บทความนี้หรือส่วนนี้ของบทความต้องการปรับรูปแบบ ซึ่งอาจหมายถึง ต้องการจัดรูปแบบข้อความ จัดหน้า แบ่งหัวข้อ และ/หรือการจัดระเบียบอื่น ๆ คุณสามารถช่วยแก้ไขปัญหานี้ได้โดยการกดที่ปุ่ม แก้ไข ด้านบน จากนั้นปรับปรุงหรือจัดรูปแบบอื่น ๆ ในบทความให้เหมาะสม |
กลุ่มอัคบารี (อาหรับ: أخباریون; เปอร์เซีย: اخباریان, ฮาดิษนิยม) คือลัทธิหนึ่งในนิติศาสตร์อิสลาม และ ฮาดิษศึกษาในนิกายชีอะห์ ซึ่งดำเนินการตั้งแต่ปี ๒๕๐ ถึง ๑๑๗๐
อัคบารี มีแนวทางในการวินิจฉัยโดยอาศัยฮาดิษเพียงอย่างเดียว ซึ่งอยู่ตรงข้ามกับกลุ่มอุศูลียูนที่ใช้หนทางอื่น ๆ จากแนวทางการอิจติฮาด หรือ การวินิจฉัยบทบัญญัติของตนเอง แนวทางการวินิจฉัยเช่นนี้เกิดขึ้นตั้งแต่ยุคแรกเพียงแต่ไม่ได้ถูกขนานนามและแบ่งเป็นสองสำนักอย่างชัดเจน
กลุ่มอัคบารี
บุคคลที่โด่งดังในสำนักนี้คือ มุฮัมหมัด บาเก็ร มัจลีซี /เชค ฮุร อามิลี/เฟฎกาชานี/เชคยูซุฟ บะฮ์รอนี ยุคต่าง ๆ ของกลุ่มอัคบารี มีทั้งช่วงที่แข็งเกรงและอ่อนแอในด้านหลักเกณฑ์ เพราะมีบางท่านจากสำนักอัคบารีใช้แนวทางที่ผสมผสานระหว่าง อัคบารีและอุศูลี อาทิ ท่านอัลลามะห์มัจลิซีได้กล่าวว่า “ฉันไม่ได้เป็นอัคบารี แต่ทว่าฉันใช้สายกลางระหว่างอัคบารีและอุศูลี เช่นเดียวกับเชคยูซูฟ บะฮรอนี ที่โด่งดังในนาม “ศอฮิบ ฮะดาอิก” ได้เดินตามแนวทางสายกลางเช่นเดียวกัน และได้กล่าวถึงเศษหนึ่งส่วนสามของหนังสือเล่มที่หนึ่งของตนนามว่า “อัลฮะดาอิก อันนาฎิเราะห์ ฟี อะห์กาม อัลอิตเราะห์ อัฏฏอฮเราะ” ถึงแนวทางอุศูลี บนรากฐานโองการอัลกุรอานและวัจนะต่าง ๆ ซึ่งเป็นแนวทางนิติอิสลามที่ท่านเลือกใช้ในหนังสือ ฮะดาอิก เช่นเดียวกันเจ้าของหนังสือ “อัรเราฎอตุลญะนาต” กล่าวถึงเชคยูซูฟ บะฮ์รอนีว่า “เขาคือผู้ที่เดินสายกลางในนิติศาสตร์อิสลามระหว่างแนวทางอุศูลี และ อัคบารี” ซึ่งน่าจะเป็นทัศนะที่ถูกต้อง
จุดกำเนิดของแนวทางอัคบารี
ขบวนการอัคบารีมีจุดกำเนิดจากยุคสมัยของบรรดาอิมามมะอฺศูม(อ) และ เหล่าสาวกของบรรดาอิมาม(อ)ล้วนแล้วใช้แนวทางอัคบารีในการวินิจฉัยบทบัญญัติอิสลาม แต่คำว่า “กลุ่มอัคบารี”ถูกขนานนามครั้งแรกโดยมุฮัมหมัดอามีน อิสตาร์ ออบอดี ซึ่งทัศนะดังกล่าวถูกบันทึกในหนังสือหลายเล่มอาทิ “มัรญะอียัต”โดย ซัยยิด ฮิดายะตุลลอฮ ฏอลิกอนี บรรดาผู้รู้ที่ยิ่งใหญ่อาทิ เชค ศอดูก และ เชคกุลัยนี ได้ตามแนวทางนี้เช่นกัน
ในเริ่มต้น ศตวรรษที่ ๑๑ (ฮ.ศ) ได้มีการปฏิเสธแนวทางของการวินิจฉัยเกิดขึ้นโดยบุคคลหนึ่งนามว่า มุฮัมหมัด อามีน อิสตาร์ ออบอดีซึ่งก่อตั้งสำนักต่อต้าน ฟิกฮ (การวินิจฉัยบทบัญญัติ) โดยมีความเชื่อว่าอัลกุรอานไม่สามารถเป็นบทพิสูจน์ในการวินิจฉัยได้ และพวกเขายังคงปฏิเสธ การอิจมะอฺ (การลงมติในการวินิจฉัยโดยผู้เชี่ยวชาญ) นอกเหนือจากนั้นพวกเขายังต่อต้านแนวทางปรัชญาและรหัสยะด้วยเช่นกัน แนวทางเช่นนี้เกิดขึ้นในทุกสำนักทั้งสำนักในเชิงนิติอิสลาม และสำนักเชิงเทววิทยา ในนิกายซุนนี่กลุ่มดังกล่าวจะถูกเรียกว่าชาว ฮาดิษ (บรรดาฟะกิฮ ฮิญาซ) ตรงกันข้ามกับสำนักสติปัญญาและตรรกะ(บรรดาฟะกิฮในอิรัก) ซึ่งเปรียบเสมือนความแตกต่างในทัศนะเชิงหลักศรัทธาที่เกิดขึ้นระว่างสำนัก อาชาอิเราะห์ (ซึ่งถือหนทางการถ่ายทอดเป็นหลักและเชื่อไปยังความหมายภายนอกของฮาดิษ) ตรงกันข้ามกับสำนักมุอฺตะซีละ(ซึ่งใช้หนทางการใช้เหตุผลด้วยสติปัญญา) ในชีอะห์ แนวทางอัคบารีจะปรากฏในฟิกฮ์มากกว่าเทววิทยา
แบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ของอัคบารี
. ยุคที่หนึ่ง ตรงกับยุคที่สามของการบันทึกฮาดิษในนิกายชีอะห์ หมายถึงศตวรรษที่สามถึงศตวรรษที่หก บรรดาผู้อวุโสของกลุ่มอัคบารีมีดังต่อไปนี้ “ นัศร อิบนิ มะซาฮิม/ มุฮัมหมัด อิบนิ อะห์หมัด อิบนิ ยะฮ์ยา/ มุฮัมหมัด อิบนิ ยะอฺฟัร อัลอะซะดี/ มุฮัมหมัด อิบนิ ญะอฺฟัร อัลเมาดิบ/มุฮัมหมัด อิบนิ ฮิซาน/ อะห์หมัดอิบนิ มุฮัมหมัด อัลบัรกี/ อาลีอิบนิ คอตัมอัลกัซวีนี/ อบูอัมรว์ อัลกิชี/มุฮัมหมัด อิบนิ มัซอูด อัลอะยาชี และ ซัยยิดรอฎี (ผู้รวบรวมตำรานะฮญุลบะลาเฆาะห์)
ยุคที่สอง ตรงกับยุคที่สี่ของการบันทึกฮาดิษในนิกายชีอะห์หมายถึง ศตวรรษที่หกถึงศตวรรษที่สิบ บรรดาผู้อาวุโสในยุคนี้คือ เชคฏอบัรซี/กุฏบ์ รอวันดี และ อิบนิ ชะฮร์ ออชูบ/
ยุคที่สาม ตรงกับยุคที่ห้าของการบันทึกฮาดิษในนิกายชีอะห์หมายถึงศตวรรษที่ ๑๑ และ ๑๒ ซึ่งอยู่ในยุคสมัยการปกครอง ราชวงศ์ซาฟาวิด เริ่มต้นโดย มุลลามุฮัมหมัดอามีน อิสตาร์ ออบอดี และจบลงที่ยุคสมัยของเชคยูซูฟ บะฮ์รอนี
