การถดถอยโลจิสติก (logistic regression) เป็นรูปแบบหนึ่งของแบบจำลองการวิเคราะห์การถดถอยสำหรับตัวแปรที่เป็นไปตามการแจกแจงแบร์นุลลี นอกจากนี้ยังเป็น ประเภทหนึ่งที่ใช้เป็นฟังก์ชันถ่ายโอน ตีพิมพ์โดย ในปี 1958 เป็นวิธีการวิเคราะห์การถดถอยแบบหนึ่งที่มักใช้การจำแนกประเภทข้อมูลในทางสถิติศาสตร์
แบบจำลองนี้เทียบเท่ากับเพอร์เซปตรอนแบบง่ายซึ่งได้ตีพิมพ์ในปี 1958 ด้วย อย่างไรก็ตาม ในไลบรารีการเรียนรู้ของเครื่อง เช่น scikit-learn ฯลฯ แบบจำลองที่ใช้การเคลื่อนลงตามความชันแบบเฟ้นสุ่มในการกำหนดพารามิเตอร์ในปัญหาการหาค่าเหมาะที่สุดจะถูกเรียกว่า "เพอร์เซปตรอน" ในขณะที่แบบจำลองที่ใช้ หรือ จึงจะถูกเรียกว่า "การถดถอยโลจิสติก"
ภาพรวม
ให้ x เป็นข้อมุลป้อนเข้า p เป็นความน่าจะเป็น (ค่าขาออก) และ α และ β เป็นพารามิเตอร์ แบบจำลองการถดถอยโลจิสติกจะแสดงได้ดังต่อไปนี้
ในที่นี้มี n หน่วยและความแปรปรวนร่วม X และความสัมพันธ์เป็นดังนี้
ลอการิทึมของของผลลัพธ์ จำลองเป็นฟังก์ชันเชิงเส้นของตัวแปรอธิบาย X i สามารถแสดงได้ดังนี้
เมื่อใช้สัญลักษณ์เพอร์เซพตรอนอย่างง่าย สมการข้างต้นสามารถแสดงได้ดังต่อไปนี้
โดยในที่นี้ เป็นฟังก์ชันซิกมอยด์มาตรฐาน
การประมาณค่าพารามิเตอร์ส่งผลอย่างมากต่ออัตราส่วนออดส์ สำหรับตัวแปรอธิบายที่เป็นได้ 2 ค่า เช่น เพศ แล้ว เช่น การประมาณอัตราส่วนออดส์ของผลลัพธ์สำหรับชายและหญิง ในการประมาณค่ามักใช้วิธีภาวะน่าจะเป็นสูงสุด
อ้างอิง
- Cox, DR (1958). "The regression analysis of binary sequences (with discussion)". J Roy Stat Soc B. 20: 215–242.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karthdthxyolcistik logistic regression epnrupaebbhnungkhxngaebbcalxngkarwiekhraahkarthdthxysahrbtwaeprthiepniptamkaraeckaecngaebrnulli nxkcakniyngepn praephthhnungthiichepnfngkchnthayoxn tiphimphody inpi 1958 epnwithikarwiekhraahkarthdthxyaebbhnungthimkichkarcaaenkpraephthkhxmulinthangsthitisastr aebbcalxngniethiybethakbephxresptrxnaebbngaysungidtiphimphinpi 1958 dwy xyangirktam inilbrarikareriynrukhxngekhruxng echn scikit learn l aebbcalxngthiichkarekhluxnlngtamkhwamchnaebbefnsuminkarkahndpharamietxrinpyhakarhakhaehmaathisudcathukeriykwa ephxresptrxn inkhnathiaebbcalxngthiich hrux cungcathukeriykwa karthdthxyolcistik phaphrwmih x epnkhxmulpxnekha p epnkhwamnacaepn khakhaxxk aela a aela b epnpharamietxr aebbcalxngkarthdthxyolcistikcaaesdngiddngtxipni logit pi ln pi1 pi a b1x1 i bkxk i displaystyle operatorname logit p i ln left frac p i 1 p i right alpha beta 1 x 1 i cdots beta k x k i i 1 n displaystyle i 1 dots n inthinimi n hnwyaelakhwamaeprprwnrwm X aelakhwamsmphnthepndngni pi E Y Xi Pr Yi 1 displaystyle p i E Y X i Pr Y i 1 lxkarithumkhxngkhxngphllphth calxngepnfngkchnechingesnkhxngtwaeprxthibay X i samarthaesdngiddngni pi Pr Yi 1 X 11 e a b1x1 i bkxk i displaystyle p i Pr Y i 1 X frac 1 1 e alpha beta 1 x 1 i cdots beta k x k i emuxichsylksnephxresphtrxnxyangngay smkarkhangtnsamarthaesdngiddngtxipni pi s1 a b1x1 i bkxk i displaystyle p i varsigma 1 alpha beta 1 x 1 i cdots beta k x k i odyinthini s1 displaystyle varsigma 1 epnfngkchnsikmxydmatrthan karpramankhapharamietxrsngphlxyangmaktxxtraswnxxds sahrbtwaeprxthibaythiepnid 2 kha echn ephs aelw eb displaystyle e beta echn karpramanxtraswnxxdskhxngphllphthsahrbchayaelahying inkarpramankhamkichwithiphawanacaepnsungsudxangxingCox DR 1958 The regression analysis of binary sequences with discussion J Roy Stat Soc B 20 215 242