การฉีกเซาะของเอออร์ตา (อังกฤษ: aortic dissection) คือการที่เกิดการฉีดขาดขึ้นในผนังหลอดเลือดแดงใหญ่เอออร์ตาซึ่งทำให้มีเลือดไหลเข้าไประหว่างชั้นของผนังหลอดเลือดทำให้ชั้นผนังหลอดเลือดแยกออกจากกัน ถือเป็นภาวะฉุกเฉินทางการแพทย์ มีโอกาสทำให้เสียชีวิตได้อย่างรวดเร็วแม้ได้รับการรักษาทันท่วงทีก็ตาม หากการฉีกเซาะทำให้เกิดการฉีกขาดของชั้นผนังหลอดเลือดเอออร์ตาทั้งหมดสามชั้นจะทำให้มีการเสียเลือดอย่างมากและรวดเร็ว การฉีกเซาะของเอออร์ตาที่มีการฉีกขาดของหลอดเลือดทุกชั้นมีอัตราการตาย 80% และผู้ป่วย 50% เสียชีวิตก่อนจะมาถึงโรงพยาบาล ถ้าการฉีกเซาะมีขนาดถึง 6 เซนติเมตร ผู้ป่วยต้องได้รับการผ่าตัดฉุกเฉินทันที
การฉีกเซาะของเอออร์ตา (Aortic dissection) | |
---|---|
การฉีกเซาะของหลอดเลือดแดงเอออร์ตาส่วนขาลง (3) เริ่มตั้งแต่หลอดเลือดแดงซับเคลเวียนข้างซ้ายมาจนถึงหลอดเลือดแดงเอออร์ตาส่วนช่องท้อง (4) ในขณะที่เอออร์ตาส่วนขาขึ้น (1) และโค้งหลอดเลือดเอออร์ตา (2) ไม่ได้รับผลกระทบไปด้วย | |
สาขาวิชา | , |
อาการ | severe , vomiting, , |
ภาวะแทรกซ้อน | Stroke, , myocardial ischemia, |
การตั้งต้น | กะทันหัน |
ปัจจัยเสี่ยง | ความดันโลหิตสูง, กลุ่มอาการมาร์แฟน, กลุ่มอาการเทอร์เนอร์, , previous , , การสูบบุหรี่ |
วิธีวินิจฉัย | การสร้างภาพทางการแพทย์ |
การป้องกัน | ควบคุมความดันโลหิต,ไม่สูบบุหรี่ |
การรักษา | ขึ้นอยู่กับประเภท |
พยากรณ์โรค | อัตราการเสียชีวิตโดยไม่ได้รับการรักษา 10% (ประเภท B), 50% (ประเภท A) |
ความชุก | 3 ต่อ 100,000 ต่อปี |
ทั่วไป
เช่นเดียวกับหลอดเลือดแดงอื่นๆ หลอดเลือดแดงใหญ่เอออร์ตาประกอบด้วยชั้นสามชั้น ได้แต่อินทิมา มีเดีย และแอดเวนทิเชีย ชั้นอินทิมา หรือ คือชั้นที่สัมผัสกับเลือด ส่วนใหญ่ประกอบขึ้นด้วย (endothelial cell) ชั้นต่อมาคือ เป็นชั้นกล้ามเนื้อ ประกอบด้วยและ ชั้นนอกสุดคือ ประกอบด้วยเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
ในการฉีกเซาะของเอออร์ตา เลือดได้แทรกผ่านชั้นอินทิมาเข้าไปยังชั้นมีเดีย ความดันที่สูงได้ฉีกแยกเนื้อเยื่อของชั้นมีเดีย แบ่งแยกออกเป็นสองส่วน ส่วนใน 2/3 และส่วนนอก 1/3 การฉีกเซาะนี้สามารถลุกลามต่อไปได้ตลอดความยาวของเอออร์ตาทั้งขาไปและขากลับ การฉีกเซาะที่ลามไปทางบริเวณช่วง (iliac bifurcation) ถือเป็นการฉีกเซาะไปทางด้านหน้า (anterograde) ส่วนการฉีกเซาะที่ลามไปทางโคนเอออร์ตาถือเป็นการฉีกเซาะไปทางด้านหลัง (retrograde) รอยฉีกเซาะเริ่มแรกส่วนใหญ่อยู่ไม่เกิน 100 มิลลิเมตรหลัง ดังนั้นการฉีกเซาะไปทางด้านหลังสามารถเข้าไปชั้นเยื่อหุ้มหัวใจทำให้เกิดมีเลือดในช่องเยื่อหุ้มหัวใจ () ได้ง่าย การฉีกเซาะไปทางด้านหน้าอาจลุกลามไปถึงบริเวณช่วงแยกอิลิแอค อาจทะลุผนังหลอดเลือด หรือเกิดช่องเปิดกลับเข้ารูหลอดเลือดได้ทำให้เกิดเป็น double barrel aorta ซึ่งจะลดความดันของการไหลของเลือดและลดโอกาสการแตกทะลุ การแตกทะลุที่ทำให้เกิดมีเลือดไหลเข้าช่องร่างกายตามแต่ตำแหน่งที่เกิดการแตกทะลุ อาจแตกเข้าช่องหลังเยื่อบุช่องท้อง (retroperitoneal) หรือแตกเข้าช่องเยื่อหุ้มหัวใจ (pericardial) ก็ได้
การจำแนกประเภท
สัดส่วน | 60 % | 10-15 % | 25-30 % |
ชนิด | DeBakey I | DeBakey II | DeBakey III |
Stanford A | Stanford B | ||
ส่วนต้น | ส่วนปลาย | ||
การจำแนกประเภทของการฉีกเซาะของเอออร์ตา |
มีระบบการจำแนกประเภทสำหรับการฉีกเซาะของเอออร์ตาอยู่หลายระบบ ระบบจำแนกที่ใช้บ่อยส่วนใหญ่แบ่งตามตำแหน่งทางกายวิภาคของการฉีกเซาะและระยะเวลาที่เริ่มมีอาการก่อนมาพบแพทย์
ระบบการจำแนกประเภทของ DeBakey
ระบบ DeBakey ได้ชื่อจากศัลยแพทย์ซึ่งป่วยจากการฉีกเซาะของเอออร์ตาชื่อ เป็นคำอธิบายทางกายวิภาคของการฉีกเซาะของเอออร์ตา จำแนกประเภทของการฉีกเซาะตามแต่ว่าตำแหน่งเริ่มต้นของการฉีกขาดของชั้นอินทิมาเริ่มต้นที่ใดและการฉีกเซาะกินบริเวณไปเพียงใด (อยู่แต่ในเฉพาะเอออร์ตาช่วงขาขึ้น ขาลง หรือทั้งสองส่วน)
- ชนิดที่ 1 เริ่มต้นที่เอออร์ตาส่วนขาขึ้น ยาวไปถึงอย่างน้อยบริเวณโค้งเอออร์ตา มักพบว่ากินบริเวณยาวไปต่อจากนี้อีก
- ชนิดที่ 2 ตั้งต้นที่เอออร์ตาส่วนขาขึ้นและคงอยู่เฉพาะบริเวณนั้น
- ชนิดที่ 3 ตั้งต้นที่เอออร์ตาส่วนขาลง มีส่วนน้อยที่กินบริเวณไปทางส่วนต้นแต่มักจะกินบริเวณไปยังส่วนปลาย
ระบบการจำแนกประเภทของ Stanford
แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ A กับ B ตามแต่ว่าเอออร์ตาส่วนขาขึ้นได้รับผลกระทบหรือไม่
- A เทียบเท่ากับ DeBakey I และ II
- B เทียบเท่ากับ DeBakey III
พยาธิสรีรวิทยา
เหตุการณ์แรกสุดที่เกิดขึ้นทำให้มีการฉีกเซาะของเอออร์ตาคือการฉีกขาดของชั้นเยื่อบุอินทิมาของเอออร์ตา จากการที่เลือดในเอออร์ตามีความดันสูงทำให้เลือดแทรกเข้ามาในชั้นมีเดียตรงตำแหน่งที่เกิดการฉีกขาด แรงดันของเลือดที่ไหลเข้ามานี้ทำให้รอยฉีกขาดฉีกออกไปมากขึ้น อาจฉีกเพิ่มไปทางด้านต้น (proximal) หรือด้านปลาย (distal) เลือดจะไหลไปตามทางภายในชั้นมีเดียเกิดเป็นช่องปลอมภายในหลอดเลือด (false lumen) โดยที่ช่องจริง (true lumen) ก็คือช่องทางปกติของเอออร์ตา โดยมีชั้นเนื้อเยื่ออินทิมาแบ่งแยกระหว่างช่องจริงกับช่องปลอม เนื้อเยื่อของอินทิมานี้เรียกว่าแผ่นเนื้อเยื่ออินทิมา (intimal flap)
การฉีกเซาะของเอออร์ตาส่วนใหญ่เริ่มขึ้นในเอออร์ตาส่วนขาขึ้น 65%, โค้งเอออร์ตา 10% และตำแหน่งของเอออร์ตาขาลงส่วนช่องอกบริเวณถัดจาก 20%
เลือดที่ไหลในช่องปลอมนี้อาจทำให้เกิดการฉีกขาดซ้ำสองขึ้นเป็นช่องทางให้เลือดไหลกลับเข้ามาในช่องจริงได้
แม้หลายๆ ครั้งจะไม่ปรากฏสาเหตุชัดเจนของการเกิดการฉีกขาดของชั้นอินทิมา แต่ส่วนใหญ่เป็นจากการเสื่อมของคอลลาเจนและอีลาสตินที่ประกอบขึ้นเป็นชั้นมีเดีย เรียกว่า และมักพบร่วมกับกลุ่มอาการมาร์แฟน และ
ประมาณ 13% ของการฉีกเซาะของเอออร์ตาพบว่าไม่มีการฉีกขาดของอินทิมา เชื่อกันว่าแบบนี้เกิดจากการมีในผนังหลอดเลือด (intramural hematoma) ที่เกิดจากการมีเลือดออกในชั้นมีเดีย (hemorrhage within the media) และเนื่องจากกรณีนี้จะไม่มีทางเชื่อมต่อโดยตรงระหว่างช่องจริงกับช่องปลอม ทำให้ยากที่จะวินิจฉัยการฉีกเซาะของเอออร์ตาแบบนี้จาก การฉีกเซาะของเอออร์ตาที่เกิดจากการมีก้อนเลือดในผนังหลอดเลือดนี้ควรได้รับการรักษาเช่นเดียวกันกับชนิดที่เกิดจากการฉีกขาดของชั้นอินทิมา
อ้างอิง
- Nienaber CA, Clough RE (28 February 2015). "Management of acute aortic dissection". The Lancet. 385 (9970): 800–811. doi:10.1016/s0140-6736(14)61005-9. PMID 25662791. S2CID 34347018.
- White A, Broder J, Mando-Vandrick J, Wendell J, Crowe J (2013). "Acute aortic emergencies – part 2: aortic dissections". . 35 (1): 28–52. doi:10.1097/tme.0b013e31827145d0. PMID 23364404.
