ การวางแผนกิจกรรมที่จะทำให้เกิดปัจจัยที่มีลักษณะที่ส่งผลที่ดีต่อคุณภาพ การดำเนินการตามแผนกิจกรรม การตรวจสอบคุณภาพ เป็นต้น
ความหมาย
การประกันคุณภาพ หรือ quality assurance เป็นคำศัพท์ทางวิศวกรรมอุตสาหการ ที่นำมาใช้กันอย่างกว้างขวาง
คำว่า การประกันคุณภาพ เกิดขึ้นหลังสงครามโลกครั้งที่สอง
การประกันคุณภาพ หมายถึงกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งได้รับการวางแผนและจัดระบบแล้วในกระบวนการบริหารคุณภาพ ที่ช่วยสร้างความมั่นใจว่าจะได้คุณภาพตามที่กำหนดไว้ (Harrington and Mathers, 1991:22)
การประกันคุณภาพ หมายถึงกิจกรรมที่ก่อให้เกิดความมั่นใจว่า กิจกรรมในกระบวนผลิตทั้งหมด ดำเนินไปอย่างมีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กัน และมีประสิทธิภาพ (Juran and Gryna, 1993 : 565)
อ้างอิง
- [ชูชาติ วิรเศรณี, ISO 9000 สำหรับนักบริหารมืออาชีพ, สำนักพิมพ์ซีเอ็ด]
- [1]
- https://en.wikipedia.org/wiki/Quality_assurance
- ลาวัลย์ รักสัตย์. 2554. การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา. กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา , สทศ. สพฐ. กระทรวงศึกษาธิการ
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir karpraknkhunphaph xngkvs quality assurance epnwithibriharcdkarephuxepnhlkpraknhruxsrangkhwammnicwakrabwnkarhruxkardaeninngancathaihidphllphththimikhunphaphtrngtamthikahnd karpraknkhunphaph epnephuxihekid aenwthangthicaihidphltamthiprarthnathukkhrng hruxidphlethaknthukkhrngnn khunxyukbemuxkhrngthidaeninkarcnidphldinnthaxyangir hakdaeninkarehmuxnxyangthiekhythukkhrng odyimmipccyaewdlxmid maaethrksxn phlthiekidtammaknacaepnechnnnthukkhrng karennihdaeninkarehmuxnkhrngthiidphldini epnkarpraknkhunphaphwithihnung karbriharcdkarxyangepnrabb ephuxihekidkhwammnicidwakrabwnkarhruxkardaeninngancathaihidphllphththimikhunphaphtrngtamthikahnd caprakxbdwy karwiekhraahpccyaelalksnakhxngpccythidi thicasngphlihekidkhunphaphid karwangaephnkickrrmthicathaihekidpccythimilksnathisngphlthiditxkhunphaph kardaeninkartamaephnkickrrm kartrwcsxbkhunphaph epntnkhwamhmaykarpraknkhunphaph hrux quality assurance epnkhasphththangwiswkrrmxutsahkar thinamaichknxyangkwangkhwang khawa karpraknkhunphaph ekidkhunhlngsngkhramolkkhrngthisxng karpraknkhunphaph hmaythungkickrrmtang sungidrbkarwangaephnaelacdrabbaelwinkrabwnkarbriharkhunphaph thichwysrangkhwammnicwacaidkhunphaphtamthikahndiw Harrington and Mathers 1991 22 karpraknkhunphaph hmaythungkickrrmthikxihekidkhwammnicwa kickrrminkrabwnphlitthnghmd daeninipxyangmikhwamekiywenuxngsmphnthkn aelamiprasiththiphaph Juran and Gryna 1993 565 xangxing chuchati wiresrni ISO 9000 sahrbnkbriharmuxxachiph sankphimphsiexd 1 https en wikipedia org wiki Quality assurance lawly rksty 2554 karphthnarabbkarpraknkhunphaphphayinsthansuksa klumsngesrimaelaphthnarabbkarpraknkhunphaphphayinkhxngsthansuksa sths sphth krathrwngsuksathikarbthkhwamwicha khwamru aelasastrtangniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk