หลวงพ่อเกษม เขมโก (นามเดิม เจ้าเกษม ณ ลำปาง) เป็นพระเถระและเกจิอาจารย์ ผู้เคร่งครัดในธุดงควัตร ปลีกวิเวก พุทธศาสนิกชนในจังหวัดลำปางและชาวไทยเคารพนับถือยิ่งนักว่าท่านเป็นพระมหาเถราจารย์ปูชนียบุคคลรูปหนึ่งของประเทศไทย และมีผู้ให้ความเคารพศรัทธาเป็นจำนวนมากในปัจจุบัน อีกทั้งท่านยังเป็นเจ้านายในราชวงศ์ทิพย์จักร ที่ออกผนวชอีกด้วย
พระเกษม เขมโก (เจ้าเกษม ณ ลำปาง เขมโก) | |
---|---|
พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร เสด็จพระราชดำเนินไปทรงนมัสการหลวงพ่อเกษม เขมโก ณ สุสานไตรลักษณ์ จังหวัดลำปาง เมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2536 | |
ชื่ออื่น | หลวงพ่อเกษม |
ส่วนบุคคล | |
เกิด | 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2455 จังหวัดลำปาง |
มรณภาพ | 15 มกราคม พ.ศ. 2539 (83 ปี) โรงพยาบาลลำปาง จังหวัดลำปาง |
ศาสนา | พุทธ |
สัญชาติ | ไทย |
บุพการี | เจ้าน้อยหนู มณีอรุณ เจ้าแม่บัวจ้อน ณ ลำปาง |
นิกาย | เถรวาท |
นิกาย | มหานิกาย |
ตำแหน่งชั้นสูง | |
ที่อยู่ | สุสานไตรลักษณ์ จังหวัดลำปาง |
บรรพชา | พ.ศ. 2468 |
อุปสมบท | พ.ศ. 2475 |
พรรษา | 64 |
ตำแหน่ง | เจ้าอาวาสวัดบุญยืน |
ประวัติ
หลวงพ่อเกษม เขมโก เดิมมีนามว่า เจ้าเกษม ณ ลำปาง เกิดเมื่อวันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2455 ตรงกับวันพุธ เดือนยี่ (เหนือ) ปีชวด ร.ศ. 131 เป็นบุตรใน เจ้าน้อยหนู ณ ลำปาง (ภายหลังเปลี่ยนนามสกุลใหม่เป็น มณีอรุณ) รับราชการเป็น กับ เจ้าแม่บัวจ้อน ณ ลำปาง และเป็นราชปนัดดาในเจ้าบุญวาทย์วงษ์มานิต เจ้าหลวงผู้ครองนครลำปางองค์สุดท้าย
สมัยตอนเด็กๆมีคนเล่าว่าท่านซนมากมีอยู่ครั้งหนึ่งท่านปีนต้นบ่ามั่น(ต้นฝรั่ง)เกิดพลัดตกจนมีแผลเป็นที่ศีรษะ เมื่อท่านอายุได้ 13 ปี ได้บรรพชาเป็นสามเณร ซึ่งเป็นการบรรพชาหน้าศพ (บวชหน้าไฟ) ของเจ้าอาวาสวัดป่าดั๊ว 7 วันได้ลาสิกขาและท่านได้บรรพชาเป็นสามเณรอีกครั้งเมื่ออายุ 15 ปีและจำวัดอยู่ที่วัดบุญยืน จังหวัดลำปาง ท่านได้ศึกษาด้านพระปรัยัติธรรมจนสามารถสอบนักธรรมชั้นโทได้ในปี พ.ศ. 2474 และได้อุปสมบทเป็นพระภิกษุในปีถัดมา โดยมี เจ้าอาวาสวัดบุญวาทย์วิหาร อดีตเจ้าคณะจังหวัดลำปาง เป็นพระอุปัชฌาย์ ท่านได้รับฉายาว่า "เขมโก" แปลว่า ผู้มีธรรมอันเกษม โดยพระภิกษุ เจ้าเกษม เขมโก ได้ศึกษาภาษาบาลีที่สำนักวัดศรีล้อม ต่อมาได้ย้ายมาศึกษาแผนกนักธรรมที่สำนักวัดเชียงราย
พ.ศ. 2479 ท่านสามารถสอบได้นักธรรมชั้นเอก ท่านเรียนรู้ภาษาบาลีจนสามารถเขียนและแปลได้ รวมทั้งสามารถแปลเป็นภาษาบาลีได้เป็นอย่างดี แต่ท่านไม่ยอมสอบเอาวุฒิ จนครูบาอาจารย์ทุกรูปต่างเข้าใจว่าพระภิกษุ เจ้าเกษม เขมโก ไม่ต้องการมีสมณะศักดิ์สูง ๆ เรียนเพื่อจะนำเอาวิชาความรู้มาใช้ในการศึกษาค้นคว้าพระธรรมคำสอนของพระบรมศาสดาเท่านั้น
เมื่อสำเร็จทางด้านปริยัติธรรมแล้ว ท่านแสาะแสวงหาครูบาอาจารย์ที่มีความรู้และมีความเชี่ยวชาญในด้านวิปัสสนา จนกระทั่ง ท่านทราบข่าวว่ามีพระเกจิรูปหนึ่งมีชื่อเสียงในด้านวิปัสสนา คือ ครูบาแก่น สุมโน ท่านจึงฝากตัวเป็นศิษย์ ท่านได้ตามครูบาแก่น สุมโน ออกท่องธุดงค์ไปแสวงหาความวิเวกและบำเพ็ญเพียรตามป่าลึก จนถึงช่วงเข้าพรรษาซึ่งพระภิกษุจำเป็นต้องยุติการท่องธุดงค์ชั่วคราวท่านจึงต้องแยกทางกับพระอาจารย์ และกลับมาจำพรรษาที่วัดบุญยืนตามเดิม พอครบกำหนดออก ก็ติดตามอาจารย์ออกธุดงค์บำเพ็ญภาวนา
ต่อมา เจ้าอธิการคำเหมย เจ้าอาวาสวัดบุญยืน มรณภาพลง ทางคณะสงฆ์ได้ประชุมกันเพื่อหาเจ้าอาวาสรูปใหม่และต่างลงความเห็นพ้องต้องกันเห็นควรว่า พระภิกษุ เจ้าเกษม เขมโก มีคุณสมบัติเหมาะสมกับตำแหน่งเจ้าอาวาส เมื่อท่านได้รับเลือกเป็นเจ้าอาวาสวัดบุญยืน ท่านก็ไม่ยินดียินร้าย แต่ท่านก็ห่วงทางวัดเพราะท่านเคยจำวัดนี้ ท่านเห็นว่าถือเป็นภารกิจทางศาสนาเพราะท่านเองต้องการให้พระศาสนานี้ดำรงอยู่ จึงยอมรับตำแหน่งเจ้าอาวาสวัดบุญยืน หลังจากนั้นท่านก็ตัดสินใจลาออกจากตำแหน่งเจ้าอาวาสหลายครั้งเนื่องจากท่านอยากจะออกธุดงค์ แต่ไม่เป็นผลสำเร็จ ดังนั้น ท่านจึงออกจากวัดบุญยืนไปที่ศาลาวังทานพร้อมเขียนข้อความลาออกจากการเป็นเจ้าอาวาสไว้ด้วย
หลวงพ่อเกษม เขมโก เป็นพระสายวิปัสสนาธุระ ไม่ยึดติดแม้แต่สถานที่ ท่านได้ปฏิบัติธรรม ณ สุสานไตรลักษณ์ตลอดชนชีพ ท่านปฏิบัติศีลบริสุทธิ์ตามพระธรรมคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าโดยไม่ติดยึดในกิเลสทั้งปวง ท่านเป็นพระที่เป็นที่เคารพสักการะของพุทธศาสนิกชนในจังหวัดลำปางและพุทธศาสนิกชนทั่วประเทศ หรือแม้กระทั่งพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร ก็ทรงมีความเคารพศรัทธาในความที่ท่านเป็นพระผู้ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ได้เคยเสด็จพระราชดำเนินไปทรงนมัสการท่านหลายครัง และเสด็จพระราชดำเนินไปทรงนมัสการครั้งสุดท้ายเมื่อวันที่ 15 มีนาคม พ.ศ. 2536 หลวงพ่อเกษม เขมโก มรณภาพ ณ ห้องไอซียู โรงพยาบาลลำปาง จังหวัดลำปาง เมื่อวันที่ 15 มกราคม พ.ศ. 2539 เวลา 19:40 น. ซึ่งตรงกับวันจันทร์ แรม 11 ค่ำ เดือน 2 ปีกุน ยังความอาลัยเศร้าโศกเสียใจมายังหมู่สานุศิษย์ทั่วประเทศ ส่วนสรีระของท่านนั้นก็ยังความอัศจรรย์ด้วยเนื่องจากไม่เน่าเปื่อยเหมือนอย่างสังขารทั่วไป ทั้งยังเขียนป้ายบอกผู้ที่มาเคารพสรีระ ท่านด้วยว่าให้พนมมือไหว้ที่หน้าอกเพียงครั้งเดียวแล้วไม่ต้องกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์อย่างศพของพระเถระทั่วไปนับว่าท่าน นั้นถือสมถะเป็นอย่างมาก
ลำดับสาแหรก
พงศาวลีของหลวงพ่อเกษม เขมโก | |||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