- Criado FJ (2011). "Aortic dissection: a 250-year perspective". Texas Heart Institute Journal. 38 (6): 694–700. PMC 3233335. PMID 22199439.
- Diseases and Conditions 2009-01-08 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน at
- Isselbacher, EM; Eagle KA; Zipes DP (1997). "Diseases of the aorta". ใน Braunwald E (บ.ก.). Heart disease: a textbook of cardiovascular medicine (5th ed.). Philadelphia: WB Saunders. pp. 1546–81. ISBN .
- DeBakey ME, Henly WS, Cooley DA, Morris GC Jr, Crawford ES, Beall AC Jr (Jan 1965). "Surgical management of dissecting aneurysms of the aorta". . 49: 130–49. doi:10.1016/S0022-5223(19)33323-9. PMID 14261867.
- Daily PO, Trueblood HW, Stinson EB, Wuerflein RD, Shumway NE (Sep 1970). "Management of acute aortic dissections". Ann. Thorac. Surg. 10 (3): 237–47. doi:10.1016/S0003-4975(10)65594-4. PMID 5458238.
แหล่งข้อมูลอื่น
- Fighting Aneurysm Disease 2016-10-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Aortic Dissection 2010-12-03 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- Classification of aortic dissection 2011-05-27 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- American Heart Association
- aorticdissection.com
- aorticdissection.co.uk 2009-09-14 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- CT scans of Aortic Dissection 2012-01-12 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน MedPix medical images
การจำแนกโรค | D |
---|---|
ทรัพยากรภายนอก |
|
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karchikesaakhxngexxxrta xngkvs aortic dissection khuxkarthiekidkarchidkhadkhuninphnnghlxdeluxdaedngihyexxxrtasungthaihmieluxdihlekhaiprahwangchnkhxngphnnghlxdeluxdthaihchnphnnghlxdeluxdaeykxxkcakkn thuxepnphawachukechinthangkaraephthy mioxkasthaihesiychiwitidxyangrwderwaemidrbkarrksathnthwngthiktam hakkarchikesaathaihekidkarchikkhadkhxngchnphnnghlxdeluxdexxxrtathnghmdsamchncathaihmikaresiyeluxdxyangmakaelarwderw karchikesaakhxngexxxrtathimikarchikkhadkhxnghlxdeluxdthukchnmixtrakartay 80 aelaphupwy 50 esiychiwitkxncamathungorngphyabal thakarchikesaamikhnadthung 6 esntiemtr phupwytxngidrbkarphatdchukechinthnthikarchikesaakhxngexxxrta Aortic dissection karchikesaakhxnghlxdeluxdaedngexxxrtaswnkhalng 3 erimtngaethlxdeluxdaedngsbekhlewiynkhangsaymacnthunghlxdeluxdaedngexxxrtaswnchxngthxng 4 inkhnathiexxxrtaswnkhakhun 1 aelaokhnghlxdeluxdexxxrta 2 imidrbphlkrathbipdwysakhawicha xakarsevere vomiting phawaaethrksxnStroke myocardial ischemia kartngtnkathnhnpccyesiyngkhwamdnolhitsung klumxakarmaraefn klumxakarethxrenxr previous karsubbuhriwithiwinicchykarsrangphaphthangkaraephthykarpxngknkhwbkhumkhwamdnolhit imsubbuhrikarrksakhunxyukbpraephthphyakrnorkhxtrakaresiychiwitodyimidrbkarrksa 10 praephth B 50 praephth A khwamchuk3 tx 100 000 