การบันทึกด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงทางสูติศาสตร์เป็นการใช้การบันทึกด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงในการตั้งครรภ์ ซึ่งใช้คลื่นเสียงสร้างภาพเรียลไทม์ของเอ็มบริโอหรือที่กำลังเจริญในมดลูก (ครรภ์) มารดา กระบวนการดังกล่าวเป็นส่วนมาตรฐานของการดูแลก่อนกำเนิดในหลายประเทศ เพราะให้สารสนเทศต่าง ๆ เกี่ยวกับสุขภาพของมารดา กำหนดเวลาและความคืบหน้าของการตั้งครรภ์ และสุขภาพและการเจริญของเอ็มบริโอหรือทารกใครรภ์
การบันทึกด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงทางสูติศาสตร์ | |
---|---|
การแทรกแซง | |
การบันทึกด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงทางสูติศาสตร์ของทารกในครรภ์อายุ 16 สัปดาห์ วงกลมขาวสว่างตรงกลาง-ขวาคือหัว โดยหน้าหันไปทางซ้าย ลักษณะมีหน้าผากที่ 10 นาฬิกา หูซ้ายอยู่ค่อนกลางที่ 7 นาฬิกา และมือขวาปิดตาที่ 9 นาฬิกา | |
88.78 | |
MeSH | D016216 |
3-032, 3-05d |
(International Society of Ultrasound in Obstetrics and Gynecology) แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์ทุกคนตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงทางสูติศาสตร์รูทีนระหว่างอายุครรภ์ 18 ถึง 22 สัปดาห์เพื่อยืนยันกำหนดเวลาการตั้งครรภ์ เพื่อวัดทารกในครรภ์เพื่อให้สามารถพบความผิดปกติการเจริญอย่างรวดเร็วต่อมาในการตั้งครรภ์ และเพื่อประเมินสภาพวิรูปแต่กำเนิดและการตั้งครรภ์บุตรหลายคน (คือ แฝด) นอกจากนี้ ISUOG แนะนำให้หญิงตั้งครรภ์ตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงทางสูติศาสตร์ระหว่างอายุครภ์ 11 สัปดาห์ถึง 13 สัปดาห์ 6 วันในประเทศที่มีทรัพยากรพอทำ การตรวจบันทึด้วยคลื่นเสี่ยงความถี่สูงในระยะการตั้งครรภ์ต้นขนาดนี้สามารถยืนยันกำหนดเวลาของการตั้งครภ์ได้แม่นยำขึ้นและยังสามารถประเมินทารกในครรภ์หลายคนและความผิดปกติแต่กำเนิดสำคัญในขั้นต้น ๆ การวิจัยแสดงว่าคลื่นเสียงความถี่สูงทางสูติศาสตร์รูทีนก่อนอายุครรภ์ 24 สัปดาห์สามารถลดความเสี่ยงการไม่สามารถรู้การตั้งครรภ์บุตรหลายคนได้อย่างสำคัญและสามารเพิ่มการกำหนดวันการตั้งครรภ์เพื่อลดความเสี่ยงการชักนำการคลอดในการตั้งครรภ์เกินกำหนด ทว่า ไม่มีความแตกต่างในการเสียชีวิตหรือผลเสียสำหรับทารก
การใช้ทางการแพทย์
การตั้งครรภ์ช่วงต้น
สามารถเห็นถุงการตั้งครรภ์ (gestational sac) อย่างน่าเชื่อถือทางคลื่นเสียงความถี่สูงผ่านช่องคลอดเมื่ออายุครรภ์ 5 สัปดาห์ (ประมาณ 3 สัปดาห์หลังตกไข่) ควรเห็นเอ็มบริโอเมื่อวัดขนาดถุงการตั้งครรภ์ได้ 20 มิลลิเมตร ตรงกับประมาณห้าสัปดาห์ครึ่ง ปกติเห็นหัวใจเต้นทางคลื่นเสียงความถี่สูงผ่านช่องคลอดเมื่อเอ็มบริโอวัดขนาดได้ 5 มิลลิเมตร แต่อาจมองไม่เห็นจนเอ็มบริโอมีขนาดถึง 7 มิลลิเมตร คือ อายุครรภ์ประมาณ 7 สัปดาห์ บังเอิญว่าการแท้งส่วนมากก็เกิดที่อายุครรภ์ 7 สัปดาห์เช่นกัน อัตราการแท้ง โดยเฉพาะการแท้งคุกคาม ลดลงอย่างสำคัญหากตรวจพบหัวใจเต้นปกติ
ไตรมาสแรก
ในไตรมาสแรก การตรวจคลื่นเสียงความถี่สูงมาตรฐานตรงแบบมี
- ขนาด ตำแหน่งและจำนวนถุงการตั้งครรภ์
- การระบุเอ็มบริโอและ/หรือถุงไข่แดง (yolk sac)
- การวัดความยาวทารกในครรภ์ (เรียก crown-rump length)
- จำนวนทารกในครรภ์ ซึ่งรวมจำนวนถุงเยื่อถุงน้ำคร่ำ (amnionic sac) และถุงคอเรียน (chorionic sac) สำหรับการตั้งครรภ์บุตรหลายคน
- กิจกรรมหัวใจของเอ็มบริโอ/ทารกในครรภ์
- การประเมินกายวิภาคของเอ็มบริโอ/ทารกใคนครรภ์ที่เหมาะสมกับไตรมาสแรก
- การประเมินมดลูก ท่อนำไข่ รังไข่และโครงสร้างแวดล้อมของมารดา
- การประเมินสันหลังคอ (nuchal fold) ของทารกในครรภ์ โดยพิจารณาการประเมินความใสหลังคอ (nuchal translucency) ของทารกในครรภ์
ไตรมาสที่สองและสาม
ในไตรมาสที่สอง การตรวจคลื่นเสี่ยงความถี่สูงมาตรฐานตรงแบบมี
- จำนวนทารกในครรภ์ ซึ่งรวมจำนวนถุงเยื่อถุงน้ำคร่ำและถุงคอเรียนสำหรับการตั้งครรภ์บุตรหลายคน
- กิจกรรมหัวใจของทารกในครรภ์
- ท่าของทารกในครรภ์เทียบกับมดลูกและปากมดลูก
- ตำแหน่งและลักษณะของรก ซึ่งรวมตำแหน่งของที่เกาะปลายสายสะดือเมื่อเป็นไปได้
- ปริมาตรน้ำคร่ำ
- การประเมินอายุครรภ์
- การประมาณน้ำหนักทารกในครรภ์
- การสำรวจกายวิภาคของทารกในครรภ์
- การประเมินมดลูก ท่อนำไข่ รังไข่และโครงสร้างแวดล้อมของมารดาตามความเหมาะสม
อ้างอิง
- Salomon, LJ; Alfirevic, Z; Berghella, V; Bilardo, C; Hernandez-Andrade, E; Johnsen, SL; Kalache, K; Leung, K.-Y.; Malinger, G; Munoz, H; Prefumo, F; Toi, A; Lee, W (2010). (PDF). Ultrasound Obstet Gynecol. 37: 116–126. doi:10.1002/uog.8831. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2014-06-11. สืบค้นเมื่อ 12 May 2015.
- Salomon, LJ; Alfirevic, Z; Bilardo, CM; Chalouhi, GE; Ghi, T; Kagan, KO; Lau, TK; Papageorghiou, AT; Raine-Fenning, NJ; Stirnemann, J; Suresh, S; Tabor, A; Timor-Tritsch, IE; Toi, A; Yeo, G (2013). (PDF). Ultrasound Obstet Gynecol. 41: 102–113. doi:10.1002/uog.12342. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิม (PDF)เมื่อ 2015-09-06. สืบค้นเมื่อ 12 May 2015.
- Whitworth, M; Bricker, L; Neilson, JP; Dowswell, T (2010). "Ultrasound for fetal assessment in early pregnancy". Cochrane Database of Systematic Reviews (4): CD007058. doi:10.1002/14651858.CD007058.pub2. PMID 20393955.