ยุคที่สี่และห้า คือช่วงศตวรรษที่ผ่านมาซึ่งมีผู้คนให้ความสำคัญต่อการเรียนรู้วิชาความรู้ด้านศาสนา และบางครั้งอาจไม่ได้ให้ความสำคัญต่อฮาดิษเท่าที่ควรในการเผยแพร่ ซึ่งยังคงมีกลุ่มที่ให้ความสำคัญต่อฮาดิษและ แม้ว่าพวกเขาจะใช้แนวทางอุศูลีในการวินิจฉัยบทบัญญัติแต่ยังคงมุ่งไปยังฮาดิษและใช้แนวทางของกลุ่มอัคบารีในการยอมรับฮาดิษต่าง ๆ
คุณลักษณะของกลุ่มอัคบารีในยุคราชวงศ์ซาฟาวิด(ยุคที่สาม)
1.ปฏิเสธหลักเกณฑ์ในการวินิจฉัย กลุ่มอัคบารีมีหลักเกณฑ์ในการวินิจฉัยเป็นของตนเอง และยังคงมีหลายกฎเกณฑ์ที่เป็นที่ยอมรับของกลุ่มอุศูลีฝ่ายตรงข้ามของคุณลักษณะเช่นนี้คือ กลุ่มอุศูลีนิกายชีอะห์
2.ปฏิเสธความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสายรายงาน แม้ว่ากลุ่มอัคบารีจะมีความรู้ต่อสายรายงานฮาดิษมากมายถือเป็นผู้ที่มีความเชี่ยวชาญ แต่พวกเขากลับปฏิเสธเรื่องราวดังกล่าวในการยอมรับฮาดิษบทหนึ่ง และยังคงยอมรับฮาดิษหลายบทซึ่งไม่มีความน่าเชื่อถือตามหลักความรู้ที่ว่าด้วยสายรายงาน กลุ่มที่อยู่ฝ่ายตรงข้ามคุณลักษณะนี้ของอัคบารี คือ กล่มุ ริญาลียูน (ผู้มีความเชี่ยวชาญในเรื่องสายรายงานฮาดิษ)
3.ปฏิเสธความเป็นบทพิสูจน์ในภายนอกของอัลกุรอาน และ ต่อต้านการอรรถาธิบายอัลกุรอานที่ไม่ได้มาจากฮาดิษ กลุ่มอัคบารีมีความเชื่อว่าการอรรถาธิบายโองการอัลกุรอานจะต้องพึ่งไปยังฮาดิษเพียงเท่านั้นและฮาดิษคือแนวทางเดียวที่จะทำให้มนุษย์เข้าใจเนื้อหาของอัลกุรอานได้ พวกเขายังคงปฏิเสธความหมายที่ได้จากภายนอกของอัลกุรอาน ฝ่ายตรงข้ามของลักษณะนี้คือกลุ่มอุศูลี และ บรรดานักอรรถาธิบายอัลกุรอานที่เชื่อในแนวทางอื่นในการให้ความหมายต่ออัลกุรอานนอกเหนือจากฮาดิษ
4.ต่อต้านปรัชญา กลุ่มอัคบารีมีทัศนะเช่นเดียวกับสาวกบางท่านของบรรดาอิมามและบางกลุ่มจากกลุ่มอุศูลีมีความเชื่อว่าปรัชญาคือแนวทางที่ผิด ความคิดดังกล่าวทั้งกลุ่มอัคบารีและอุศูลีมีความคิดเหมือนกันซึ่งฝ่ายตรงข้ามของลักษณะนี้คือกลุ่มนักปรัชญา
5.ต่อต้านแนวทางอิรฟานและตะเศาวุฟ ในคุณลักษณะนี้กลุ่มอัคบารีมีทัศนะเช่นเดียวกันกับบรรดาสาวกของอิมามบางท่าน และส่วนมากของอุศูลี โดยคัดค้าน แนวทางตะเศาสุฟของ อิบนิ อะรอบี และ ซัยยิด ฮัยดัร ออมุลี ซึ่งมีคำสั่งสอนที่ตรงกันข้ามกับนิกายชีอะห์
อ้างอิง
- http://www.hawzah.net/fa/articleview.html?ArticleID=6490&Type=-1&SearchText=عبدالجلیل+رازی
- . คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2010-12-17. สืบค้นเมื่อ 2018-01-10.
- «رجال و درایه - جلسه ۸». سایت رسمی علامه شیخ علی ریاحی نبی، مؤسسه حکمت اسلامی احتجاج، ۱۳۹۵/۵/۱۰.
{{}}
: Citation ว่างเปล่า ((help)) - و ۱۱ / «رجال و درایه- جلسه ۱۰»[]. سایت رسمی علامه شیخ علی ریاحی نبی، مؤسسه حکمت اسلامی احتجاج، ۱۳۹۵/۵/۱۰.
{{}}
: Citation ว่างเปล่า ((help))
- Rival Empires of Trade and Imami Shiism in Eastern Arabia, 1300-1800, , , Vol. 19, No. 2, (May 1987), pp. 177–203
- Andrew J. Newman, The Nature of the Akhbārī/Uṣūlī Dispute in Late Ṣafawid Iran. Part 1: 'Abdallāh al-Samāhijī's "Munyat al-Mumārisīn Bulletin of the School of Oriental and African Studies, University of London, Vol. 55, No. 1 (1992), pp. 22–51
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnihruxswnnikhxngbthkhwamtxngkarprbrupaebb sungxachmaythung txngkarcdrupaebbkhxkhwam cdhna aebnghwkhx cdlingkphayin aela hruxkarcdraebiybxun khunsamarthchwyaekikhpyhaniidodykarkdthipum aekikh danbn caknnprbprunghruxcdrupaebbxun inbthkhwamihehmaasm klumxkhbari xahrb أخباریون epxresiy اخباریان hadisniym khuxlththihnunginnitisastrxislam aela hadissuksainnikaychixah sungdaeninkartngaetpi 250 thung 1170 xkhbari miaenwthanginkarwinicchyodyxasyhadisephiyngxyangediyw sungxyutrngkhamkbklumxusuliyunthiichhnthangxun cakaenwthangkarxictihad hrux karwinicchybthbyytikhxngtnexng aenwthangkarwinicchyechnniekidkhuntngaetyukhaerkephiyngaetimidthukkhnannamaelaaebngepnsxngsankxyangchdecnklumxkhbaribukhkhlthiodngdnginsanknikhux muhmhmd baekr mclisi echkh hur xamili efdkachani echkhyusuf bahrxni yukhtang khxngklumxkhbari mithngchwngthiaekhngekrngaelaxxnaexindanhlkeknth ephraamibangthancaksankxkhbariichaenwthangthiphsmphsanrahwang xkhbariaelaxusuli xathi thanxllamahmclisiidklawwa chnimidepnxkhbari aetthwachnichsayklangrahwangxkhbariaelaxusuli echnediywkbechkhyusuf bahrxni thiodngdnginnam sxhib hadaxik idedintamaenwthangsayklangechnediywkn aelaidklawthungesshnungswnsamkhxnghnngsuxelmthihnungkhxngtnnamwa xlhadaxik xnnadieraah fi xahkam xlxiteraah xttxheraa thungaenwthangxusuli bnrakthanoxngkarxlkurxanaelawcnatang sungepnaenwthangnitixislamthithaneluxkichinhnngsux hadaxik echnediywknecakhxnghnngsux xreradxtulyanat klawthungechkhyusuf bahrxniwa ekhakhuxphuthiedinsayklanginnitisastrxislamrahwangaenwthangxusuli aela xkhbari sungnacaepnthsnathithuktxngcudkaenidkhxngaenwthangxkhbarikhbwnkarxkhbarimicudkaenidcakyukhsmykhxngbrrdaximammax sum x aela ehlasawkkhxngbrrdaximam x lwnaelwichaenwthangxkhbariinkarwinicchybthbyytixislam aetkhawa klumxkhbari thukkhnannamkhrngaerkodymuhmhmdxamin xistar xxbxdi sungthsnadngklawthukbnthukinhnngsuxhlayelmxathi mryaxiyt ody syyid hidayatullxh txlikxni brrdaphuruthiyingihyxathi echkh sxduk aela echkhkulyni idtamaenwthangniechnkn inerimtn stwrrsthi 11 h s idmikarptiesthaenwthangkhxngkarwinicchyekidkhunodybukhkhlhnungnamwa muhmhmd xamin xistar xxbxdisungkxtngsanktxtan fikh karwinicchybthbyyti odymikhwamechuxwaxlkurxanimsamarthepnbthphisucninkarwinicchyid aelaphwkekhayngkhngptiesth karxicmax karlngmtiinkarwinicchyodyphuechiywchay nxkehnuxcaknnphwkekhayngtxtanaenwthangprchyaaelarhsyadwyechnkn aenwthangechnniekidkhuninthuksankthngsankinechingnitixislam aelasankechingethwwithya innikaysunniklumdngklawcathukeriykwachaw hadis brrdafakih hiyas trngknkhamkbsankstipyyaaelatrrka brrdafakihinxirk sungepriybesmuxnkhwamaetktanginthsnaechinghlksrththathiekidkhunrawangsank xachaxieraah sungthuxhnthangkarthaythxdepnhlkaelaechuxipyngkhwamhmayphaynxkkhxnghadis trngknkhamkbsankmux tasila sungichhnthangkarichehtuphldwystipyya inchixah aenwthangxkhbaricapraktinfikhmakkwaethwwithyaaebngyukhsmythangprawtisastrkhxngxkhbari yukhthihnung trngkbyukhthisamkhxngkarbnthukhadisinnikaychixah hmaythungstwrrsthisamthungstwrrsthihk brrdaphuxwuoskhxngklumxkhbarimidngtxipni nsr xibni masahim muhmhmd xibni xahhmd xibni yahya muhmhmd xibni yax fr xlxasadi muhmhmd xibni yax fr xlemadib muhmhmd xibni hisan xahhmdxibni muhmhmd xlbrki xalixibni khxtmxlkswini xbuxmrw xlkichi muhmhmd xibni msxud xlxayachi aela syyidrxdi phurwbrwmtaranahyulbalaekhaah yukhthisxng trngkbyukhthisikhxngkarbnthukhadisinnikaychixahhmaythung stwrrsthihkthungstwrrsthisib brrdaphuxawuosinyukhnikhux echkhtxbrsi kutb rxwndi aela xibni chahr xxchub yukhthisam trngkbyukhthihakhxngkarbnthukhadisinnikaychixahhmaythungstwrrsthi 11 aela 12 sungxyuinyukhsmykarpkkhrxng rachwngssafawid erimtnody mullamuhmhmdxamin xistar xxbxdi aelacblngthiyukhsmykhxngechkhyusuf bahrxni yukhthisiaelaha khuxchwngstwrrsthiphanmasungmiphukhnihkhwamsakhytxkareriynruwichakhwamrudansasna aelabangkhrngxacimidihkhwamsakhytxhadisethathikhwrinkarephyaephr sungyngkhngmiklumthiihkhwamsakhytxhadisaela aemwaphwkekhacaichaenwthangxusuliinkarwinicchybthbyytiaetyngkhngmungipynghadisaelaichaenwthangkhxngklumxkhbariinkaryxmrbhadistang khunlksnakhxngklumxkhbariinyukhrachwngssafawid yukhthisam 1 ptiesthhlkeknthinkarwinicchy