การกำจัดโรคโปลิโอเป็นความพยายามทางสาธารณสุขระดับนานาชาติที่มีจุดมุ่งหมายกำจัดทุกกรณีของการติดเชื้อจากโปลิโอไมเยลิทิส (โปลิโอ) ให้หมดไปทั่วโลกอย่างถาวร ความพยายามนี้เริ่มต้นขึ้นในปี พ.ศ. 2531 นำโดยองค์การอนามัยโลก (WHO), ยูนิเซฟ (UNICEF) และ องค์กรต่าง ๆ เหล่านี้ เช่นเดียวกับศูนย์ควบคุมและป้องกันโรค (CDC) ของสหรัฐ และมูลนิธิบิลและเมลินดาเกตส์เป็นหัวหอกสำคัญผ่านทางการทำงานของ (GPEI) การนี้สำเร็จมาแล้วสองครั้งในอดีต ครั้งแรกคือกับการกำจัดไข้ทรพิษ และกับ โรครินเดอร์เปสต์
การป้องกันการแพร่กระจายของโรคสามารถกระทำได้ด้วยการให้วัคซีน ซึ่งมีอยู่สองชนิดคือ วัคซีนโปลิโอทางปาก (OPV) ซึ่งให้เชื่้อไวรัสโปลิโอที่อ่อนแอแล้ว กับวัคซีนโปลิโอที่ยังไม่ถูกกระตุ้น (IPV) ซึ่งใช้การฉีดเข้าไป การให้วัคซีนด้วยวิธี OPV นั้นมีต้นทุนต่ำกว่าและสามารถทำได้โดยง่าย และสามารถนำไปสู่ (contact immunity) จึงเป็นวัคซีนชนิดที่ถูกใช้อย่างแพร่หลายที่สุด
โรคโปลิโอในปัจจุบันเกิดจากเชื้อโรคสองชนิดคือ ไวรัสโปลิโอชนิด 'ไวลด์' (WPV) และสายพันธุ์ที่กลายพันธุ์จากชนิดวัคซีนให้ทางปาก เรียกว่า circulating vaccine-derived poliovirus (cVDPV) ในปี พ.ศ. 2562 มี 175 กรณีที่ตรวจพบว่าเป็นผู้ที่ติดเชื้อ WPV ทั่วโลก สูงสุดนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 แต่ก็ถือว่าลดลง 76% จาก 719 กรณีที่ตรวจพบในปี พ.ศ. 2543 และลดลง 99.95% จากประมาณ 350,000 กรณีเมื่อเริ่มแรกโครงการกำจัดโปลิโอในปี พ.ศ. 2531 จากสามสายพันธุ์ของ WPV กรณีล่าสุดที่มีการบันทึกว่าเกิดจากเชื้อชนิด 2 (WPV2) เกิดขึ้นในปี พ.ศ. 2542 และ WPV2 ได้รับการประกาศว่าถูกกำจัดสำเร็จในปี พ.ศ. 2558 ส่วนชนิด 3 (WPV3) พบกรณีสุดท้ายที่เกิดโรคโปลิโอในปี พ.ศ. 2555 และได้รับการประกาศว่าถูกกำจัดเสร็จสิ้นแล้วในปี พ.ศ. 2562 จนถึงปัจจุบัน ไวรัสชนิด 1 (WPV1) ยังคงเป็นสายพันธุ์ที่ปรากฎอยู่ วัคซีนซึ่งรักษาทั้งสามสายพันธุ์ที่กล่าวมาข้างต้นได้นำไปสู่การเกิดขึ้นใหม่ของไวรัสชนิด cVDPV โดยมีสายพันธุ์สอง (cVDPV2) เป็นสายพันธุ์ที่พบได้มากที่สุด ประเทศไนจีเรียเป็นประเทศล่าสุดที่ประกาศอย่างเป็นทางการว่า ได้กำจัดการติดต่อของโปลิโอจากไวรัสโปลิโอชนิดไวลด์ในระดับโรคติดต่อได้สำเร็จ ด้วยกรณีผู้ป่วยล่าสุดพบในปี พ.ศ. 2559 ไวรัสโปลิโอชนิดไวลด์ถูกกำจัดหมดสิ้นแล้วในทุกทวีป ยกเว้นเพียงเอเชีย ข้อมูลในปี พ.ศ. 2563 มีสองประเทศที่ไวรัสโปลิโอยังคงเป็นโรคระดับท้องถิ่น (endemic) คือ ประเทศอัฟกานิสถาน และ ประเทศปากีสถาน
ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2563 ไนจีเรียได้ถูกนำออกจากรายชื่อประเทศที่ยังคงมีการระบาดระดับท้องถิ่นของไวรัสโปลิโอชนิดไวลด์ (endemic wild poliovirus) ทำให้เหลือเพียงสองประเทศบนโลกเท่านั้นคืออัฟกานิสถานและปากีสถาน สองเดือนถัดมา องค์กรอิสระที่แต่งตั้งโดยองค์การอนามัยโลก ได้ประกาศให้ทวีปแอฟริกาปราศจากไวรัสโปลิโอชนิดไวลด์อย่างเป็นทางการ
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการกำจัดโรคโปลิโอ
การกำจัดโรคโปลิโอสามารถทำได้หลายทาง เพื่อหยุดการเกิดโรคนี้ในมนุษย์ และเพื่อให้สูญพันธ์ไป จนกระทั่งว่าไม่มีการติดเชื้อในธรรมชาติหรือในห้องทดลองอีกต่อไป in nature or in the laboratory, นอกจากนี้ ยังต้องควบคุมการติดเชื้อโดยสังเกตการแพร่เชื้อของโรคที่จำกัดขอบเขตในพื้นที่เฉพาะ และลดการอุบัติของโรคทั่วโลกจนเหลือศูนย์ ด้วยการร่วมมือของผู้คนอย่างเต็มใจจนไม่จำเป็นต้องมีมาตรการเพิ่มเติม
ในทางทฤษฎี ถ้ามีเครื่องมือที่เหมาะสม จะมีความเป็นไปได้ที่จะกำจัดโรคโปลิโอที่อาศัยเฉพาะในมนุษย์ และในความเป็นจริง ยังมีลักษณะทางชีวภาพของสิ่งมีชีวิตและปัจจัยทางเทคนิกหลายอย่างที่จะช่วยเพิ่มศักยภาพกำจัดโรค ตัวชี้วัดสามอย่างถูกพิจารณาโดยความสำคัญในการตัดสินใจถึงความเป็นไปได้ของการกำจัดโรค วิธีการกำจัดโรคที่มีประสิทธิภาพ ตัวอย่างเช่น การหยุดยั้งตัวแพร่เชื้อ และการตรวจเชื้อที่อาจนำไปสู่พาหะ