- Woo, Joseph (2006). "Why and when is Ultrasound used in Pregnancy?". Obstetric Ultrasound: A Comprehensive Guide. สืบค้นเมื่อ 2007-05-27.
- Boschert, Sherry (2001-06-15). "Anxious Patients Often Want Very Early Ultrasound Exam". OB/GYN News. FindArticles.com. สืบค้นเมื่อ 2007-05-27.
- Cunningham, F; Leveno, KJ; Bloom, SL; Spong, CY; Dashe, JS; Hoffman, BL; Casey BM, BM; Sheffield, JS (2013). "Fetal Imaging". Williams Obstetrics, Twenty-Fourth Edition. McGraw-Hill.
{{}}
:|access-date=
ต้องการ|url=
((help)) - "Miscarriage". A.D.A.M., Inc. 21 Nov 2010. สืบค้นเมื่อ 28 February 2012.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karbnthukdwykhlunesiyngkhwamthisungthangsutisastrepnkarichkarbnthukdwykhlunesiyngkhwamthisunginkartngkhrrph sungichkhlunesiyngsrangphapheriylithmkhxngexmbrioxhruxthikalngecriyinmdluk khrrph marda krabwnkardngklawepnswnmatrthankhxngkarduaelkxnkaenidinhlaypraeths ephraaihsarsnethstang ekiywkbsukhphaphkhxngmarda kahndewlaaelakhwamkhubhnakhxngkartngkhrrph aelasukhphaphaelakarecriykhxngexmbrioxhruxtharkikhrrphkarbnthukdwykhlunesiyngkhwamthisungthangsutisastrkaraethrkaesngkarbnthukdwykhlunesiyngkhwamthisungthangsutisastrkhxngtharkinkhrrphxayu 16 spdah wngklmkhawswangtrngklang khwakhuxhw odyhnahnipthangsay lksnamihnaphakthi 10 nalika husayxyukhxnklangthi 7 nalika aelamuxkhwapidtathi 9 nalika88 78MeSHD0162163 032 3 05d International Society of Ultrasound in Obstetrics and Gynecology aenanaihhyingtngkhrrphthukkhntrwckhlunesiyngkhwamthisungthangsutisastrruthinrahwangxayukhrrph 18 thung 22 spdahephuxyunynkahndewlakartngkhrrph ephuxwdtharkinkhrrphephuxihsamarthphbkhwamphidpktikarecriyxyangrwderwtxmainkartngkhrrph aelaephuxpraeminsphaphwirupaetkaenidaelakartngkhrrphbutrhlaykhn khux aefd nxkcakni ISUOG aenanaihhyingtngkhrrphtrwckhlunesiyngkhwamthisungthangsutisastrrahwangxayukhrph 11 spdahthung 13 spdah 6 wninpraethsthimithrphyakrphxtha kartrwcbnthudwykhlunesiyngkhwamthisunginrayakartngkhrrphtnkhnadnisamarthyunynkahndewlakhxngkartngkhrphidaemnyakhunaelayngsamarthpraemintharkinkhrrphhlaykhnaelakhwamphidpktiaetkaenidsakhyinkhntn karwicyaesdngwakhlunesiyngkhwamthisungthangsutisastrruthinkxnxayukhrrph 24 spdahsamarthldkhwamesiyngkarimsamarthrukartngkhrrphbutrhlaykhnidxyangsakhyaelasamarephimkarkahndwnkartngkhrrphephuxldkhwamesiyngkarchknakarkhlxdinkartngkhrrphekinkahnd thwa immikhwamaetktanginkaresiychiwithruxphlesiysahrbtharkkarichthangkaraephthykartngkhrrphchwngtn samarthehnthungkartngkhrrph gestational sac xyangnaechuxthuxthangkhlunesiyngkhwamthisungphanchxngkhlxdemuxxayukhrrph 5 spdah praman 3 spdahhlngtkikh khwrehnexmbrioxemuxwdkhnadthungkartngkhrrphid 20 milliemtr trngkbpramanhaspdahkhrung pktiehnhwicetnthangkhlunesiyngkhwamthisungphanchxngkhlxdemuxexmbrioxwdkhnadid 5 milliemtr aetxacmxngimehncnexmbrioxmikhnadthung 7 milliemtr khux xayukhrrphpraman 7 spdah bngexiywakaraethngswnmakkekidthixayukhrrph 7 spdahechnkn xtrakaraethng odyechphaakaraethngkhukkham ldlngxyangsakhyhaktrwcphbhwicetnpkti itrmasaerk initrmasaerk kartrwckhlunesiyngkhwamthisungmatrthantrngaebbmi khnad taaehnngaelacanwnthungkartngkhrrph karrabuexmbrioxaela hruxthungikhaedng yolk sac karwdkhwamyawtharkinkhrrph eriyk crown rump length canwntharkinkhrrph sungrwmcanwnthungeyuxthungnakhra amnionic sac aelathungkhxeriyn chorionic sac sahrbkartngkhrrphbutrhlaykhn kickrrmhwickhxngexmbriox tharkinkhrrph karpraeminkaywiphakhkhxngexmbriox tharkikhnkhrrphthiehmaasmkbitrmasaerk karpraeminmdluk thxnaikh rngikhaelaokhrngsrangaewdlxmkhxngmarda karpraeminsnhlngkhx nuchal fold khxngtharkinkhrrph odyphicarnakarpraeminkhwamishlngkhx nuchal translucency khxngtharkinkhrrphitrmasthisxngaelasam initrmasthisxng kartrwckhlunesiyngkhwamthisungmatrthantrngaebbmi canwntharkinkhrrph sungrwmcanwnthungeyuxthungnakhraaelathungkhxeriynsahrbkartngkhrrphbutrhlaykhn kickrrmhwickhxngtharkinkhrrph thakhxngtharkinkhrrphethiybkbmdlukaelapakmdluk taaehnngaelalksnakhxngrk sungrwmtaaehnngkhxngthiekaaplaysaysaduxemuxepnipid primatrnakhra karpraeminxayukhrrph karpramannahnktharkinkhrrph karsarwckaywiphakhkhxngtharkinkhrrph karpraeminmdluk thxnaikh rngikhaelaokhrngsrangaewdlxmkhxngmardatamkhwamehmaasmxangxingSalomon LJ Alfirevic Z Berghella V Bilardo C Hernandez Andrade E Johnsen SL Kalache K Leung K Y Malinger G Munoz H Prefumo F Toi A Lee W 2010 PDF Ultrasound Obstet Gynecol 37 116 126 doi 10 1002 uog 8831 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2014 06 11 subkhnemux 12 May 2015 Salomon LJ Alfirevic Z Bilardo CM Chalouhi GE Ghi T Kagan KO Lau TK Papageorghiou AT Raine Fenning NJ Stirnemann J Suresh S Tabor A Timor Tritsch IE Toi A Yeo G 2013 PDF Ultrasound Obstet Gynecol 41 102 113 doi 10 1002 uog 12342 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedim PDF emux 2015 09 06 subkhnemux 12 May 2015 Whitworth M Bricker L Neilson JP Dowswell T 2010 Ultrasound for fetal assessment in early pregnancy Cochrane Database of Systematic Reviews 4 CD007058 doi 10 1002 14651858 CD007058 pub2 PMID 20393955 Woo Joseph 2006 Why and when is Ultrasound used in Pregnancy Obstetric Ultrasound A Comprehensive Guide subkhnemux 2007 05 27 Boschert Sherry 2001 06 15 Anxious Patients Often Want Very Early Ultrasound Exam OB GYN News FindArticles com subkhnemux 2007 05 27 Cunningham F Leveno KJ Bloom SL Spong CY Dashe JS Hoffman BL Casey BM BM Sheffield JS 2013 Fetal Imaging Williams Obstetrics Twenty Fourth Edition McGraw Hill a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a access date txngkar url help Miscarriage A D A M Inc 21 Nov 2010 subkhnemux 28 February 2012