บทความนี้ไม่มีจาก |
พลังงานความร้อน หรือ พลังงานอุณหภาพ (อังกฤษ: thermal energy) เป็นรูปแบบหนึ่งของพลังงาน มนุษย์เราได้พลังงานความร้อนมาจากหลายแห่งด้วยกัน เช่น จากดวงอาทิตย์ พลังงานในของเหลวร้อนใต้พื้นพิภพ การเผาไหม้ของเชื้อเพลิง พลังงานนิวเคลียร์ พลังงานน้ำในหม้อต้มน้ำ พลังงานเปลวไฟ ฯลฯ ผลของความร้อนทำให้สารเกิดการเปลี่ยนแปลง เช่น อุณหภูมิสูงขึ้น หรือมีการเปลี่ยนสถานะไป และนอกจากนี้แล้ว พลังงานความร้อนยังสามารถทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมีได้อีกด้วย
พลังงานความร้อนสามารถแปลงเป็นพลังงานอื่นๆได้โดยใช้เครื่องมือเหล่านี้ แปลงพลังงานความร้อนเป็น พลังงานกล โดยอาศัยความร้อนต้มนำให้เดือด แล้วนำแรงดันของไอนำผลักลูกสูบให้เคลื่อนที่ทำให้เกิดพลังงานศักย์และพลังงานจลน์ไปปั่นเพลาให้หมุนจึงเกิดเป็นพลังงานกลและยังไปผลิตกระแสไฟฟ้าได้อีกด้วย
หน่วยที่ใช้วัดปริมาณความร้อน คือ "แคลอรี" โดยใช้เครื่องมือที่เรียกว่า "แคลอรีมิเตอร์"
อ้างอิง
- Bailyn, M. (1994). A Survey of Thermodynamics, American Institute of Physics Press, New York, ISBN , p. 82.
- Thomas W. Leland Jr., G. A. Mansoori (บ.ก.), Basic Principles of Classical and Statistical Thermodynamics (PDF), (PDF)จากแหล่งเดิมเมื่อ 2011-09-28, สืบค้นเมื่อ 2014-01-02
- Born, M. (1949). Natural Philosophy of Cause and Chance, Oxford University Press, London, p. 31.
- Robert F. Speyer (2012). Thermal Analysis of Materials. Materials Engineering. Marcel Dekker, Inc. p. 2. ISBN .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniimmikarxangxingcakaehlngthimaidkrunachwyprbprungbthkhwamni odyephimkarxangxingaehlngthimathinaechuxthux enuxkhwamthiimmiaehlngthimaxacthukkhdkhanhruxlbxxk eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir phlngngankhwamrxn hrux phlngnganxunhphaph xngkvs thermal energy epnrupaebbhnungkhxngphlngngan mnusyeraidphlngngankhwamrxnmacakhlayaehngdwykn echn cakdwngxathity phlngnganinkhxngehlwrxnitphunphiphph karephaihmkhxngechuxephling phlngnganniwekhliyr phlngngannainhmxtmna phlngnganeplwif l phlkhxngkhwamrxnthaihsarekidkarepliynaeplng echn xunhphumisungkhun hruxmikarepliynsthanaip aelanxkcakniaelw phlngngankhwamrxnyngsamarththaihekidkarepliynaeplngthangekhmiidxikdwy phlngngankhwamrxnsamarthaeplngepnphlngnganxunidodyichekhruxngmuxehlani aeplngphlngngankhwamrxnepn phlngngankl odyxasykhwamrxntmnaiheduxd aelwnaaerngdnkhxngixnaphlkluksubihekhluxnthithaihekidphlngnganskyaelaphlngnganclnippnephlaihhmuncungekidepnphlngnganklaelayngipphlitkraaesiffaidxikdwy hnwythiichwdprimankhwamrxn khux aekhlxri odyichekhruxngmuxthieriykwa aekhlxrimietxr xangxingBailyn M 1994 A Survey of Thermodynamics American Institute of Physics Press New York ISBN 0 88318 797 3 p 82 Thomas W Leland Jr G A Mansoori b k Basic Principles of Classical and Statistical Thermodynamics PDF PDF cakaehlngedimemux 2011 09 28 subkhnemux 2014 01 02 Born M 1949 Natural Philosophy of Cause and Chance Oxford University Press London p 31 Robert F Speyer 2012 Thermal Analysis of Materials Materials Engineering Marcel Dekker Inc p 2 ISBN 978 0 8247 8963 3 bthkhwamwithyasastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk