กรงฟาราเดย์ คือทรงปิดที่กีดขวางสนามไฟฟ้าได้ มันถูกสร้างจากตัวนำไฟฟ้าหรือร่างแห (mesh) ของตัวนำนั้น กรงฟาราเดย์ตั้งชื่อตามไมเคิล ฟาราเดย์ ผู้คิดค้นในปี ค.ศ. 1836
กรงฟาราเดย์ทำงานได้เนื่องจากสนามไฟฟ้าภายนอกทำให้ประจุภายในตัวนำไฟฟ้ากระจายไปในลักษณะที่ทำให้สนามไฟฟ้าภายในหักล้างกันเอง ปรากฏการณ์นี้ถูกใช้เพื่อปกป้องอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่อ่อนไหวจากการแทรกสอดของคลื่นวิทยุ (RFI) กรงฟาราเดย์อาจถูกใช้ห่อหุ้มอุปกรณ์ที่สร้าง RFI อย่าง เพื่อป้องกันไม่ให้คลื่นวิทยุรบกวนอุปกรณ์รอบข้าง กรงยังอาจใช้เพื่อปกป้องคนหรืออุปกรณ์จากกระแสไฟที่เกิดขึ้นในธรรมชาติอย่าง ฟ้าผ่า หรือ การถ่ายเทประจุไฟฟ้าสถิต (electrostatic discharge) เนื่องจากตัวกรงจะนำไฟฟ้าและปกป้องพื้นที่ภายในไว้ได้
กรงฟาราเดย์ไม่สามารถกีดขวางสนามแม่เหล็กสถิต หรือสนามแม่เหล็กที่เปลี่ยนอย่างช้า ๆ ตัวอย่างเช่น สนามแม่เหล็กโลก (เข็มทิศจึงยังทำงานได้ในกรง) แต่ในกรณีการเปลี่ยนแปลงของสนามอย่างรุนแรง กรงจะสามารถป้องกันคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า หากวัสดุทำกรงหนาพอและรูภายในเล็กกว่าความยาวคลื่นตกกระทบอย่างมีนัยสำคัญ
กรงฟาราเดย์สามารถกีดขวางและลดทอนคลื่นได้บางชนิดเท่านั้น คลื่นจากอุปกรณ์ RFID ชนิดความถี่สูงมีความเป็นไปได้ที่จะทะลุผ่าน กรงเหล็กแบบตันจะทำหน้าที่กีดขวางสัญญานได้ดีกว่า
ประวัติ
ในปี ค.ศ. 1836 ไมเคิล ฟาราเดย์สังเกตว่าประจุไฟฟ้าส่วนเกินในตัวนำจะอยู่แต่ฝั่งด้านนอกเท่านั้น และไม่ส่งผลใด ๆ ต่อพื้นที่ภายใน เพื่อสาธิตความจริงข้อนี้ เขาสร้างห้องที่บุด้วยฟอยล์และปล่อยประจุไฟฟ้าสถิตโวลต์สูงจากเครื่องกำเนิดไฟฟ้าใส่ผนังด้านนอก เขาใช้เครื่องอิเล็กโทรสโคปเพื่อแสดงว่าไม่มีประจุไฟฟ้าปรากฏในพื้นที่ภายในห้อง
ถึงแม้ว่าชื่อของกรงจะตั้งเป็นเกียรติแก่ฟาราเดย์ แต่ในปี ค.ศ. 1755 เบนจามิน แฟรงคลินเป็นผู้ที่สังเกตเห็นปรากฏการณ์ก่อน จากการหย่อนจุกไม้คอร์กที่ห้อยบนเส้นด้ายไหมลงผ่านรูบนกระป๋องที่ถูกเหนี่ยวนำ ผลคือจุกไม้คอร์กไม่เลื่อนไปติดผนังกระป๋องด้านใดด้านหนึ่งและแม้ว่าจุกไม้จะสัมผัสกับก้นกระป๋อง เมื่อนำออกมาไม่พบว่าจุกคอร์กได้ถูกเหนี่ยวนำตาม ทั้งที่หากสัมผัสกับผนังด้านนอก ผลจะเป็นในทางกลับกัน
หลักการทำงาน
กรงฟาราเดย์สามารถอธิบายโดยง่ายเทียบเคียงกับตัวนำไฟฟ้าแบบกลวงในอุดมคติ สนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่ตกผ่านจากทั้งภายนอกและภายใน จะส่งผลให้เกิดแรงบนพาหะของประจุไฟฟ้า (อิเล็กตรอน) ภายในตัวนำ เกิดเป็นกระแสไฟฟ้า เมื่อพาหะกระจายตัวไปในทางที่หักลบกับสนามแม่เหล็กไฟฟ้าที่ใส่เข้ามาแล้ว กระแสก็จะหยุดไหล
ถ้าประจุถูกใส่ในกรงฟาราเดย์ที่ไม่ถูกกราวด์ ผิวภายในของกรงจะถูกเหนี่ยวนำเกิดประจุเพื่อหักล้างสนามไฟฟ้าภายในกรงที่เกิดจากประจุใหม่นั้น ผิวในที่ถูกเหนี่ยวนำก็จะไปเหนี่ยวนำผิวนอกในทิศทางและขนาดเดียวกับประจุที่ถูกนำไปใส่ในกรง ผิวในและนอกก็จะหักล้างกันเองในเชิงประจุ
หากกรงถูกกราวด์ ประจุส่วนเกินในตัวกรงจะถูกดึงลงสู่พื้น แทนที่จะเป็นผิวนอก ทำให้มีแต่ผิวใน และประจุภายในที่หักล้างกันเอง ในขณะที่บริเวณอื่นของกรงจะคงความเป็นกลางทางไฟฟ้า
ตัวอย่าง
- ใน เคมีวิเคราะห์ กรงฟาราเดย์ถูกใช้เพื่อลดคลื่นรบกวนในการวัดค่าที่อ่อนไหวสูง
- ลิฟต์และห้องที่บุด้วยหรือสร้างด้วยโลหะนำไฟฟ้าจะเกิดผลของกรงฟาราเดย์ ทำให้สัญญาณโทรศัพท์และวิทยุอ่อนลง
- ห้องที่ตั้งเครื่องเอ็มอาร์ไอ ถูกสร้างให้เป็นกรงฟาราเดย์เพื่อป้องกันคลื่นวิทยุภายนอกที่อาจส่งผลต่อข้อมูลที่เก็บจากคนไข้ นักรังสีการแพทย์ถูกฝึกให้สังเกตลักษณะบนภาพที่บ่งชี้ว่ากรงอาจเกิดความเสียหายจากพายุฟ้าคะนอง
- เตาไมโครเวฟ สร้างเป็นกรงฟาราเดย์เพื่อกักเก็บพลังงานแม่เหล็กไฟฟ้าไว้ภายในเตา และป้องกันการแผ่ของรังสีออกไป
อ้างอิง
- . Encarta. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 8 May 2006. สืบค้นเมื่อ 20 November 2008.
- J. D. Krauss, Electromagnetics, 4Ed, McGraw-Hill, 1992,
แหล่งข้อมูลอื่น
- Faraday Cage Protects from 100,000 V :: Physikshow Uni Bonn
- Notes from physics lecture on Faraday cages from Michigan State University
- Make in India Faraday Cage
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
krngfaraedy khuxthrngpidthikidkhwangsnamiffaid mnthuksrangcaktwnaiffahruxrangaeh mesh khxngtwnann krngfaraedytngchuxtamimekhil faraedy phukhidkhninpi kh s 1836krngfaraedythungfaraedykhuxthungthisrangcakesniyolhayudhyun mnthukichpxngknkarlbhruxddaeplngkhxmulrayaiklkhxngxupkrnirsaythithukphbaelaekbrwbrwminkarsubswnsxbswn mnxacthukichodybukhkhlthwipthitxngkarkhwamepnswntwthangdicithl krngfaraedythanganidenuxngcaksnamiffaphaynxkthaihpracuphayintwnaiffakracayipinlksnathithaihsnamiffaphayinhklangknexng praktkarnnithukichephuxpkpxngxupkrnxielkthrxniksthixxnihwcakkaraethrksxdkhxngkhlunwithyu RFI krngfaraedyxacthukichhxhumxupkrnthisrang RFI xyang ephuxpxngknimihkhlunwithyurbkwnxupkrnrxbkhang krngyngxacichephuxpkpxngkhnhruxxupkrncakkraaesifthiekidkhuninthrrmchatixyang fapha hrux karthayethpracuiffasthit electrostatic discharge enuxngcaktwkrngcanaiffaaelapkpxngphunthiphayiniwid krngfaraedyimsamarthkidkhwangsnamaemehlksthit hruxsnamaemehlkthiepliynxyangcha twxyangechn snamaemehlkolk ekhmthiscungyngthanganidinkrng aetinkrnikarepliynaeplngkhxngsnamxyangrunaerng krngcasamarthpxngknkhlunaemehlkiffa hakwsduthakrnghnaphxaelaruphayinelkkwakhwamyawkhluntkkrathbxyangminysakhy krngfaraedysamarthkidkhwangaelaldthxnkhlunidbangchnidethann khluncakxupkrn RFID chnidkhwamthisungmikhwamepnipidthicathaluphan krngehlkaebbtncathahnathikidkhwangsyyaniddikwaprawtiinpi kh s 1836 imekhil faraedysngektwapracuiffaswnekinintwnacaxyuaetfngdannxkethann aelaimsngphlid txphunthiphayin ephuxsathitkhwamcringkhxni ekhasranghxngthibudwyfxylaelaplxypracuiffasthitowltsungcakekhruxngkaenidiffaisphnngdannxk ekhaichekhruxngxielkothrsokhpephuxaesdngwaimmipracuiffapraktinphunthiphayinhxng thungaemwachuxkhxngkrngcatngepnekiyrtiaekfaraedy aetinpi kh s 1755 ebncamin aefrngkhlinepnphuthisngektehnpraktkarnkxn cakkarhyxncukimkhxrkthihxybnesndayihmlngphanrubnkrapxngthithukehniywna phlkhuxcukimkhxrkimeluxniptidphnngkrapxngdaniddanhnungaelaaemwacukimcasmphskbknkrapxng emuxnaxxkmaimphbwacukkhxrkidthukehniywnatam thngthihaksmphskbphnngdannxk phlcaepninthangklbknhlkkarthanganphaphekhluxnihwaesdnghlkkarthangankhxngkrngfaraedy emuxmisnamiffaphaynxk luksr ekhama xielktrxninolhacaeluxnipthangsaykhxngkrng ekidepnpraculb swnpracuthixyukbthidankhwaepndanpracubwk pracuthithukehniywnaehlanisrangsnamiffathihklangphxdikbsnamiffaphaynxktlxdkhxbekhtkrng krngfaraedysamarthxthibayodyngayethiybekhiyngkbtwnaiffaaebbklwnginxudmkhti snamaemehlkiffathitkphancakthngphaynxkaelaphayin casngphlihekidaerngbnphahakhxngpracuiffa xielktrxn phayintwna ekidepnkraaesiffa emuxphahakracaytwipinthangthihklbkbsnamaemehlkiffathiisekhamaaelw kraaeskcahyudihl thapracuthukisinkrngfaraedythiimthukkrawd phiwphayinkhxngkrngcathukehniywnaekidpracuephuxhklangsnamiffaphayinkrngthiekidcakpracuihmnn phiwinthithukehniywnakcaipehniywnaphiwnxkinthisthangaelakhnadediywkbpracuthithuknaipisinkrng phiwinaelanxkkcahklangknexnginechingpracu hakkrngthukkrawd pracuswnekinintwkrngcathukdunglngsuphun aethnthicaepnphiwnxk thaihmiaetphiwin aelapracuphayinthihklangknexng inkhnathibriewnxunkhxngkrngcakhngkhwamepnklangthangiffatwxyangin ekhmiwiekhraah krngfaraedythukichephuxldkhlunrbkwninkarwdkhathixxnihwsung liftaelahxngthibudwyhruxsrangdwyolhanaiffacaekidphlkhxngkrngfaraedy thaihsyyanothrsphthaelawithyuxxnlng hxngthitngekhruxngexmxarix thuksrangihepnkrngfaraedyephuxpxngknkhlunwithyuphaynxkthixacsngphltxkhxmulthiekbcakkhnikh nkrngsikaraephthythukfukihsngektlksnabnphaphthibngchiwakrngxacekidkhwamesiyhaycakphayufakhanxng etaimokhrewf srangepnkrngfaraedyephuxkkekbphlngnganaemehlkiffaiwphayineta aelapxngknkaraephkhxngrngsixxkipxangxing Encarta khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 8 May 2006 subkhnemux 20 November 2008 J D Krauss Electromagnetics 4Ed McGraw Hill 1992 ISBN 0 07 035621 1aehlngkhxmulxunwikimiediykhxmmxnsmisuxthiekiywkhxngkb krngfaraedy Faraday Cage Protects from 100 000 V Physikshow Uni Bonn Notes from physics lecture on Faraday cages from Michigan State University Make in India Faraday Cage