|
อ้างอิง
- หลวงพ่อเกษม เขมโก 2009-07-13 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
hlwngphxeksm ekhmok namedim ecaeksm n lapang epnphraethraaelaekcixacary phuekhrngkhrdinthudngkhwtr plikwiewk phuththsasnikchnincnghwdlapangaelachawithyekharphnbthuxyingnkwathanepnphramhaethracarypuchniybukhkhlruphnungkhxngpraethsithy aelamiphuihkhwamekharphsrththaepncanwnmakinpccubn xikthngthanyngepnecanayinrachwngsthiphyckr thixxkphnwchxikdwyphraeksm ekhmok ecaeksm n lapang ekhmok phrabathsmedcphramhaphumiphlxdulyedchmharach brmnathbphitr esdcphrarachdaeninipthrngnmskarhlwngphxeksm ekhmok n susanitrlksn cnghwdlapang emuxwnthi 15 minakhm ph s 2536chuxxunhlwngphxeksmswnbukhkhlekid28 phvscikayn ph s 2455 cnghwdlapangmrnphaph15 mkrakhm ph s 2539 83 pi orngphyaballapang cnghwdlapangsasnaphuththsychatiithybuphkariecanxyhnu mnixrun ecaaembwcxn n lapangnikayethrwathnikaymhanikaytaaehnngchnsungthixyususanitrlksn cnghwdlapangbrrphchaph s 2468xupsmbthph s 2475phrrsa64taaehnngecaxawaswdbuyyunprawtihlwngphxeksm ekhmok edimminamwa ecaeksm n lapang ekidemuxwnthi 28 phvscikayn ph s 2455 trngkbwnphuth eduxnyi ehnux pichwd r s 131 epnbutrin ecanxyhnu n lapang phayhlngepliynnamskulihmepn mnixrun rbrachkarepn kb ecaaembwcxn n lapang aelaepnrachpnddainecabuywathywngsmanit ecahlwngphukhrxngnkhrlapangxngkhsudthay smytxnedkmikhnelawathansnmakmixyukhrnghnungthanpintnbamn tnfrng ekidphldtkcnmiaephlepnthisirsa emuxthanxayuid 13 pi idbrrphchaepnsamenr sungepnkarbrrphchahnasph bwchhnaif khxngecaxawaswdpadw 7 wnidlasikkhaaelathanidbrrphchaepnsamenrxikkhrngemuxxayu 15 piaelacawdxyuthiwdbuyyun cnghwdlapang thanidsuksadanphraprytithrrmcnsamarthsxbnkthrrmchnothidinpi ph s 2474 aelaidxupsmbthepnphraphiksuinpithdma odymi ecaxawaswdbuywathywihar xditecakhnacnghwdlapang epnphraxupchchay thanidrbchayawa ekhmok aeplwa phumithrrmxneksm odyphraphiksu ecaeksm ekhmok idsuksaphasabalithisankwdsrilxm txmaidyaymasuksaaephnknkthrrmthisankwdechiyngray ph s 2479 thansamarthsxbidnkthrrmchnexk thaneriynruphasabalicnsamarthekhiynaelaaeplid rwmthngsamarthaeplepnphasabaliidepnxyangdi aetthanimyxmsxbexawuthi cnkhrubaxacarythukruptangekhaicwaphraphiksu ecaeksm ekhmok imtxngkarmismnaskdisung eriynephuxcanaexawichakhwamrumaichinkarsuksakhnkhwaphrathrrmkhasxnkhxngphrabrmsasdaethann emuxsaercthangdanpriytithrrmaelw thanaesaaaeswnghakhrubaxacarythimikhwamruaelamikhwamechiywchayindanwipssna cnkrathng thanthrabkhawwamiphraekciruphnungmichuxesiyngindanwipssna khux khrubaaekn sumon thancungfaktwepnsisy thanidtamkhrubaaekn sumon xxkthxngthudngkhipaeswnghakhwamwiewkaelabaephyephiyrtampaluk cnthungchwngekhaphrrsasungphraphiksucaepntxngyutikarthxngthudngkhchwkhrawthancungtxngaeykthangkbphraxacary aelaklbmacaphrrsathiwdbuyyuntamedim phxkhrbkahndxxk ktidtamxacaryxxkthudngkhbaephyphawna txma ecaxthikarkhaehmy ecaxawaswdbuyyun mrnphaphlng thangkhnasngkhidprachumknephuxhaecaxawasrupihmaelatanglngkhwamehnphxngtxngknehnkhwrwa phraphiksu ecaeksm ekhmok mikhunsmbtiehmaasmkbtaaehnngecaxawas emuxthanidrbeluxkepnecaxawaswdbuyyun thankimyindiyinray aetthankhwngthangwdephraathanekhycawdni thanehnwathuxepnpharkicthangsasnaephraathanexngtxngkarihphrasasnanidarngxyu cungyxmrbtaaehnngecaxawaswdbuyyun hlngcaknnthanktdsiniclaxxkcaktaaehnngecaxawashlaykhrngenuxngcakthanxyakcaxxkthudngkh aetimepnphlsaerc dngnn thancungxxkcakwdbuyyunipthisalawngthanphrxmekhiynkhxkhwamlaxxkcakkarepnecaxawasiwdwy hlwngphxeksm ekhmok epnphrasaywipssnathura imyudtidaemaetsthanthi thanidptibtithrrm n susanitrlksntlxdchnchiph thanptibtisilbrisuththitamphrathrrmkhasngsxnkhxngxngkhsmedcphrasmmasmphuththecaodyimtidyudinkielsthngpwng thanepnphrathiepnthiekharphskkarakhxngphuththsasnikchnincnghwdlapangaelaphuththsasnikchnthwpraeths hruxaemkrathngphrabathsmedcphrabrmchnkathiebsr mhaphumiphlxdulyedchmharach brmnathbphitr kthrngmikhwamekharphsrththainkhwamthithanepnphraphuptibtidiptibtichxb idekhyesdcphrarachdaeninipthrngnmskarthanhlaykhrng aelaesdcphrarachdaeninipthrngnmskarkhrngsudthayemuxwnthi 15 minakhm ph s 2536 hlwngphxeksm ekhmok mrnphaph n hxngixsiyu orngphyaballapang cnghwdlapang emuxwnthi 15 mkrakhm ph s 2539 ewla 19 40 n sungtrngkbwncnthr aerm 11 kha eduxn 2 pikun yngkhwamxalyesraoskesiyicmaynghmusanusisythwpraeths swnsrirakhxngthannnkyngkhwamxscrrydwyenuxngcakimenaepuxyehmuxnxyangsngkharthwip thngyngekhiynpaybxkphuthimaekharphsrira thandwywaihphnmmuxihwthihnaxkephiyngkhrngediywaelwimtxngkrabaebbebycangkhpradisthxyangsphkhxngphraethrathwipnbwathan nnthuxsmthaepnxyangmakladbsaaehrkphngsawlikhxnghlwngphxeksm ekhmok 2 ecanxyhnu n lapang 1 hlwngphxeksm ekhmok 3 ecabwcxn n lapang 28 ecawryanrngsi 14 ecanrnnthichychwlit 7 ecanwl n lapang xangxinghlwngphxeksm ekhmok 2009 07 13 thi ewyaebkaemchchin