txpithwipeluxdaethrkphanchnxinthimaekhaipyngchnmiediy echnediywkbhlxdeluxdaedngxun hlxdeluxdaedngihyexxxrtaprakxbdwychnsamchn idaetxinthima miediy aelaaexdewnthiechiy chnxinthima hrux khuxchnthismphskbeluxd swnihyprakxbkhundwy endothelial cell chntxmakhux epnchnklamenux prakxbdwyaela chnnxksudkhux prakxbdwyenuxeyuxekiywphn inkarchikesaakhxngexxxrta eluxdidaethrkphanchnxinthimaekhaipyngchnmiediy khwamdnthisungidchikaeykenuxeyuxkhxngchnmiediy aebngaeykxxkepnsxngswn swnin 2 3 aelaswnnxk 1 3 karchikesaanisamarthluklamtxipidtlxdkhwamyawkhxngexxxrtathngkhaipaelakhaklb karchikesaathilamipthangbriewnchwng iliac bifurcation thuxepnkarchikesaaipthangdanhna anterograde swnkarchikesaathilamipthangokhnexxxrtathuxepnkarchikesaaipthangdanhlng retrograde rxychikesaaerimaerkswnihyxyuimekin 100 milliemtrhlng dngnnkarchikesaaipthangdanhlngsamarthekhaipchneyuxhumhwicthaihekidmieluxdinchxngeyuxhumhwic idngay karchikesaaipthangdanhnaxacluklamipthungbriewnchwngaeykxiliaexkh xacthaluphnnghlxdeluxd hruxekidchxngepidklbekharuhlxdeluxdidthaihekidepn double barrel aorta sungcaldkhwamdnkhxngkarihlkhxngeluxdaelaldoxkaskaraetkthalu karaetkthaluthithaihekidmieluxdihlekhachxngrangkaytamaettaaehnngthiekidkaraetkthalu xacaetkekhachxnghlngeyuxbuchxngthxng retroperitoneal hruxaetkekhachxngeyuxhumhwic pericardial kidkarcaaenkpraephthsdswn 60 10 15 25 30 chnid DeBakey I DeBakey II DeBakey IIIStanford A Stanford B swntn swnplaykarcaaenkpraephthkhxngkarchikesaakhxngexxxrta mirabbkarcaaenkpraephthsahrbkarchikesaakhxngexxxrtaxyuhlayrabb rabbcaaenkthiichbxyswnihyaebngtamtaaehnngthangkaywiphakhkhxngkarchikesaaaelarayaewlathierimmixakarkxnmaphbaephthy rabbkarcaaenkpraephthkhxng DeBakey rabb DeBakey idchuxcakslyaephthysungpwycakkarchikesaakhxngexxxrtachux epnkhaxthibaythangkaywiphakhkhxngkarchikesaakhxngexxxrta caaenkpraephthkhxngkarchikesaatamaetwataaehnngerimtnkhxngkarchikkhadkhxngchnxinthimaerimtnthiidaelakarchikesaakinbriewnipephiyngid xyuaetinechphaaexxxrtachwngkhakhun khalng hruxthngsxngswn chnidthi 1 erimtnthiexxxrtaswnkhakhun yawipthungxyangnxybriewnokhngexxxrta mkphbwakinbriewnyawiptxcaknixik chnidthi 2 tngtnthiexxxrtaswnkhakhunaelakhngxyuechphaabriewnnn chnidthi 3 tngtnthiexxxrtaswnkhalng miswnnxythikinbriewnipthangswntnaetmkcakinbriewnipyngswnplayrabbkarcaaenkpraephthkhxng Stanford aebngepn 2 klum khux A kb B tamaetwaexxxrtaswnkhakhunidrbphlkrathbhruxim A ethiybethakb DeBakey I aela II B ethiybethakb DeBakey IIIphyathisrirwithyaehtukarnaerksudthiekidkhunthaihmikarchikesaakhxngexxxrtakhuxkarchikkhadkhxngchneyuxbuxinthimakhxngexxxrta cakkarthieluxdinexxxrtamikhwamdnsungthaiheluxdaethrkekhamainchnmiediytrngtaaehnngthiekidkarchikkhad aerngdnkhxngeluxdthiihlekhamanithaihrxychikkhadchikxxkipmakkhun xacchikephimipthangdantn proximal hruxdanplay distal eluxdcaihliptamthangphayinchnmiediyekidepnchxngplxmphayinhlxdeluxd