อ้างอิง
- . Global Health Strategies. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 March 2016. สืบค้นเมื่อ 11 February 2016.
- . World Health Organization (WHO). คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 3 February 2011. สืบค้นเมื่อ 9 November 2013.
- Ghosh P (14 October 2010). "Rinderpest virus has been wiped out, scientists say". . สืบค้นเมื่อ 14 October 2010.
- "GPEI-Two out of three wild poliovirus strains eradicated". สืบค้นเมื่อ 2 November 2019.
- Scherbel-Ball, Naomi (2020-08-25). "Africa declared free of polio". BBC News (ภาษาอังกฤษแบบบริติช). สืบค้นเมื่อ 2020-08-25.
- "Endemic Countries - GPEI". สืบค้นเมื่อ 17 July 2020.
- https://www.who.int/health-topics/poliomyelitis
- Essien, Gloria (20 June 2020). . Voice of Nigeria. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2020-09-03. สืบค้นเมื่อ 2020-08-27.
- Barrett S (2004). "Eradication versus control: the economics of global infectious disease policies" (PDF). Bull World Health Organ. 82 (9): 683–8. :10665/269225. ISSN 0042-9686. PMC 2622975. PMID 15628206.
- Cockburn TA (April 1961). "Eradication of infectious diseases". Science. 133 (3458): 1050–8. Bibcode:1961Sci...133.1050C. doi:10.1126/science.133.3458.1050. PMID 13694225.
- Centers for Disease Control and Prevention (December 1993). "Recommendations of the International Task Force for Disease Eradication" (PDF). MMWR Recommendations and Reports. 42 (RR-16): 1–38. PMID 8145708.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karkacdorkhoplioxepnkhwamphyayamthangsatharnsukhradbnanachatithimicudmunghmaykacdthukkrnikhxngkartidechuxcakoplioximeylithis opliox ihhmdipthwolkxyangthawr khwamphyayamnierimtnkhuninpi ph s 2531 naodyxngkhkarxnamyolk WHO yuniesf UNICEF aela xngkhkrtang ehlani echnediywkbsunykhwbkhumaelapxngknorkh CDC khxngshrth aelamulnithibilaelaemlindaektsepnhwhxksakhyphanthangkarthangankhxng GPEI karnisaercmaaelwsxngkhrnginxdit khrngaerkkhuxkbkarkacdikhthrphis aelakb orkhrinedxrepstedkkhnhnunginpraethsxinediykalngrbwkhsinoplioxinpi ph s 2545 karpxngknkaraephrkracaykhxngorkhsamarthkrathaiddwykarihwkhsin sungmixyusxngchnidkhux wkhsinoplioxthangpak OPV sungihechuxiwrsoplioxthixxnaexaelw kbwkhsinoplioxthiyngimthukkratun IPV sungichkarchidekhaip karihwkhsindwywithi OPV nnmitnthuntakwaaelasamarththaidodyngay aelasamarthnaipsu contact immunity cungepnwkhsinchnidthithukichxyangaephrhlaythisud orkhoplioxinpccubnekidcakechuxorkhsxngchnidkhux iwrsoplioxchnid iwld WPV aelasayphnthuthiklayphnthucakchnidwkhsinihthangpak eriykwa circulating vaccine derived poliovirus cVDPV inpi ph s 2562 mi 175 krnithitrwcphbwaepnphuthitidechux WPV thwolk sungsudnbtngaetpi ph s 2557 aetkthuxwaldlng 76 cak 719 krnithitrwcphbinpi ph s 2543 aelaldlng 99 95 cakpraman 350 000 krniemuxerimaerkokhrngkarkacdoplioxinpi ph s 2531 caksamsayphnthukhxng WPV krnilasudthimikarbnthukwaekidcakechuxchnid 2 WPV2 ekidkhuninpi ph s 2542 aela WPV2 idrbkarprakaswathukkacdsaercinpi ph s 2558 swnchnid 3 WPV3 