ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
กล้องจุลทรรศน์แบบโฟกัสร่วมชนิดที่ใช้เลเซอร์ในการสแกน (อังกฤษ: Confocal laser scanning microscope ; Confocal laser scanning microscopy ; CLSM ; LSCM) เป็นกล้องจุลทรรน์แบบโฟกัสร่วมที่ใช้สำหรับงานที่ต้องการภาพความละเอียดสูงและสามารถเลือกชั้นความลึกที่ต้องการเก็บภาพ ซึ่งคุณสมบัติหลักของกล้องจุลทรรศน์แบบโฟกัสร่วมชนิดที่ใช้เลเซอร์ในการสแกนคือ มันมีความสามารถที่จะเก็บภาพเฉพาะบริเวณจุดโฟกัสโดยสามารถเลือกระดับความลึกได้ ซึ่งกระบวนการนี้เรียกว่า การตัดด้วยแสง (อังกฤษ: optical sectioning) การบันทึกภาพของกล้องชนิดนี้เป็นการเก็บสัญญาณแสงจากจุดโฟกัสทีละจุดแล้วนำสัญญาณทั้งหมดมาสร้างเป็นภาพด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์ ด้วยกระบวนการดังกล่าวทำให้สามารถสร้างภาพ 3 มิติ ของวัตถุที่ซับซ้อนขึ้นมาได้ โดยสำหรับวัตถุทึบแสงสามารถใช้กล้องชนิดนี้ศึกษาลักษณะของพื้นผิวใด้ ในกรณีที่เป็นวัตถุโปร่งแสงเราสามารถถ่ายภาพโครงสร้างภายในของวัตถุได้โดยใช้กล้องชนิดนี้ ซึ่งภาพที่ได้จะมีคุณภาพดีกว่าใช้กล้องทั่วไป เพราะภาพที่ได้จากระดับวามลึกที่เราต้องการนั้นจะไม่ถูกซ้อนทับโดยภาพที่ระดับความลึกอื่น ในขณะที่ภาพที่ได้จากกล้องจุลทรรศน์แบบธรรมดาจะเป็นภาพของแสงสะท้อนทั้งหมดจากทุกชั้นความลึกที่แสงสามารถทะลุผ่านลงไปได้
หลักการของการถ่ายภาพแบบคอลโฟคอลนั้นได้การจดสิทธิบัตรโดย Marvin Minsky ในปี ค.ศ. 1957 แต่การพัฒนาการของการใช้แสงเลเซอร์นั้นใช้เวลาอีก 30 ปี จึงสามารถนำมาใช้กับกล้องจุลทรรศน์แบบคอลโฟคอล จนกระทั่งในปี ค.ศ. 1980 กล้องจุลทรรศน์แบบโฟกัสร่วมชนิดที่ใช้เลเซอร์ในการสแกนได้กลายเป็นเทคนิคอีกชนิดหนึ่งที่ได้รับความนิยม โดยในปี ค.ศ. 1978 นั้น Thomas Cremer และ Christoph Cremer ได้ออกแบบกระบวนการใช้แสงเลเซอร์ในการสแกนแบบทีละจุดโดยใช้จุดโฟกัสของลำแสงเลเซอร์เพื่อให้ได้ภาพ 3 มิติ โดยกล้องจุลทรรศน์แบบโฟกัสร่วมที่ใช้แสงเลเซอร์ในการสแกนและใช้ตัวรับแสงเพื่อสร้างภาพ 3 มิติ ตัวแรกที่ถูกออกแบบนั้นได้ถูกใช้สำหรับถ่ายภาพวัตถุทางชีววิทยาซึ่งถูกเคลือบสารฟลูออเรสเซ็นต์ ในทศวรรตต่อมากล้องจุลทรรศน์แบบโฟกัสร่วมทำงานด้วยแสงฟลูออเรสเซ็นได้ถูกพัฒนาอย่างจริงจังโดยกลุ่มนักวิจัย University of Amsterdam และ European Molecular Biology Laboratory (EMBL) และ องกรณ์ซึ่งเป็นหุ้นส่วนทางธุรกิจ
การเกิดภาพ