false lumen odythichxngcring true lumen kkhuxchxngthangpktikhxngexxxrta odymichnenuxeyuxxinthimaaebngaeykrahwangchxngcringkbchxngplxm enuxeyuxkhxngxinthimanieriykwaaephnenuxeyuxxinthima intimal flap karchikesaakhxngexxxrtaswnihyerimkhuninexxxrtaswnkhakhun 65 okhngexxxrta 10 aelataaehnngkhxngexxxrtakhalngswnchxngxkbriewnthdcak 20 eluxdthiihlinchxngplxmnixacthaihekidkarchikkhadsasxngkhunepnchxngthangiheluxdihlklbekhamainchxngcringid aemhlay khrngcaimpraktsaehtuchdecnkhxngkarekidkarchikkhadkhxngchnxinthima aetswnihyepncakkaresuxmkhxngkhxllaecnaelaxilastinthiprakxbkhunepnchnmiediy eriykwa aelamkphbrwmkbklumxakarmaraefn aela praman 13 khxngkarchikesaakhxngexxxrtaphbwaimmikarchikkhadkhxngxinthima echuxknwaaebbniekidcakkarmiinphnnghlxdeluxd intramural hematoma thiekidcakkarmieluxdxxkinchnmiediy hemorrhage within the media aelaenuxngcakkrninicaimmithangechuxmtxodytrngrahwangchxngcringkbchxngplxm thaihyakthicawinicchykarchikesaakhxngexxxrtaaebbnicak karchikesaakhxngexxxrtathiekidcakkarmikxneluxdinphnnghlxdeluxdnikhwridrbkarrksaechnediywknkbchnidthiekidcakkarchikkhadkhxngchnxinthimaxangxingNienaber CA Clough RE 28 February 2015 Management of acute aortic dissection The Lancet 385 9970 800 811 doi 10 1016 s0140 6736 14 61005 9 PMID 25662791 S2CID 34347018 White A Broder J Mando Vandrick J Wendell J Crowe J 2013 Acute aortic emergencies part 2 aortic dissections 35 1 28 52 doi 10 1097 tme 0b013e31827145d0 PMID 23364404 Criado FJ 2011 Aortic dissection a 250 year perspective Texas Heart Institute Journal 38 6 694 700 PMC 3233335 PMID 22199439 Diseases and Conditions 2009 01 08 thi ewyaebkaemchchin at Isselbacher EM Eagle KA Zipes DP 1997 Diseases of the aorta in Braunwald E b k Heart disease a textbook of cardiovascular medicine 5th ed Philadelphia WB Saunders pp 1546 81 ISBN 0721656633 DeBakey ME Henly WS Cooley DA Morris GC Jr Crawford ES Beall AC Jr Jan 1965 Surgical management of dissecting aneurysms of the aorta 49 130 49 doi 10 1016 S0022 5223 19 33323 9 PMID 14261867 Daily PO Trueblood HW Stinson EB Wuerflein RD Shumway NE Sep 1970 Management of acute aortic dissections Ann Thorac Surg 10 3 237 47 doi 10 1016 S0003 4975 10 65594 4 PMID 5458238 aehlngkhxmulxunFighting Aneurysm Disease 2016 10 14 thi ewyaebkaemchchin Aortic Dissection 2010 12 03 thi ewyaebkaemchchin Classification of aortic dissection 2011 05 27 thi ewyaebkaemchchin American Heart Association aorticdissection com aorticdissection co uk 2009 09 14 thi ewyaebkaemchchin CT scans of Aortic Dissection 2012 01 12 thi ewyaebkaemchchin MedPix medical imageskarcaaenkorkhDICD 10 I71 0ICD 441 0 607086MeSH D000784 805thrphyakrphaynxk 000181 emerg 28 karchikesaakhxngexxxrta Thoracic Aortic Aneurysms and Aortic Dissections bthkhwamaephthysastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk