กฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ เป็นกฎหมายระหว่างประเทศส่วนที่ออกแบบมาเพื่อส่งเสริมสิทธิมนุษยชนในระดับสังคม ภูมิภาคและประเทศ กฎหมายสิทธิมนุษยชนประกอบขึ้นจากสนธิสัญญา ระหว่างรัฐเอกราชซึ่งตั้งใจให้มีผลผูกพันตามกฎหมายระหว่างภาคีที่เข้าตกลงกัน และ ตราสารสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศอื่นแม้ไม่มีผลผูกพันตามกฎหมาย แต่ช่วยส่งเสริมให้นำไปปฏิบัติ ทำให้เกิดความเข้าใจและการพัฒนากฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ และถือว่าเป็นบ่อเกิดของข้อผูกพันทางการเมือง
ระบบสหประชาชาติ
สมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติลงมติรับในปี 1993 ซึ่งมีการก่อตั้งสำนักงานข้าหลวงใหญ่สิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ (UNHCR)
ในปี 2006 คณะกรรมาธิการสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิมนุษยชนถูกแทนที่ด้วยคณะมนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติสำหรับการบังคับใช้กฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศ มีข้อกำหนดให้ทบทวนกรณีสิทธิมนุษยชนทุก 4 ปี
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน
ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน เป็นปฏิญญาของสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติซึ่งไม่ได้สร้างกฎหมายสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศที่มีผลผูกพัน นักวิชาการกฎหมายหลายคนอ้างปฏิญญาฯ ว่าเป็นหลักฐานของกฎหมายระหว่างประเทศจารีตประเพณี เป็นรากฐานของตราสารสิทธิมนุษยชนระหว่างประเทศที่มีอำนาจหน้าที่ (authoritative) ในที่สุด
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
kdhmaysiththimnusychnrahwangpraeths epnkdhmayrahwangpraethsswnthixxkaebbmaephuxsngesrimsiththimnusychninradbsngkhm phumiphakhaelapraeths kdhmaysiththimnusychnprakxbkhuncaksnthisyya rahwangrthexkrachsungtngicihmiphlphukphntamkdhmayrahwangphakhithiekhatklngkn aela trasarsiththimnusychnrahwangpraethsxunaemimmiphlphukphntamkdhmay aetchwysngesrimihnaipptibti thaihekidkhwamekhaicaelakarphthnakdhmaysiththimnusychnrahwangpraeths aelathuxwaepnbxekidkhxngkhxphukphnthangkaremuxngrabbshprachachatismchchaihyaehngshprachachatilngmtirbinpi 1993 sungmikarkxtngsankngankhahlwngihysiththimnusychnaehngshprachachati UNHCR inpi 2006 khnakrrmathikarshprachachatiwadwysiththimnusychnthukaethnthidwykhnamntrisiththimnusychnaehngshprachachatisahrbkarbngkhbichkdhmaysiththimnusychnrahwangpraeths mikhxkahndihthbthwnkrnisiththimnusychnthuk 4 pi ptiyyasaklwadwysiththimnusychn ptiyyasaklwadwysiththimnusychn epnptiyyakhxngsmchchaihyaehngshprachachatisungimidsrangkdhmaysiththimnusychnrahwangpraethsthimiphlphukphn nkwichakarkdhmayhlaykhnxangptiyya waepnhlkthankhxngkdhmayrahwangpraethscaritpraephni epnrakthankhxngtrasarsiththimnusychnrahwangpraethsthimixanachnathi authoritative inthisudduephimxachyakrrmtxmnusychatibthkhwamkdhmayniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk