กฎหมายปกครองท้องถิ่น เป็นสาขาหนึ่งของกฎหมายมหาชน
ประวัติ
กฎหมายปกครองท้องถิ่น เป็นสาขาหนึ่งของกฎหมายมหาชน โดยกฎหมายมหาชนเป็นกฎหมายที่รวบรวมหลักเกณฑ์ของความสัมพันธ์ระหว่างอำนาจรัฐ (les pouvoirs publics) หรือระหว่างนิติบุคคลในกฎหมายหมาชน (les personal publics) กับเอกชน สามารถแบ่งกฎหมายมหาชนได้เป็น 2 ประเภท คือ กฎหมายรัฐธรรมนูญและกฎหมายปกครองโดยรัฐธรรมนูญ มีวัตถุประสงค์คือ วางระเบียบการปกครอง, การรวจสอบการใช้อำนาจรัฐและการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ดังนั้นรัฐธรรมนูญจึงต้องมีการแบ่งแยกอำนาจซึ่งแบ่งได้ดังนี้ อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร อำนาจตุลาการ สามอำนาจนี้เรียกว่าอำนาจอธิปไตย
สาเหตุ
สาเหตุที่ต้องมีกฎหมายเฉพาะเพื่อใช้กับฝ่ายปกครอง ก็เพราะว่าฝ่ายปกครองดำเนินการโดยไม่หวังผลประโยชน์แต่ในขณะเดียวกันเอกชนนั้นดำเนินการโดยหวังผลตอบแทน เพราะฉะนั้นเพื่อความรวดเร็ว มีประสิทธิภาพและเพื่อให้ประชาชนได้ประโยชน์อย่างเต็มที่
พัฒนาการ
พัฒนาการของกฎหมายปกครองในประเทศไทย เริ่มต้นในสมัยกรุงสุโขทัย(พ.ศ.1781-1893) ไม่มีกฎเกณฑ์และกฎหมายเนื่องจากมีประชากรน้อย มีขนาดเล็กจึงใช้หลักการปกครองแบบบิดากับบุตร ด้านกฎหมายได้นำเอาหลักมาใช้กับหลักพระราชศาสตร์ กฎหมายที่ค้นพบในสมัยกรุงสุโขทัย ได้แก่กฎหมายเกี่ยวกับภาษี กฎหมายเกี่ยวกบการจับจองทรัพย์สิน กฎหมายเกี่ยวกับมรดก เป็นต้น ต่อมาในสมัยกรุงศรีอยุธยาในสมัยของพระเจ้าอู่ทอง(พ.ศ.1893-1912) ทีการตรากฎหมาย 8 ฉบับ กฎหมายฉบับหนึ่งคือ พระอัยการอาญาหลวง พ.ศ.1895ซึ่งเป็นกฎหมายเกี่ยวกับลักษณะความผิดและโทษของข้าราชการที่กระทำผิดต่อหน้าที่และวินัย กฎหมายลักาณะพยาน กฎหมายลักษณะลักพา กฎหมายลักษณะผัวเมีย ในส่วนของสมัยกรุงธนบุรี(พ.ศ.2310-2325)มีระยะเวลาสั้นเพียง 15 ปีจึงไม่ปรากฏการปรับปรุงกฎหมาย ในส่วนสุดท้ายสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ในปีพ.ศ.2348 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกได้มีการจัดหมวดหมู่และปรับปรุงงกฎหมายให้สอดคล้องกับความยุติธรรม พระราชกำหนด กฎหมายที่ชำระสะสางเสร็จแล้วนี้เรียกกันว่ากฎหมายตราสามดวง จนกระทั่งในสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวได้มีการปฎิรูปกฎหมายให้เป็นแบบตะวันตกเพื่อที่จะปรับปรุงสัมพันธ์กับปรเทศตะวันตก
ที่มาของกฎหมายปกครอง
รัฐธรรมนูญลายลักษณ์อักษร ที่มาสูงสุดของกฎหมายปกครองท้องถิ่น รัฐธรรมนูญมีเนื้อหาสำคัญคือ มีการวางระเบียบการปกครอง การคุ้มครองสิทธิเสรีภาพและความเสมอภาคของประชาชนจึงไม่ได้บัญญัติเรื่องการปกครองท้องถิ่นไว้ ถึงแม้ว่าจะไม่เกี่ยวกับการใช้อำนาจอธิปไตยของรัฐแต่ก็เป็นพื้นฐานของการปกครองในระบอบประชาธิปไตยเพราะการปกครองท้องถิ่นต้องมาจากกระบวนการเลือกตั้งไม่ใช่การแต่งตั้ง ซึ่งแตกต่างจากการปกครองส่วนกลางหรือส่วนภูมิภาค การปกครองส่วนท้องถิ่นมีความเหมือนกับการปกครองในระดับประเทศ ประเทศที่มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยมักจะกำหนดกำหนดหลักการปกครองตนเองของท้องถิ่นเอาไว้ในบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญของแต่ประเทศ เช่น รัฐธรรมนูญของประเทศลักเซมเบิร์ก ประเทศฝรั่งเศส, ประเทศเบลเยียม, ประเทศเดนมาร์ก, ประเทศนอร์เวย์, ประเทศเนเธอร์แลนด์, ประเทศสวีเดน, ประเทศฟินแลนด์
ประเภทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ประเภทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มี 2 แบบก็คือ
ทั่วไป
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบทั่วไป เป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ้่นที่มีลักษณะหรือองค์ประกอบเหมือนกันทั่วประเทศองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบทั่วไปอาจจะมีหลายประเภทก็ได้ เช่น องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบทั่วไปของประเทศไทยจะมีอยู่ด้วยกัน 3 ประเภท ได้แก่ องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาล(นคร/เมือง/ตำบล)และองค์การบริหารส่วนตำบล ซึ่งในแต่ละประเภทจะมีการกำหนดลักษณะหรือองค์ประกอบให้เป็นมาตรฐานเดียวกันทั้งประเทศ คือจะมีกฎหมายกำหนดวิธีการในการจัดตั้ง รูปแบบการบริหารจัดการ อำนาจหน้าที่ วิธีการในการจัดทำบริการสาธารณะ การบริหารงานบุคคล การคลังและงบประมาณเป็นแบบแผนเดียวกันทั่วประเทศ
พิเศษ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพิเศษ คือองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีลักษณะหรือองค์ประกอบบางประการแตกต่างไปจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นทั่ว ๆ ไป ความแตกต่างนี้สืบเนื่องมาจากลักษณะเฉพาะของท้องถิ่นนั้น ๆ เอง เช่น เป็นท้องถิ่นที่มีความเจริญทางเศรษฐกิจมาก เป็นท้องถิ่นที่มีประชากรอาศัยอยู่อย่างหนาแน่น หรือเป็นท้องถิ่นที่เป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงมีนักท่องเที่ยวจำนวนมาก เป็นต้น ตัวอย่างเช่น กรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยา
กฎหมายปกครองท้องถิ่นที่ตราโดยรัฐสภา
รัฐสภามีอำนาจในการตรากฎหมายเกี่ยวกับการปกครองท้องถิ่นในเรื่องที่รัฐธรรมนูญให้อำนาจไว้ตัวอย่างของกฎหมายเกี่ยกับองค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่นได้แก่
- กฎหมายเกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพของเทศบาล จังหวัด และภาค หรือที่เรียกกันว่ากฎหมายกลางเกี่ยวกับการกระจายอำนาจ
- กฎหมายเกี่ยวกับการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาล
- กฎหมายเกี่ยวกับการแบ่งสรรอำนาจระหว่างเทศบาล จังหวัด ภาคและรัฐ
- กฎหมายเกี่ยวกับสถานะของข้าราชการส่วนท้องถิ่น