การเกิดภาพของกล้องจุลทรรศน์แบบโฟกัสร่วมชนิดที่ใช้เลเซอร์ในการสแกนเริ่มต้นจากลำแสงเลเซอร์ผ่านช่องของแล่งกำเนิดแสงแบบจุดและถูกโฟกัสด้วยเลนส์วัตถุเป็นปริมาตรของจุดโฟกัส (focal volume) ภายในหรือบนพื้นผิวของชิ้นเนื้อตัวอย่าง แสงสะท้อนจากวัตถุถูกสะท้อนกลับมายังเลนส์วัตถุอีกครั้งโดยแสงสะท้อนนี้มีความยาวคลื่นแตกต่างจากแสงที่มาจากแหล่งกำเนิดแสงแบบจุด เมื่อแสงสะท้อนเดินทางมาถึงตัวแยกแสง (beam slitter) โดยตัวแยกแสงนี้มีคุณสมบัติคือจะยอมให้แสงความยาวคลื่นหนึ่งผ่านไปได้แต่จะสะท้อนแสงอีกความยาวคลื่นหนึ่ง โดยแสงที่สามารถผ่านไปได้จะเป็นแสงจากแหล่งกำเนิดแสงแต่แสงที่สะท้อนมาจากวัตถุจะถูกสะท้อนอีกครั้งหนึ่งเพื่อผ่านไปยังรูขนาดเล็กด้านตัวรับแสง ซึ่งรูขนาดเล็กนี้จะทำการกำจัดแสงที่ไม่ได้มาจากจุดโฟกัสทำให้ได้ภาพที่คมชัดกว่ากล้องจุลทรรศน์แบบปกติ และสามารถเก็บภาพเฉพาะชั้นความลึกที่ต้องการเท่านั้น และในที่สุดจะเดินทางไปถึงตัวรับแสงแบบตัวคูณ (Photo Multiplier Tube; PMT) ซึ่งตัวรับแสงแบบตัวคูณจะทำหน้าที่แปลงสัญญาณแสงเป็นสัญญาณไฟฟ้า โดยส่วนมากจะมีตัวกรองแสง (optical filter) ระหว่างรูขนาดเล็กกับตัวรับแสงเพื่อกรองแสงที่ไม่ต้องการออกอีกครั้งหนึ่งเพื่อให้ได้ภาพที่คมชัดขึ้น
จากที่กล่าวมาข้างต้นแสงที่ได้รับมาจากวัตถุนั้นเป็นแสงสะท้อนจากปริมาตรของจุดโฟกัส โดยแสงสะท้อนนั้นจะกลายเป็นพิกเซล (pixel) ในภาพที่เป็นผลลัพพ์สุดท้าย โดยความสว่างของภาพจะขึ้นอยู่กับความเข้มของสัญญาณแสงสะท้อน ดังนั้นหากเราต้องการภาพหนึ่งภาพ เราจะต้องทำการสแกนแบบจุดต่อจุดให้ทั่วทั้งบริเวณที่เราต้องการ แล้วนำสัญญาณแสงมาแปลงเป็นแต่ละพิกเซล ในการสแกนลำแสงเลเซอร์ให้ทั่วบริเวณที่เราต้องการภาพนั้น เราใช้กระจกที่สามารถปรับได้เพื่อสะท้อนลำแสงเลเซอร์ไปยังบริเวณที่ต้องการได้ ซึ่งการทำกระจกให้สามารถปรับได้นั้นอาจใช้มอเตอร์มาช่วยเพื่อควบคุมมุมของการสะท้อนของลำแสงเลเซอร์ วิธีการที่ใช้ในการสแกนลำแสงเลเซอร์โดยปกตินั้นเป็นวิธีการที่ตอบสนองช้าและสามารถปรับความเร็วได้ เนื่องจากกล้องจุลทรรศน์จะเก็บแสงเฉพาะที่ปริมาตรของจุดโฟกัสเท่านั้นทำให้ต้องใช้เวลาในการเปิดหน้ากล้องนานกว่ากล้องแบบปกติ ดังนั้นการที่สแกนช้าจะส่งผลดีต่อภาพคือทำให้อัตราส่วนระดับสัญญาณแสงสะท้อนต่อสัญญาณรบกวน (signal-to-noise ratio) สูงขึ้น ส่งผลให้ความคมชัดและความละเอียดของภาพสูงขึ้น
การเก็บภาพที่ระดับความลึกต่างๆของวัตถุนั้นทำได้โดยการปรับความสูงของฐานของกล้องจุลทรรศน์หรือปรับระดับความสูงของเลนส์วัตถุเพื่อเปลี่ยนตำแหน่งของจุดโฟกัสให้ต่ำลงหรือสูงขึ้น เมื่อเราได้ภาพ 2 มิติ ที่ระดับความลึกต่างๆแล้ว เมื่อเรานำภาพต่างๆมาประกอบกันโดนเรียงเป็บชั้นๆเราจะได้ภาพโครงสร้างแบบ 3 มิติ
กล้องจุลทรรน์แบบโฟกัสร่วมนี้มีความสามารถในการตัดทางแสง (optical sectioning) ซึ่งทำให้ไม่จำเป็นที่จะต้องทำลายตัวอย่างเพื่อทำการศึกษาโครงสร้างภายใน และทำให้ลดระยะและการวางแผนสำหรับการทดสอบต่างๆ รวมทั้งทำให้ภาพถ่ายมีความละเอียดเพิ่มขึ้น ชิ้นเนื้อตัวอย่างในงานชีววิทยานั้นปกติจะถูกย้อมด้วยสีย้อมของฟลูออเรสเซ็นต์ (fluorescent dye) สำหรับการสังเกตเฉพาะสิ่งที่ต้องการเท่านั้น อย่างไรก็ตามในความเป็นจริงความเข้มข้นของสีย้อมอาจถูกทำให้น้อยลงเพื่อลดการรบกวนในระบบ ดังนั้นกล้องหรือเครื่องมือวัดบางชนิดสามารถจับแสงฟลูออเรสเซ็นต์ได้เพียงโมเลกุลเดียว ดังนั้นจึงมีการใช้ transgenic techniques เพื่อที่จะสร้างโมเลกุลแบบฟลูออเรสเซ็นต์เสมือน (fluorescent chimeric molecules)ขึ้นมา เช่นการนำเอา Green Fluorescent Protein (GFP) มารวมกับโปรตีนชนิดที่เราสนใจในการสังเกตในงานชีววิทยา
การเพิ่มความละเอียด
กล้องจุลทรรศน์แบบโฟกัสร่วมชนิดที่ใช้เลเซอร์ในการสแกนใช้เทคนิดในการสแกนชนิดเดียวกันกับกล้อง Scanning Electron Microscope (SEM) ซึ่งเป็นการสแกนแบบแรสเตอร์ (raster scanning) คือ สเแกนเป็นแบบเส้นแนวนอนทีละเส้นหลายๆเส้นจนกระทั่งได้ภาพ 2 มิติ กล้องจุลทรรศน์แบบโฟกัสร่วมชนิดที่ใช้เลเซอร์ในการสแกนนั้นมีข้อดีกว่ากล้อง Atomic Force Microscope (AFM) และ Scanning Tunneling Microscope (STM) คือไม่จำเป็นต้องใช้ปลายแหลมสำหรับทดสอบ(probe) ที่ต้องลอยเหนือชิ้นเนื้อในระดับนาโนเมตรในขณะที่กล้องจุลทรรศน์แบบโฟกัสร่วมชนิดที่ใช้เลเซอร์ในการสแกนมีระยะห่างระหว่างชิ้นเนื้อกับเลนส์วัตถุ (working distance) ในระดับไมโครเมตรหรือมิลลิเมตร ซึ่งทำให้มีพื้นที่ในการใช้งานได้มากกว่า
กล้องจุลทรรศน์แบบโฟกัสร่วมชนิดที่ใช้เลเซอร์ในการสแกนนั้นใช้แหล่งกำเนิดแสงเลเซอร์แบบจุดแล้วโกัสลำแสงเลเซอร์ไปยังชิ้นเนื้อตัวอย่าง ดังนั้นปริมาตรในการสแกนและความเข้มของแสงสะท้อนในการสแกนแต่ละจุดนั้นขึ้นอยู่กับขนาดของจุดโฟกัส (spot size) ของระบบแสง เพราะว่าจุดโฟกัสที่เกิขึ้นจริงไม่ใช่จุดที่มีขนาดเล็กมากเช่นในอุดมคติ แต่มีขนาดแบบ 3 มิติในรูปแบบของการกระจายแสง ในกล้องจุลทรรศน์แบบนั้นขนาดของจุดโฟกัสขึ้นอยู่กับ Numerical Aperture (N.A.) ของเลนส์วัตถุและความยาวคลื่นของแสงเลเซอร์ที่นำมาใช้ อย่างไรกล้องจุลทรรศน์แบบโฟกัสร่วมชนิดที่ใช้เลเซอร์ในการสแกนนั้นสามารถกำจัดรูปแบบการเบี่ยงเบนลำแสงลำดับสูงๆลำแสง (higher order of difdfraction pattern) ที่มีผลต่อภาพได้ โดยการลดขนาดของรูรับแสงลง อย่างเช่นถ้าเราลดขนาดของรูรับแสงลงเหลือ 1 Airy unit จะทำให้แสงที่ผ่านมายังตัวรับแสงเป็นรูปแบบการเบี่ยงเบนลำแสงลำดับแรก (first order of difraction pattern) เท่านั้น ทำให้ภาพมีความคมชัดสูงขึ้นโดยแลกกับแสงที่มีความเข้มลดลงเพียงเล็กน้อยเท่านั้น ในการถ่ายภาพฟลูออเรสเซ็นต์ข้อจำกัดเพียงอย่างเดียวคืออัตราส่วนระดับสัญญาณต่อสัญญาณรบกวน (signal to noise ratio) เพราะว่าแสงที่ผ่านเข้ามายังตัวรับแสงน้อย แต่ก็ยังมีวิธีการแก้ไขปัญหานี้อยู่คือ ใช้ตัวรับแสงที่มีความไวสูง หรือเพิ่มความเข้มของแหล่งกำเนิดแสง แต่การเพิ่มความเข้มของแหล่งกำเนิดแสงอาจทำให้อายุของการสะท้อนแสงของสีย้อมฟลูออเรสเซ็นหมดลงเร็ว หรืออาจทำลายชิ้นเนื้อได้
การใช้งาน
กล้องจุลทรรศน์แบบโฟกัสร่วมชนิดที่ใช้เลเซอร์ในการสแกนถูกใช้งานอย่างกว้างขวางในระเบียบการทำงานทางชีววิทยา ตั้งแต่ชีววิทยาระดับเซลล์, ยีน หรือ ชีววิทยาระดับไมโคร รวมทั้งการพัฒนาระบบชีววิทยา
การแพทย์ระดับคลีนิค กล้องจุลทรรศน์แบบโฟกัสร่วมชนิดที่ใช้เลเซอร์ในการสแกนถูกใช้ในการวินิจฉัยโรคภัยต่างๆ โดยเฉพาะถูกใช้ในการถ่ายภาพและวิเคราะห์คุณภาพ รวมทั้งยังถูกใช้ในการระบุตำแหน่งและระบุลักษณะของเชื้อโรคต่างๆ ทำให้สามารถวินิจฉัยได้รวดเร็วขึ้นและสามารถทราบได้แม้จะเป็นในระยะเริ่มแรกก็ตาม เพื่อที่จะได้บำบัดรักษาได้ทันท่วงที
ทั้งนี้ยังมีการค้นคว้าเพื่อนำกล้องจุลทรรศน์แบบโฟกัสร่วมชนิดที่ใช้เลเซอร์ในการสแกนไปใช้เป็น endoscope เพื่อใช้ตรวจภายในร่างกาย นอกจากนี้การนำเอาระบบไฟฟ้าเครื่องกลจุลภาคมาใช้ร่วมกับ endoscope ที่ใช้หลักการแบบเดียวกับกล้องจุลทรรศน์แบบโฟกัสร่วมชนิดที่ใช้เลเซอร์ในการสแกนนั้นเป็นการเพิ่มความสามารถให้กล้อง endoscope ให้มีขนาดเล็กลงและมีความเร็วในการบันทึกภาพสูงขึ้นด้วย
อุตสาหกรรมเภสัชกรรมได้นำกล้องจุลทรรศน์แบบโฟกัสร่วมชนิดที่ใช้เลเซอร์ในการสแกนไปใช้สำหรับการตรวจสอบการผลิตแผ่นฟิล์มขนาดบางเพื่อตรวจสอบว่าการกระจายตัวของยานั้นเป็นไปตามต้องการหรือไม่
กล้องจุลทรรศน์แบบโฟกัสร่วมชนิดที่ใช้เลเซอร์ในการสแกนยังมีการนำไปใช้ในการอ่านข้อมูลในระบบการเก็บข้อมูลโดยใช้แสงแบบ 3 มิติ (3D optical data storage)
อ้างอิง
- a b c d Pawley JB (editor)(2006). Handbook of Biological Confocal Microscopy (3rd ed.). Berlin: Springer. .
