กฎการแผ่รังสีความร้อนของเคียร์ชฮ็อฟ (เยอรมัน: Kirchhoffsches Strahlungsgesetz) เป็นกฎของการถ่ายเทความร้อน ที่เสนอโดยนักฟิสิกส์ชาวเยอรมัน กุสทัฟ เคียร์ชฮ็อฟ ในปี 1859 ใช้เพื่ออธิบายความสัมพันธ์ระหว่างสภาพเปล่งรังสี และ อัตราการดูดกลืนรังสีของวัตถุ
การแนะนำ
โดยทั่วไป แบบจำลองวัตถุดำ ที่ใช้ในการศึกษาด้านรังสีถือว่ามีอัตราส่วนการดูดกลืนแสงเท่ากับ 1 () ในขณะที่อัตราส่วนการดูดกลืนแสงของวัตถุในความเป็นจริงจะมีค่าน้อยกว่า 1 แต่มากกว่า 0 (นั่นคือ ) กฎการแผ่รังสีความร้อนของเคียร์ชฮ็อฟให้ความสัมพันธ์ระหว่างความเปล่งรังสี และอัตราส่วนการดูดกลืนแสงของวัตถุจริง โดยค่าอัตราส่วนการดูดกลืนแสงเป็น
ในที่นี้ คือความเปล่งรังสีของวัตถุ ส่วน คือรังสีที่ปล่อยออกมาจากวัตถุดำที่อุณหภูมิเดียวกัน
และค่าสภาพเปล่งรังสี จะได้เป็น
ดังนั้นจะได้ว่า
ดังนั้นภายใต้สภาวะสมดุลทางความร้อน อัตราส่วนการดูดกลืนของวัตถุต่อการแผ่รังสีความร้อนจะเท่ากับค่าการแผ่รังสีที่อุณหภูมิเดียวกัน
การเขียนแสดงในรูปต่าง ๆ
สำหรับสเปกตรัมในทิศทางหนึ่ง ๆ กฎการแผ่รังสีความร้อนของเคียร์ชฮ็อฟแสดงได้เป็น
โดย คือมุมละติจูด คือมุมลองจิจูด คือความยาวคลื่นของสเปกตรัม และ คืออุณหภูมิ
สำหรับสเปกตรัมของบริเวณครึ่งทรงกลม กฎการแผ่รังสีความร้อนของเคียร์ชฮ็อฟเขียนได้เป็น
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
kdkaraephrngsikhwamrxnkhxngekhiyrchhxf eyxrmn Kirchhoffsches Strahlungsgesetz epnkdkhxngkarthayethkhwamrxn thiesnxodynkfisikschaweyxrmn kusthf ekhiyrchhxf inpi 1859 ichephuxxthibaykhwamsmphnthrahwangsphapheplngrngsi aela xtrakardudklunrngsikhxngwtthukaraenanaodythwip aebbcalxngwtthuda thiichinkarsuksadanrngsithuxwamixtraswnkardudklunaesngethakb 1 a 1 displaystyle alpha 1 inkhnathixtraswnkardudklunaesngkhxngwtthuinkhwamepncringcamikhanxykwa 1 aetmakkwa 0 nnkhux 1 gt a gt 0 displaystyle 1 gt alpha gt 0 kdkaraephrngsikhwamrxnkhxngekhiyrchhxfihkhwamsmphnthrahwangkhwameplngrngsi aelaxtraswnkardudklunaesngkhxngwtthucring odykhaxtraswnkardudklunaesngepn a MMb displaystyle alpha dfrac M M b inthini M displaystyle M khuxkhwameplngrngsikhxngwtthu swn Mb displaystyle M b khuxrngsithiplxyxxkmacakwtthudathixunhphumiediywkn aelakhasphapheplngrngsi ϵ displaystyle epsilon caidepn ϵ MMb displaystyle epsilon dfrac M M b dngnncaidwa ϵ a displaystyle epsilon alpha dngnnphayitsphawasmdulthangkhwamrxn xtraswnkardudklunkhxngwtthutxkaraephrngsikhwamrxncaethakbkhakaraephrngsithixunhphumiediywknkarekhiynaesdnginruptang sahrbsepktrminthisthanghnung kdkaraephrngsikhwamrxnkhxngekhiyrchhxfaesdngidepn ϵ l 8 ϕ T a l 8 ϕ T displaystyle epsilon lambda theta phi T alpha lambda theta phi T ody 8 displaystyle theta khuxmumlaticud ϕ displaystyle phi khuxmumlxngcicud l displaystyle lambda khuxkhwamyawkhlunkhxngsepktrm aela T displaystyle T khuxxunhphumi sahrbsepktrmkhxngbriewnkhrungthrngklm kdkaraephrngsikhwamrxnkhxngekhiyrchhxfekhiynidepn ϵ l T a l T displaystyle epsilon lambda T alpha lambda T