phbkrnisudthaythiekidorkhoplioxinpi ph s 2555 aelaidrbkarprakaswathukkacdesrcsinaelwinpi ph s 2562 cnthungpccubn iwrschnid 1 WPV1 yngkhngepnsayphnthuthiprakdxyu wkhsinsungrksathngsamsayphnthuthiklawmakhangtnidnaipsukarekidkhunihmkhxngiwrschnid cVDPV odymisayphnthusxng cVDPV2 epnsayphnthuthiphbidmakthisud praethsincieriyepnpraethslasudthiprakasxyangepnthangkarwa idkacdkartidtxkhxngoplioxcakiwrsoplioxchnidiwldinradborkhtidtxidsaerc dwykrniphupwylasudphbinpi ph s 2559 iwrsoplioxchnidiwldthukkacdhmdsinaelwinthukthwip ykewnephiyngexechiy khxmulinpi ph s 2563 misxngpraethsthiiwrsoplioxyngkhngepnorkhradbthxngthin endemic khux praethsxfkanisthan aela praethspakisthan ineduxnmithunayn ph s 2563 incieriyidthuknaxxkcakraychuxpraethsthiyngkhngmikarrabadradbthxngthinkhxngiwrsoplioxchnidiwld endemic wild poliovirus thaihehluxephiyngsxngpraethsbnolkethannkhuxxfkanisthanaelapakisthan sxngeduxnthdma xngkhkrxisrathiaetngtngodyxngkhkarxnamyolk idprakasihthwipaexfrikaprascakiwrsoplioxchnidiwldxyangepnthangkarpccythisngphltxkarkacdorkhoplioxkarkacdorkhoplioxsamarththaidhlaythang ephuxhyudkarekidorkhniinmnusy aelaephuxihsuyphnthip cnkrathngwaimmikartidechuxinthrrmchatihruxinhxngthdlxngxiktxip in nature or in the laboratory nxkcakni yngtxngkhwbkhumkartidechuxodysngektkaraephrechuxkhxngorkhthicakdkhxbekhtinphunthiechphaa aelaldkarxubtikhxngorkhthwolkcnehluxsuny dwykarrwmmuxkhxngphukhnxyangetmiccnimcaepntxngmimatrkarephimetim inthangthvsdi thamiekhruxngmuxthiehmaasm camikhwamepnipidthicakacdorkhoplioxthixasyechphaainmnusy aelainkhwamepncring yngmilksnathangchiwphaphkhxngsingmichiwitaelapccythangethkhnikhlayxyangthicachwyephimskyphaphkacdorkh twchiwdsamxyangthukphicarnaodykhwamsakhyinkartdsinicthungkhwamepnipidkhxngkarkacdorkh withikarkacdorkhthimiprasiththiphaph twxyangechn karhyudyngtwaephrechux aelakartrwcechuxthixacnaipsuphahaxangxing Global Health Strategies khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 8 March 2016 subkhnemux 11 February 2016 World Health Organization WHO khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 3 February 2011 subkhnemux 9 November 2013 Ghosh P 14 October 2010 Rinderpest virus has been wiped out scientists say subkhnemux 14 October 2010 GPEI Two out of three wild poliovirus strains eradicated subkhnemux 2 November 2019 Scherbel Ball Naomi 2020 08 25 Africa declared free of polio BBC News phasaxngkvsaebbbritich subkhnemux 2020 08 25 Endemic Countries GPEI subkhnemux 17 July 2020 https www who int health topics poliomyelitis Essien Gloria 20 June 2020 Voice of Nigeria khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2020 09 03 subkhnemux 2020 08 27 Barrett S 2004 Eradication versus control the economics of global infectious disease policies PDF Bull World Health Organ 82 9 683 8 10665 269225 ISSN 0042 9686 PMC 2622975 PMID 15628206 Cockburn TA April 1961 Eradication of infectious diseases Science 133 3458 1050 8 Bibcode 1961Sci 133 1050C doi 10 1126 science 133 3458 1050 PMID 13694225 Centers for Disease Control and Prevention December 1993 Recommendations of the International Task Force for Disease Eradication PDF MMWR Recommendations and Reports 42 RR 16 1 38 PMID 8145708