klumxkhbarimihlkeknthinkarwinicchyepnkhxngtnexng aelayngkhngmihlaykdeknththiepnthiyxmrbkhxngklumxusulifaytrngkhamkhxngkhunlksnaechnnikhux klumxusulinikaychixah 2 ptiesthkhwamruthiekiywkhxngkbsayrayngan aemwaklumxkhbaricamikhwamrutxsayraynganhadismakmaythuxepnphuthimikhwamechiywchay aetphwkekhaklbptiestheruxngrawdngklawinkaryxmrbhadisbthhnung aelayngkhngyxmrbhadishlaybthsungimmikhwamnaechuxthuxtamhlkkhwamruthiwadwysayrayngan klumthixyufaytrngkhamkhunlksnanikhxngxkhbari khux klmu riyaliyun phumikhwamechiywchayineruxngsayraynganhadis 3 ptiesthkhwamepnbthphisucninphaynxkkhxngxlkurxan aela txtankarxrrthathibayxlkurxanthiimidmacakhadis klumxkhbarimikhwamechuxwakarxrrthathibayoxngkarxlkurxancatxngphungipynghadisephiyngethannaelahadiskhuxaenwthangediywthicathaihmnusyekhaicenuxhakhxngxlkurxanid phwkekhayngkhngptiesthkhwamhmaythiidcakphaynxkkhxngxlkurxan faytrngkhamkhxnglksnanikhuxklumxusuli aela brrdankxrrthathibayxlkurxanthiechuxinaenwthangxuninkarihkhwamhmaytxxlkurxannxkehnuxcakhadis 4 txtanprchya klumxkhbarimithsnaechnediywkbsawkbangthankhxngbrrdaximamaelabangklumcakklumxusulimikhwamechuxwaprchyakhuxaenwthangthiphid khwamkhiddngklawthngklumxkhbariaelaxusulimikhwamkhidehmuxnknsungfaytrngkhamkhxnglksnanikhuxklumnkprchya 5 txtanaenwthangxirfanaelataesawuf inkhunlksnaniklumxkhbarimithsnaechnediywknkbbrrdasawkkhxngximambangthan aelaswnmakkhxngxusuli odykhdkhan aenwthangtaesasufkhxng xibni xarxbi aela syyid hydr xxmuli sungmikhasngsxnthitrngknkhamkbnikaychixahxangxinghttp www hawzah net fa articleview html ArticleID 6490 amp Type 1 amp SearchText عبدالجلیل رازی khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2010 12 17 subkhnemux 2018 01 10 رجال و درایه جلسه ۸ سایت رسمی علامه شیخ علی ریاحی نبی مؤسسه حکمت اسلامی احتجاج ۱۳۹۵ ۵ ۱۰ a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a Citation wangepla help و ۱۱ رجال و درایه جلسه ۱۰ lingkesiy سایت رسمی علامه شیخ علی ریاحی نبی مؤسسه حکمت اسلامی احتجاج ۱۳۹۵ ۵ ۱۰ a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite web title aemaebb Cite web cite web a Citation wangepla help Rival Empires of Trade and Imami Shiism in Eastern Arabia 1300 1800 Vol 19 No 2 May 1987 pp 177 203 Andrew J Newman The Nature of the Akhbari Uṣuli Dispute in Late Ṣafawid Iran Part 1 Abdallah al Samahiji s Munyat al Mumarisin Bulletin of the School of Oriental and African Studies University of London Vol 55 No 1 1992 pp 22 51