- US 3013467
- Cosiderations on a laser-scanning-microscope with high resolution and depth of field: C. Cremer and T. Cremer in MICROSCOPICA ACTA VOL.81 NUMBER 1 September,pp.31-44 (1978)
- a b Fellers TJ ,Davidson MW (2007). "Introduction to Confocal Microscopy". Olympus Fluoview Resource Center. National High Magnetic Field Laboratory. Retrived 2007-07-25.
- a b c d Pawley JB (editor)(2006). Handbook of Biological Confocal Microscopy (3rd ed.). Berlin: Springer. .
- a b Fellers TJ, Davidson MW (2007). "Introduction to Confocal Microscopy". Olympus Fluoview Resource Center. National High Magnetic Field Laboratory. Retrieved 2007-07-25.
- Patel DV, McGhee CN (2007). "Contemporary in vivo confocal microscopy of the living human cornea using white light and laser scanning techniques: a major review". Clin Experiment. Ophthalmol.35(1):71-88. doi10.1111/j.1442-9071.2007.01423.x.PMID 17300580
- Hofman A, Goetz M, Galle PR, Neurath MF, Kiesslich R (2006). "Confocal laser endomicroscopy: technical status and current indications". Endoscopy38 (12): 1275-83. doi:10.1055/s-2006-944813. PMID 17163333.
- Le Person S, Puigalli JR, Baron M, Roques M Near infrared drying of phamaceutical thin film: experimental analysis of internal mass transport Chemical Engineering and Processing 37 ,257-263 ,1998
แหล่งข้อมูลอื่น
- Virtual CLSM (Java-based)
- CLSM:Leica Science Lab
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisud klxngculthrrsnaebbofksrwmchnidthiichelesxrinkarsaekn xngkvs Confocal laser scanning microscope Confocal laser scanning microscopy CLSM LSCM epnklxngculthrrnaebbofksrwmthiichsahrbnganthitxngkarphaphkhwamlaexiydsungaelasamartheluxkchnkhwamlukthitxngkarekbphaph sungkhunsmbtihlkkhxngklxngculthrrsnaebbofksrwmchnidthiichelesxrinkarsaeknkhux mnmikhwamsamarththicaekbphaphechphaabriewncudofksodysamartheluxkradbkhwamlukid sungkrabwnkarnieriykwa kartddwyaesng xngkvs optical sectioning karbnthukphaphkhxngklxngchnidniepnkarekbsyyanaesngcakcudofksthilacudaelwnasyyanthnghmdmasrangepnphaphdwyekhruxngkhxmphiwetxr dwykrabwnkardngklawthaihsamarthsrangphaph 3 miti khxngwtthuthisbsxnkhunmaid odysahrbwtthuthubaesngsamarthichklxngchnidnisuksalksnakhxngphunphiwid inkrnithiepnwtthuoprngaesngerasamarththayphaphokhrngsrangphayinkhxngwtthuidodyichklxngchnidni sungphaphthiidcamikhunphaphdikwaichklxngthwip ephraaphaphthiidcakradbwamlukthieratxngkarnncaimthuksxnthbodyphaphthiradbkhwamlukxun inkhnathiphaphthiidcakklxngculthrrsnaebbthrrmdacaepnphaphkhxngaesngsathxnthnghmdcakthukchnkhwamlukthiaesngsamarththaluphanlngipidhlkkarthangankhxngklxngofksrwmtwxyangkhxngoprtineruxngaesngsiekhiyw Green Fluorescent Protein GFP hlkkarkhxngkarthayphaphaebbkhxlofkhxlnnidkarcdsiththibtrody Marvin Minsky inpi kh s 1957 aetkarphthnakarkhxngkarichaesngelesxrnnichewlaxik 30 pi cungsamarthnamaichkbklxngculthrrsnaebbkhxlofkhxl cnkrathnginpi kh s 1980 klxngculthrrsnaebbofksrwmchnidthiichelesxrinkarsaeknidklayepnethkhnikhxikchnidhnungthiidrbkhwamniym odyinpi kh s 1978 nn Thomas Cremer aela Christoph Cremer idxxkaebbkrabwnkarichaesngelesxrinkarsaeknaebbthilacudodyichcudofkskhxnglaaesngelesxrephuxihidphaph 3 miti odyklxngculthrrsnaebbofksrwmthiichaesngelesxrinkarsaeknaelaichtwrbaesngephuxsrangphaph 3 miti twaerkthithukxxkaebbnnidthukichsahrbthayphaphwtthuthangchiwwithyasungthukekhluxbsarfluxxersesnt inthswrrttxmaklxngculthrrsnaebbofksrwmthangandwyaesngfluxxersesnidthukphthnaxyangcringcngodyklumnkwicy University of Amsterdam aela European Molecular Biology Laboratory EMBL aela xngkrnsungepnhunswnthangthurkickarekidphaphkarekidphaphkhxngklxngculthrrsnaebbofksrwmchnidthiichelesxrinkarsaeknerimtncaklaaesngelesxrphanchxngkhxngaelngkaenidaesngaebbcudaelathukofksdwyelnswtthuepnprimatrkhxngcudofks focal volume phayinhruxbnphunphiwkhxngchinenuxtwxyang aesngsathxncakwtthuthuksathxnklbmayngelnswtthuxikkhrngodyaesngsathxnnimikhwamyawkhlunaetktangcakaesngthimacakaehlngkaenidaesngaebbcud emuxaesngsathxnedinthangmathungtwaeykaesng beam slitter odytwaeykaesngnimikhunsmbtikhuxcayxmihaesngkhwamyawkhlunhnungphanipidaetcasathxnaesngxikkhwamyawkhlunhnung odyaesngthisamarthphanipidcaepnaesngcakaehlngkaenidaesngaetaesngthisathxnmacakwtthucathuksathxnxikkhrnghnungephuxphanipyngrukhnadelkdantwrbaesng sungrukhnadelknicathakarkacdaesngthiimidmacakcudofksthaihidphaphthikhmchdkwaklxngculthrrsnaebbpkti aelasamarthekbphaphechphaachnkhwamlukthitxngkarethann aelainthisudcaedinthangipthungtwrbaesngaebbtwkhun Photo Multiplier Tube PMT sungtwrbaesngaebbtwkhuncathahnathiaeplngsyyanaesngepnsyyaniffa odyswnmakcamitwkrxngaesng optical filter rahwangrukhnadelkkbtwrbaesngephuxkrxngaesngthiimtxngkarxxkxikkhrnghnungephuxihidphaphthikhmchdkhun cakthiklawmakhangtnaesngthiidrbmacakwtthunnepnaesngsathxncakprimatrkhxngcudofks odyaesngsathxnnncaklayepnphikesl pixel inphaphthiepnphllphphsudthay odykhwamswangkhxngphaphcakhunxyukbkhwamekhmkhxngsyyanaesngsathxn dngnnhakeratxngkarphaphhnungphaph eracatxngthakarsaeknaebbcudtxcudihthwthngbriewnthieratxngkar aelwnasyyanaesngmaaeplngepnaetlaphikesl inkarsaeknlaaesngelesxrihthwbriewnthieratxngkarphaphnn eraichkrackthisamarthprbidephuxsathxnlaaesngelesxripyngbriewnthitxngkarid sungkarthakrackihsamarthprbidnnxacichmxetxrmachwyephuxkhwbkhummumkhxngkarsathxnkhxnglaaesngelesxr withikarthiichinkarsaeknlaaesngelesxrodypktinnepnwithikarthitxbsnxngchaaelasamarthprbkhwamerwid enuxngcakklxngculthrrsncaekbaesngechphaathiprimatrkhxngcudofksethannthaihtxngichewlainkarepidhnaklxngnankwaklxngaebbpkti dngnnkarthisaeknchacasngphlditxphaphkhuxthaihxtraswnradbsyyanaesngsathxntxsyyanrbkwn signal to noise ratio sungkhun sngphlihkhwamkhmchdaelakhwamlaexiydkhxngphaphsungkhun