การจัดการทำกฎหมายในรูปแบบประมวลกฎหมายท้องถิ่น มีวัตถุประสงค์จัดขึ้นเพื่อรวบรวมพระราชบัญญัติจัดตั้งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นรูปแบบพื้นฐานได้แก่ องค์การบริหารส่วนจังหวัด, องค์บริหารส่วนตำบล, เทศบาล, กฎหมายการกระจายอำนาจหน้าที่และกฎหมายรายได้ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ได้มีการบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ ซึ่งการรวบรวมจะช่วยให้การอ้างอิงข้อกฎหมายทำได้ง่ายขึ้นและเนื้อหาของกฎหมายมีความสอดคล้องกัน ในประเทศต่างๆก็มีกฎหมายที่ใกล้เคียงกับประมวลกฎหมายองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของประเทศไทยโดยมีชื่อเรียกแตกต่างกันไป เช่น ประเทศฟิลิปปินส์มีกฎหมายที่ชื่อว่า "ประมวลกฎหมายองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งฟิลิปปินส์ (The Local Goverment Code of The Philippines)" ประมวลกฎหมายฉบับบนี้ทำให้เกิดกระบวนการกระจายอำนาจขึ้น และอีกประเทศนึงก็คือ ประเทศญี่ปุ่น "กฎหมายว่าด้วยความเป็นอิสระของท้องถิ่น ค.ศ.1947(Local Autonomy Law Of 1947)" และประเทศสหราชอาณาจักร "พระราชบัญญัติว่าด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ค.ศ.2000(Local Goverment Act Of 2000)" มีสาระสำคัญที่เหมือนของประเทศไทยคือ รูปแบบการบริหารงานภายในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น การเงิน อำนาจหน้าที่ ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าแนวคิดในการจัดทำประมวลกฎหมายองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นก็คือ การรวมเอากฎหมายที่เกี่ยวข้องกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมาไว้ในฉบับบเดียวกัน
อ้างอิง
- ศ.ดร.นันทวัฒน์ บรมานันท์, กฎหมายการปกครอง, พิมพ์ครั้งที่ 3(กรุงเทพฯ:วิญญูชน, 2555), 30-42.
- ศ.ดร.สมคิด เลิศไพฑูรย์, กฎหมายการปกครองท้องถิ่น, พิมพ์ครั้งที่ 1(กรุงเทพฯ:เอ็กซเปอร์เน็ท, 2550), 207
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
kdhmaypkkhrxngthxngthin epnsakhahnungkhxngkdhmaymhachnprawtikdhmaypkkhrxngthxngthin epnsakhahnungkhxngkdhmaymhachn odykdhmaymhachnepnkdhmaythirwbrwmhlkeknthkhxngkhwamsmphnthrahwangxanacrth les pouvoirs publics hruxrahwangnitibukhkhlinkdhmayhmachn les personal publics kbexkchn samarthaebngkdhmaymhachnidepn 2 praephth khux kdhmayrththrrmnuyaelakdhmaypkkhrxngodyrththrrmnuy miwtthuprasngkhkhux wangraebiybkarpkkhrxng karrwcsxbkarichxanacrthaelakarkhumkhrxngsiththiaelaesriphaphkhxngprachachn dngnnrththrrmnuycungtxngmikaraebngaeykxanacsungaebngiddngni xanacnitibyyti xanacbrihar xanactulakar samxanacnieriykwaxanacxthipity saehtu saehtuthitxngmikdhmayechphaaephuxichkbfaypkkhrxng kephraawafaypkkhrxngdaeninkarodyimhwngphlpraoychnaetinkhnaediywknexkchnnndaeninkarodyhwngphltxbaethn ephraachannephuxkhwamrwderw miprasiththiphaphaelaephuxihprachachnidpraoychnxyangetmthi phthnakar phthnakarkhxngkdhmaypkkhrxnginpraethsithy erimtninsmykrungsuokhthy ph s 1781 1893 immikdeknthaelakdhmayenuxngcakmiprachakrnxy mikhnadelkcungichhlkkarpkkhrxngaebbbidakbbutr dankdhmayidnaexahlkmaichkbhlkphrarachsastr kdhmaythikhnphbinsmykrungsuokhthy idaekkdhmayekiywkbphasi kdhmayekiywkbkarcbcxngthrphysin kdhmayekiywkbmrdk epntn txmainsmykrungsrixyuthyainsmykhxngphraecaxuthxng ph s 1893 1912 thikartrakdhmay 8 chbb kdhmaychbbhnungkhux phraxykarxayahlwng ph s 1895sungepnkdhmayekiywkblksnakhwamphidaelaothskhxngkharachkarthikrathaphidtxhnathiaelawiny kdhmaylkanaphyan kdhmaylksnalkpha kdhmaylksnaphwemiy inswnkhxngsmykrungthnburi ph s 2310 2325 mirayaewlasnephiyng 15 picungimpraktkarprbprungkdhmay inswnsudthaysmykrungrtnoksinthrinpiph s 2348 phrabathsmedcphraphuththyxdfaculaolkidmikarcdhmwdhmuaelaprbprungngkdhmayihsxdkhlxngkbkhwamyutithrrm phrarachkahnd kdhmaythicharasasangesrcaelwnieriykknwakdhmaytrasamdwng cnkrathnginsmykhxngphrabathsmedcphraculcxmeklaecaxyuhwidmikarpdirupkdhmayihepnaebbtawntkephuxthicaprbprungsmphnthkbprethstawntk thimakhxngkdhmaypkkhrxng rththrrmnuylaylksnxksr thimasungsudkhxngkdhmaypkkhrxngthxngthin rththrrmnuymienuxhasakhykhux mikarwangraebiybkarpkkhrxng karkhumkhrxngsiththiesriphaphaelakhwamesmxphakhkhxngprachachncungimidbyytieruxngkarpkkhrxngthxngthiniw thungaemwacaimekiywkbkarichxanacxthipitykhxngrthaetkepnphunthankhxngkarpkkhrxnginrabxbprachathipityephraakarpkkhrxngthxngthintxngmacakkrabwnkareluxktngimichkaraetngtng sungaetktangcakkarpkkhrxngswnklanghruxswnphumiphakh karpkkhrxngswnthxngthinmikhwamehmuxnkbkarpkkhrxnginradbpraeths praethsthimikarpkkhrxnginrabxbprachathipitymkcakahndkahndhlkkarpkkhrxngtnexngkhxngthxngthinexaiwinbthbyytikhxngrththrrmnuykhxngaetpraeths echn rththrrmnuykhxngpraethslkesmebirk praethsfrngess praethsebleyiym praethsednmark praethsnxrewy praethsenethxraelnd praethsswiedn praethsfinaelndpraephthkhxngxngkhkrpkkhrxngswnthxngthinpraephthkhxngxngkhkrpkkhrxngswnthxngthin mi 2 aebbkkhux thwip xngkhkrpkkhrxngswnthxngthinrupaebbthwip epnxngkhkrpkkhrxngswnthxngthinthimilksnahruxxngkhprakxbehmuxnknthwpraethsxngkhkrpkkhrxngswnthxngthinrupaebbthwipxaccamihlaypraephthkid echn xngkhkrpkkhrxngswnthxngthinrupaebbthwipkhxngpraethsithycamixyudwykn 3 praephth idaek xngkhkarbriharswncnghwd ethsbal nkhr emuxng tabl aelaxngkhkarbriharswntabl sunginaetlapraephthcamikarkahndlksnahruxxngkhprakxbihepnmatrthanediywknthngpraeths khuxcamikdhmaykahndwithikarinkarcdtng rupaebbkarbriharcdkar xanachnathi withikarinkarcdthabrikarsatharna karbriharnganbukhkhl karkhlngaelangbpramanepnaebbaephnediywknthwpraeths phiess xngkhkrpkkhrxngswnthxngthinrupaebbphiess khuxxngkhkrpkkhrxngswnthxngthinthimilksnahruxxngkhprakxbbangprakaraetktangipcakxngkhkrpkkhrxngswnthxngthinthw ip khwamaetktangnisubenuxngmacaklksnaechphaakhxngthxngthinnn exng echn epnthxngthinthimikhwamecriythangesrsthkicmak epnthxngthinthimiprachakrxasyxyuxyanghnaaenn hruxepnthxngthinthiepnsthanthithxngethiywthimichuxesiyngminkthxngethiywcanwnmak epntn twxyangechn krungethphmhankhr aelaemuxngphthyakdhmaypkkhrxngthxngthinthitraodyrthspharthsphamixanacinkartrakdhmayekiywkbkarpkkhrxngthxngthinineruxngthirththrrmnuyihxanaciwtwxyangkhxngkdhmayekiykbxngkhkrkarpkkhrxngswnthxngthinidaek kdhmayekiywkbsiththiaelaesriphaphkhxngethsbal cnghwd aelaphakh hruxthieriykknwakdhmayklangekiywkbkarkracayxanac kdhmayekiywkbkareluxktngsmachiksphaethsbal kdhmayekiywkbkaraebngsrrxanacrahwangethsbal cnghwd phakhaelarth kdhmayekiywkbsthanakhxngkharachkarswnthxngthin karcdkarthakdhmayinrupaebbpramwlkdhmaythxngthin miwtthuprasngkhcdkhunephuxrwbrwmphrarachbyyticdtngxngkhkrpkkhrxngswnthxngthinrupaebbphunthanidaek xngkhkarbriharswncnghwd xngkhbriharswntabl ethsbal kdhmaykarkracayxanachnathiaelakdhmayrayidkhxngxngkhkrpkkhrxngswnthxngthinthiidmikarbyytiiwinrththrrmnuy sungkarrwbrwmcachwyihkarxangxingkhxkdhmaythaidngaykhunaelaenuxhakhxngkdhmaymikhwamsxdkhlxngkn inpraethstangkmikdhmaythiiklekhiyngkbpramwlkdhmayxngkhkrpkkhrxngswnthxngthinkhxngpraethsithyodymichuxeriykaetktangknip echn praethsfilippinsmikdhmaythichuxwa pramwlkdhmayxngkhkrpkkhrxngswnthxngthinaehngfilippins The Local Goverment Code of The Philippines pramwlkdhmaychbbbnithaihekidkrabwnkarkracayxanackhun aelaxikpraethsnungkkhux praethsyipun kdhmaywadwykhwamepnxisrakhxngthxngthin kh s 1947 Local Autonomy Law Of 1947 aelapraethsshrachxanackr phrarachbyytiwadwyxngkhkrpkkhrxngswnthxngthin kh s 2000 Local Goverment Act Of 2000 misarasakhythiehmuxnkhxngpraethsithykhux rupaebbkarbriharnganphayinxngkhkrpkkhrxngswnthxngthin karengin xanachnathi dngnncungsrupidwaaenwkhidinkarcdthapramwlkdhmayxngkhkrpkkhrxngswnthxngthinkkhux karrwmexakdhmaythiekiywkhxngkbxngkhkrpkkhrxngswnthxngthinmaiwinchbbbediywknxangxings dr nnthwthn brmannth kdhmaykarpkkhrxng phimphkhrngthi 3 krungethph wiyyuchn 2555 30 42 s dr smkhid elisiphthury kdhmaykarpkkhrxngthxngthin phimphkhrngthi 1 krungethph exksepxrenth 2550 207