การดูดกลืน (absorption) ในทางฟิสิกส์แล้ว เป็นปรากฏการณ์ที่สสารทำการดูดกลืนแสง หรือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ แล้วเปลี่ยนแปลงไปเป็น เช่น พลังงานความร้อน เป็นหลักการพื้นฐานของ ในเคมีวิเคราะห์
ตามทฤษฎีกลศาสตร์ควอนตัม สภาพเฉพาะของสสาร (สถานะของการโคจรของอิเล็กตรอน การแกว่งกวัด และ การหมุน ของโมเลกุล ฯลฯ) จะเป็นค่าไม่ต่อเนื่อง เมื่อสารได้รับการฉายรังสีด้วยแสงที่มีความยาวคลื่นเท่ากับความแตกต่างของพลังงานระหว่างสถานะเหล่านี้ สารจะดูดกลืนพลังงานและเกิดการเปลี่ยนสถานะ ซึ่งจะทำให้สาร อยู่ในสภาวะถูกกระตุ้น (แต่ในความเป็นจริงมีข้อจำกัดอื่น ๆ เช่น การห้ามสปิน ดังนั้นจึงไม่ได้ถูกกำหนดแค่โดยค่าพลังงานเท่านั้น)
อันที่จริงแล้ว สสารไม่ได้ปล่อยพลังงานแค่ที่ดูดซึมไปเท่านั้น แต่เกิดพลังงานขึ้นจากการกลับจากไปยัง อย่างไรก็ตาม เนื่องจากส่วนหนึ่งของพลังงานผ่านกระบวนการที่ไม่มีการแผ่รังสี จึงไม่ถูกปล่อยออกมาอย่างสมบูรณ์ในรูปของแสงที่มีความยาวคลื่นและความเข้มเท่ากันกับแสงที่ถูกดูดกลืน ดังนั้นจึงสังเกตได้ว่าแสงบางส่วนยังคงถูกดูดกลืนโดยสสาร
โดยทั่วไปแล้ว จะเกิดขึ้นที่ความยาวคลื่นในย่านรังสีอัลตราไวโอเลต ช่วงคลื่นที่ตามองเห็นได้ และอินฟราเรด
นอกจากนี้ เมื่อสสารถูกฉายด้วยแสงขาว และส่วนหนึ่งของสารนั้นถูกดูดกลืน สารนั้นจะถูกสังเกตเห็นเป็นสีเสริมของแสงที่ถูกดูดกลืน
รายการที่เกี่ยวข้อง
อ้างอิง
- West, William. "Absorption of electromagnetic radiation". AccessScience. McGraw-Hill. doi:10.1036/1097-8542.001600. สืบค้นเมื่อ 8 April 2013.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
kardudklun absorption inthangfisiksaelw epnpraktkarnthissarthakardudklunaesng hruxkhlunaemehlkiffachnidtang aelwepliynaeplngipepn echn phlngngankhwamrxn epnhlkkarphunthankhxng inekhmiwiekhraahphaphrwmkhxngkardudklunkhlunaemehlkiffa intwxyangnicaxthibayhlkkarthwipodyichaesngthitamxngehnepntwxyang aehlngkaenidaesngsikhawprakxbdwyaesnghlaykhwamyawkhlunthuknaipichkbtwxyang intwxyangmi 6 si esnprasiehluxngkhuxkhusiesrim aelaoftxnthitrngkbphlngngankratunkhxngomelkulthimixyu aesngsiekhiywintwxyangni thukdudsbaelaomelkulthukkratun swnoftxnxun phanipodyimidrbphlkrathb aelatharngsixyuinchwngthimxngehnid 400 700 nm aesngthisxngphancapraktepnsiesrim inthinikhuxsiaedng karbnthukkarldthxnkhxngaesngthikhwamyawkhluntang cathaihidsepktrmkardudklunaesng tamthvsdiklsastrkhwxntm sphaphechphaakhxngssar sthanakhxngkarokhcrkhxngxielktrxn karaekwngkwd aela karhmun khxngomelkul l caepnkhaimtxenuxng emuxsaridrbkarchayrngsidwyaesngthimikhwamyawkhlunethakbkhwamaetktangkhxngphlngnganrahwangsthanaehlani sarcadudklunphlngnganaelaekidkarepliynsthana sungcathaihsar xyuinsphawathukkratun aetinkhwamepncringmikhxcakdxun echn karhamspin dngnncungimidthukkahndaekhodykhaphlngnganethann xnthicringaelw ssarimidplxyphlngnganaekhthidudsumipethann aetekidphlngngankhuncakkarklbcakipyng xyangirktam enuxngcakswnhnungkhxngphlngnganphankrabwnkarthiimmikaraephrngsi cungimthukplxyxxkmaxyangsmburninrupkhxngaesngthimikhwamyawkhlunaelakhwamekhmethaknkbaesngthithukdudklun dngnncungsngektidwaaesngbangswnyngkhngthukdudklunodyssar odythwipaelw caekidkhunthikhwamyawkhluninyanrngsixltraiwoxelt chwngkhlunthitamxngehnid aelaxinfraerd nxkcakni emuxssarthukchaydwyaesngkhaw aelaswnhnungkhxngsarnnthukdudklun sarnncathuksngektehnepnsiesrimkhxngaesngthithukdudklunraykarthiekiywkhxngsepkothrsokpi khwamdudklun sepktrmxangxingWest William Absorption of electromagnetic radiation AccessScience McGraw Hill doi 10 1036 1097 8542 001600 subkhnemux 8 April 2013