กรดไรโบนิวคลีอิก (อังกฤษ: ribonucleic acid) หรือ อาร์เอ็นเอ เป็นกรดนิวคลีอิก ซึ่งเป็นหนึ่งในสี่สารชีวโมเลกุลหลัก ร่วมกับลิพิด คาร์โบไฮเดรตและโปรตีน ที่สำคัญแก่สิ่งมีชีวิตทุกชนิด อาร์เอ็นเอประกอบด้วยหน่วยย่อยที่เรียกว่า นิวคลีโอไทด์ สายยาว เช่นเดียวกับดีเอ็นเอ นิวคลีโอไทด์แต่ละหน่วยประกอบด้วยนิวคลีโอเบส น้ำตาลไรโบสและหมู่ฟอสเฟต ลำดับนิวคลีโอไทด์ทำให้อาร์เอ็นเอเข้ารหัสข้อมูลพันธุกรรมได้ สิ่งมีชีวิตทุกชนิดใช้อาร์เอ็นเอนำรหัส (mRNA) นำข้อมูลพันธุกรรมที่ชี้นำการสังเคราะห์โปรตีน ยิ่งไปกว่านั้น ไวรัสหลายชนิดใช้อาร์เอ็นเอเป็นสารพันธุกรรมแทนดีเอ็นเอ
โมเลกุลอาร์เอ็นเอบางอย่างมีบทบาทสำคัญในเซลล์โดยเร่งปฏิกิริยาทางชีวภาพ ควบคุมการแสดงออกของยีนหรือรับรู้และสื่อสารการตอบสนองต่อสัญญาณของเซลล์ ขบวนการหนึ่ง คือ การสังเคราะห์โปรตีน ซึ่งเป็นหน้าที่สากลซึ่งโมเลกุลอาร์เอ็นเอสื่อสารชี้นำการสร้างโปรตีนบนไรโบโซม ขบวนการนี้ใช้โมเลกุลอาร์เอ็นเอถ่ายโอน (tRNA) เพื่อขนส่งกรดอะมิโนไปยังไรโบโซม ที่ซึ่งอาร์เอ็นเอไรโบโซม (rRNA) เชื่อมกรดอะมิโนเข้าด้วยกันเพื่อสร้างโปรตีน เรียกขั้นตอนการสังเคราะห์โปรตีนจากสายอาร์เอ็นเอนี้ว่า การแปลรหัส
โครงสร้างทางเคมีของอาร์เอ็นเอคล้ายคลึงกับของดีเอ็นเอเป็นอย่างมาก แต่มีข้อแตกต่างอยู่สองประการ (1) อาร์เอ็นเอมีน้ำตาลไรโบส ขณะที่ดีเอ็นเอมีน้ำตาลดีออกซีไรโบส (ขาดออกซิเจนหนึ่งอะตอม) ซึ่งแตกต่างเล็กน้อย และ (2) อาร์เอ็นเอมีนิวคลีโอเบส ขณะที่ดีเอ็นเอมีไทมีน โมเลกุลอาร์เอ็นเอส่วนมากเป็นสายเดี่ยว และสามารถเกิดโครงสร้างสามมิติที่ซับซ้อนมากได้ ต่างจากดีเอ็นเอ
โครงสร้างทางเคมี
RNA ถูกสร้างเริ่มแรกจากด่าง (bases) แตกต่างกัน 4 ชนิด คือ
- (adenine)
- กัวนีน (guanine)
- (cytosine)
- (uracil)
ด่าง 3 ตัวแรกเหมือนกับที่พบใน DNA แต่ มาแทนที่ไทมีน (thymine) โดยจะเชื่อมต่อกับ ด่างตัวนี้เป็นสารประกอบ ไพริมิดีน (pyrimidine) ด้วย และมีความคล้ายกับ ไทมีน (thymine) มีพลังของการทำงานน้อยกว่า ไทมีน อย่างไรก็ดีใน DNA จะถูกผลิตโดยการสลายตัวทางเคมีของ ดังนั้นจึงสามารถตรวจพบ ไทมีน จึงสรุปว่า
- ถูกจัดสรรไว้สำหรับ RNA ที่ซึ่งปริมาณมีความสำคัญแต่ช่วงอายุสั้น
- ไทมีนถูกจัดสรรไว้สำหรับ DNA ที่ซึ่งการรักษาช่วงตอน (sequence) ของโครงสร้างโมเลกุลมีความสำคัญ
พบว่ามีการดัดแปลงด่างจำนวนมากใน RNA ซึ่งมีบทบาทแตกต่างกันมากมาย (Pseudouridine) และ ด่าง ดีเอ็นเอ (thymidine) ถูกพบในหลายที่ แต่ที่มีมากอยู่ใน ทีซี ลูป (TC loop) ของทุก tRNA ในธรรมชาติพบว่ามีการปรับเปลี่ยนด่างเป็น 100 กรณี ที่เรายังไม่เข้าใจดีนัก
การเปรียบเทียบกับดีเอ็นเอ
อาร์เอ็นเอกับดีเอ็นเอเป็นกรดนิวคลีอิกทั้งคู่ แต่มีข้อแตกต่างหลักอยู่สามประการ คือ
- อาร์เอ็นเอเป็นโมเลกุลเกลียวเดี่ยวในบทบาททางชีวภาพจำนวนมาก และมีสายนิวคลีโอไทด์สั้นกว่าดีเอ็นเอ ขณะที่ดีเอ็นเอมีโมเลกุลเกลียวคู่
- อาร์เอ็นเอมีน้ำตาลไรโบส ขณะที่ดีเอ็นเอมีน้ำตาลดีออกซีไรโบส (ไม่มีหมู่ไฮดรอกซิลเกาะกับวงแหวนเพนโทสที่ตำแหน่ง 2') หมู่ไฮดรอกซิลเหล่านี้ทำให้อาร์เอ็นเอเสถียรน้อยกว่าดีเอ็นเอเพราะเกิดการสลายด้วยน้ำ (hydrolysis) ได้
- เบสคู่สมของอะดีนีน คือ ยูราซิล มิใช่ไทมีนอย่างในดีเอ็นเอ ยูราซิลต่างจากไทมีนตรงที่มีหมู่เมทิลน้อยกว่าหนึ่งหมู่
การสังเคราะห์
การสังเคราะห์ RNA ถูกเร่งปฏิกิริยาโดยเอนไซม์อาร์เอ็นเอพอลิเมอเรส (RNA polymerase) ใช้ DNA เป็นแม่แบบ เริ่มต้นการสังเคราะห์โดยการเชื่อมต่อกับเอนไซม์ตรงตำแหน่ง (promoter) ซีเควนซ์ (sequence) ใน DNA (ตามธรรมดาพบ "อัพสตรีม" (upstream) ของยีน) เกลียวคู่ดีเอ็นเอจะคลายตัวออกโดยการทำงานของเอนไซม์ (helicase) แล้วเอนไซม์จะเคลื่อนไปตามแม่แบบเกลียวในทิศทางจาก 3’-> 5’ และการสังเคราะห์โมเลกุลของ RNA จะมีทิศทางจาก 5’-> 3’
ประวัติ
- ค.ศ. 1869 ค้นพบกรดนิวคลีอิก โดย (Johann Friedrich Miescher (1844–1895)) เมื่อแรกพบเขาเรียกวัตถุนี้ว่า นิวคลีอิน (nuclein) เพราะว่าเขาพบมันในนิวเคลียส ต่อเขาพบว่ามันก็มีในเซลล์ประเภทโพรแคริโอตซึ่งไม่มีนิวเคลียสด้วย
- ค.ศ. 1939 เข้าใจหน้าที่ของอาร์เอ็นเอในการสังเคราะห์โปรตีน โดยการศึกษาทดลองของ (Torbjörn Oskar Caspersson) , (Jean Brachet) และ (Jack Schultz)
- ค.ศ. 1964 พบช่วงต่อ (sequence) ของนิวคลีโอไทด์ 77 ตัว ใน tRNA ของยีสต์ โดย (Robert W. Holley)
อ้างอิง
ดูเพิ่ม
- (RNA Ontology Consortium)
- (Severo Ochoa)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
krdirobniwkhlixik xngkvs ribonucleic acid hrux xarexnex epnkrdniwkhlixik sungepnhnunginsisarchiwomelkulhlk rwmkbliphid kharobihedrtaelaoprtin thisakhyaeksingmichiwitthukchnid xarexnexprakxbdwyhnwyyxythieriykwa niwkhlioxithd sayyaw echnediywkbdiexnex niwkhlioxithdaetlahnwyprakxbdwyniwkhlioxebs natalirobsaelahmufxseft ladbniwkhlioxithdthaihxarexnexekharhskhxmulphnthukrrmid singmichiwitthukchnidichxarexnexnarhs mRNA nakhxmulphnthukrrmthichinakarsngekhraahoprtin yingipkwann iwrshlaychnidichxarexnexepnsarphnthukrrmaethndiexnex omelkulxarexnexbangxyangmibthbathsakhyinesllodyerngptikiriyathangchiwphaph khwbkhumkaraesdngxxkkhxngyinhruxrbruaelasuxsarkartxbsnxngtxsyyankhxngesll khbwnkarhnung khux karsngekhraahoprtin sungepnhnathisaklsungomelkulxarexnexsuxsarchinakarsrangoprtinbnirobosm khbwnkarniichomelkulxarexnexthayoxn tRNA ephuxkhnsngkrdxamionipyngirobosm thisungxarexnexirobosm rRNA echuxmkrdxamionekhadwyknephuxsrangoprtin eriykkhntxnkarsngekhraahoprtincaksayxarexnexniwa karaeplrhs okhrngsrangthangekhmikhxngxarexnexkhlaykhlungkbkhxngdiexnexepnxyangmak aetmikhxaetktangxyusxngprakar 1 xarexnexminatalirobs khnathidiexnexminataldixxksiirobs khadxxksiecnhnungxatxm sungaetktangelknxy aela 2 xarexnexminiwkhlioxebs khnathidiexnexmiithmin omelkulxarexnexswnmakepnsayediyw aelasamarthekidokhrngsrangsammitithisbsxnmakid tangcakdiexnexokhrngsrangthangekhmiRNA thuksrangerimaerkcakdang bases aetktangkn 4 chnid khux adenine kwnin guanine cytosine uracil dang 3 twaerkehmuxnkbthiphbin DNA aet maaethnthiithmin thymine odycaechuxmtxkb dangtwniepnsarprakxb iphrimidin pyrimidine dwy aelamikhwamkhlaykb ithmin thymine miphlngkhxngkarthangannxykwa ithmin xyangirkdiin DNA cathukphlitodykarslaytwthangekhmikhxng dngnncungsamarthtrwcphb ithmin cungsrupwa thukcdsrriwsahrb RNA thisungprimanmikhwamsakhyaetchwngxayusn ithminthukcdsrriwsahrb DNA thisungkarrksachwngtxn sequence khxngokhrngsrangomelkulmikhwamsakhy phbwamikarddaeplngdangcanwnmakin RNA sungmibthbathaetktangknmakmay Pseudouridine aela dang diexnex thymidine thukphbinhlaythi aetthimimakxyuin thisi lup TC loop khxngthuk tRNA inthrrmchatiphbwamikarprbepliyndangepn 100 krni thierayngimekhaicdinkkarepriybethiybkbdiexnexxarexnexkbdiexnexepnkrdniwkhlixikthngkhu aetmikhxaetktanghlkxyusamprakar khux xarexnexepnomelkulekliywediywinbthbaththangchiwphaphcanwnmak aelamisayniwkhlioxithdsnkwadiexnex khnathidiexnexmiomelkulekliywkhu xarexnexminatalirobs khnathidiexnexminataldixxksiirobs immihmuihdrxksilekaakbwngaehwnephnothsthitaaehnng 2 hmuihdrxksilehlanithaihxarexnexesthiyrnxykwadiexnexephraaekidkarslaydwyna hydrolysis id ebskhusmkhxngxadinin khux yurasil miichithminxyangindiexnex yurasiltangcakithmintrngthimihmuemthilnxykwahnunghmukarsngekhraahkarsngekhraah RNA thukerngptikiriyaodyexnismxarexnexphxliemxers RNA polymerase ich DNA epnaemaebb erimtnkarsngekhraahodykarechuxmtxkbexnismtrngtaaehnng promoter siekhwns sequence in DNA tamthrrmdaphb xphstrim upstream khxngyin ekliywkhudiexnexcakhlaytwxxkodykarthangankhxngexnism helicase aelwexnismcaekhluxniptamaemaebbekliywinthisthangcak 3 gt 5 aelakarsngekhraahomelkulkhxng RNA camithisthangcak 5 gt 3 prawtikh s 1869 khnphbkrdniwkhlixik ody Johann Friedrich Miescher 1844 1895 emuxaerkphbekhaeriykwtthuniwa niwkhlixin nuclein ephraawaekhaphbmninniwekhliys txekhaphbwamnkmiinesllpraephthophraekhrioxtsungimminiwekhliysdwy kh s 1939 ekhaichnathikhxngxarexnexinkarsngekhraahoprtin odykarsuksathdlxngkhxng Torbjorn Oskar Caspersson Jean Brachet aela Jack Schultz kh s 1964 phbchwngtx sequence khxngniwkhlioxithd 77 tw in tRNA khxngyist ody Robert W Holley xangxingBerg JM Tymoczko JL Stryer L 2002 Biochemistry 5th ed WH Freeman and Company pp 118 19 781 808 ISBN 0 7167 4684 0 OCLC 179705944 48055706 and 59502128 duephim RNA Ontology Consortium Severo Ochoa