karekbphaphthiradbkhwamluktangkhxngwtthunnthaidodykarprbkhwamsungkhxngthankhxngklxngculthrrsnhruxprbradbkhwamsungkhxngelnswtthuephuxepliyntaaehnngkhxngcudofksihtalnghruxsungkhun emuxeraidphaph 2 miti thiradbkhwamluktangaelw emuxeranaphaphtangmaprakxbknodneriyngepbchneracaidphaphokhrngsrangaebb 3 miti klxngculthrrnaebbofksrwmnimikhwamsamarthinkartdthangaesng optical sectioning sungthaihimcaepnthicatxngthalaytwxyangephuxthakarsuksaokhrngsrangphayin aelathaihldrayaaelakarwangaephnsahrbkarthdsxbtang rwmthngthaihphaphthaymikhwamlaexiydephimkhun chinenuxtwxyanginnganchiwwithyannpkticathukyxmdwysiyxmkhxngfluxxersesnt fluorescent dye sahrbkarsngektechphaasingthitxngkarethann xyangirktaminkhwamepncringkhwamekhmkhnkhxngsiyxmxacthukthaihnxylngephuxldkarrbkwninrabb dngnnklxnghruxekhruxngmuxwdbangchnidsamarthcbaesngfluxxersesntidephiyngomelkulediyw dngnncungmikarich transgenic techniques ephuxthicasrangomelkulaebbfluxxersesntesmuxn fluorescent chimeric molecules khunma echnkarnaexa Green Fluorescent Protein GFP marwmkboprtinchnidthierasnicinkarsngektinnganchiwwithyakarephimkhwamlaexiydklxngculthrrsnaebbofksrwmchnidthiichelesxrinkarsaeknichethkhnidinkarsaeknchnidediywknkbklxng Scanning Electron Microscope SEM sungepnkarsaeknaebbaersetxr raster scanning khux seaeknepnaebbesnaenwnxnthilaesnhlayesncnkrathngidphaph 2 miti klxngculthrrsnaebbofksrwmchnidthiichelesxrinkarsaeknnnmikhxdikwaklxng Atomic Force Microscope AFM aela Scanning Tunneling Microscope STM khuximcaepntxngichplayaehlmsahrbthdsxb probe thitxnglxyehnuxchinenuxinradbnaonemtrinkhnathiklxngculthrrsnaebbofksrwmchnidthiichelesxrinkarsaeknmirayahangrahwangchinenuxkbelnswtthu working distance inradbimokhremtrhruxmilliemtr sungthaihmiphunthiinkarichnganidmakkwa klxngculthrrsnaebbofksrwmchnidthiichelesxrinkarsaeknnnichaehlngkaenidaesngelesxraebbcudaelwokslaaesngelesxripyngchinenuxtwxyang dngnnprimatrinkarsaeknaelakhwamekhmkhxngaesngsathxninkarsaeknaetlacudnnkhunxyukbkhnadkhxngcudofks spot size khxngrabbaesng ephraawacudofksthiekikhuncringimichcudthimikhnadelkmakechninxudmkhti aetmikhnadaebb 3 mitiinrupaebbkhxngkarkracayaesng inklxngculthrrsnaebbnnkhnadkhxngcudofkskhunxyukb Numerical Aperture N A khxngelnswtthuaelakhwamyawkhlunkhxngaesngelesxrthinamaich xyangirklxngculthrrsnaebbofksrwmchnidthiichelesxrinkarsaeknnnsamarthkacdrupaebbkarebiyngebnlaaesngladbsunglaaesng higher order of difdfraction pattern thimiphltxphaphid odykarldkhnadkhxngrurbaesnglng xyangechnthaeraldkhnadkhxngrurbaesnglngehlux 1 Airy unit cathaihaesngthiphanmayngtwrbaesngepnrupaebbkarebiyngebnlaaesngladbaerk first order of difraction pattern ethann thaihphaphmikhwamkhmchdsungkhunodyaelkkbaesngthimikhwamekhmldlngephiyngelknxyethann inkarthayphaphfluxxersesntkhxcakdephiyngxyangediywkhuxxtraswnradbsyyantxsyyanrbkwn signal to noise ratio ephraawaaesngthiphanekhamayngtwrbaesngnxy aetkyngmiwithikaraekikhpyhanixyukhux ichtwrbaesngthimikhwamiwsung hruxephimkhwamekhmkhxngaehlngkaenidaesng aetkarephimkhwamekhmkhxngaehlngkaenidaesngxacthaihxayukhxngkarsathxnaesngkhxngsiyxmfluxxersesnhmdlngerw hruxxacthalaychinenuxidkarichnganklxngculthrrsnaebbofksrwmchnidthiichelesxrinkarsaeknthukichnganxyangkwangkhwanginraebiybkarthanganthangchiwwithya tngaetchiwwithyaradbesll yin hrux chiwwithyaradbimokhr rwmthngkarphthnarabbchiwwithya karaephthyradbkhlinikh klxngculthrrsnaebbofksrwmchnidthiichelesxrinkarsaeknthukichinkarwinicchyorkhphytang odyechphaathukichinkarthayphaphaelawiekhraahkhunphaph rwmthngyngthukichinkarrabutaaehnngaelarabulksnakhxngechuxorkhtang thaihsamarthwinicchyidrwderwkhunaelasamarththrabidaemcaepninrayaerimaerkktam ephuxthicaidbabdrksaidthnthwngthi thngniyngmikarkhnkhwaephuxnaklxngculthrrsnaebbofksrwmchnidthiichelesxrinkarsaeknipichepn endoscope ephuxichtrwcphayinrangkay nxkcaknikarnaexarabbiffaekhruxngklculphakhmaichrwmkb endoscope thiichhlkkaraebbediywkbklxngculthrrsnaebbofksrwmchnidthiichelesxrinkarsaeknnnepnkarephimkhwamsamarthihklxng endoscope ihmikhnadelklngaelamikhwamerwinkarbnthukphaphsungkhundwy xutsahkrrmephschkrrmidnaklxngculthrrsnaebbofksrwmchnidthiichelesxrinkarsaeknipichsahrbkartrwcsxbkarphlitaephnfilmkhnadbangephuxtrwcsxbwakarkracaytwkhxngyannepniptamtxngkarhruxim klxngculthrrsnaebbofksrwmchnidthiichelesxrinkarsaeknyngmikarnaipichinkarxankhxmulinrabbkarekbkhxmulodyichaesngaebb 3 miti 3D optical data storage xangxinga b c d Pawley JB editor 2006 Handbook of Biological Confocal Microscopy 3rd ed Berlin Springer ISBN 0 387 25921 X US 3013467 Cosiderations on a laser scanning microscope with high resolution and depth of field C Cremer and T Cremer in MICROSCOPICA ACTA VOL 81 NUMBER 1 September pp 31 44 1978 a b Fellers TJ Davidson MW 2007 Introduction to Confocal Microscopy Olympus Fluoview Resource Center National High Magnetic Field Laboratory Retrived 2007 07 25 a b c d Pawley JB editor 2006 Handbook of Biological Confocal Microscopy 3rd ed Berlin Springer ISBN 0 387 25921 X a b Fellers TJ Davidson MW 2007 Introduction to Confocal Microscopy Olympus Fluoview Resource Center National High Magnetic Field Laboratory Retrieved 2007 07 25 Patel DV McGhee CN 2007 Contemporary in vivo confocal microscopy of the living human cornea using white light and laser scanning techniques a major review Clin Experiment Ophthalmol 35 1 71 88 doi10 1111 j 1442 9071 2007 01423 x PMID 17300580 Hofman A Goetz M Galle PR Neurath MF Kiesslich R 2006 Confocal laser endomicroscopy technical status and current indications Endoscopy38 12 1275 83 doi 10 1055 s 2006 944813 PMID 17163333 Le Person S Puigalli JR Baron M Roques M Near infrared drying of phamaceutical thin film experimental analysis of internal mass transport Chemical Engineering and Processing 37 257 263 1998aehlngkhxmulxunVirtual CLSM Java based CLSM Leica Science Lab