มะเร็งเต้านม (อังกฤษ: Breast cancer) เป็นโรคมะเร็งที่พัฒนาจากเนื้อเยื่อเต้านม อาจมีอาการแสดง ได้แก่ มีก้อนในเต้านม มีการเปลี่ยนแปลงรูปทรงของเต้านม ผิวหนังมีรอยบุ๋ม มีสารน้ำไหลจากหัวนม หรือมีปื้นผิวหนังมีเกล็ดแดง ในผู้ที่มีการแพร่ของโรคไปไกล อาจมีปวดกระดูก ปุ่มน้ำเหลืองโต หายใจลำบาก
มะเร็งเต้านม | |
---|---|
ภาพทางมิญชพยาธิวิทยาของมะเร็งเยื่อบุเซลล์ท่อของเต้านม ย้อมสี Hematoxylin-eosin | |
บัญชีจำแนกและลิงก์ไปภายนอก | |
ICD-10 | C50 |
ICD- | 174-175 |
114480 | |
1598 | |
000913 | |
med/2808 | |
มะเร็งเต้านม | |
MeSH | D001943 |
มะเร็งเต้านมทั่วโลกเป็นมะเร็งที่พบมากที่สุดในหญิง โดยคิดเป็น 25% ของผู้ป่วยมะเร็งทั้งหมด ในปี 2563 โรคนี้มีผู้ป่วย 2.2 ล้านคน และผู้เสียชีวิต 685,000 คน พบมากกว่าในประเทศพัฒนาแล้ว และพบในหญิงมากกว่าชาย 100 เท่า
ปัจจัยเสี่ยง
- ผู้หญิงที่มีอายุมากกว่า 40 ปีขึ้นไป จะมีความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งเต้านม โดยพบบ่อยในหญิงที่มีอายุ 50 ปีขึ้นไป
- หญิงที่มีประวัติคนในครอบครัวเป็นมะเร็งเต้านม จะมีความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งเต้านมมากกว่าคนปกติ รวมทั้ง ผู้ป่วยที่เคยเป็นมะเร็งเต้านม ก็มีอัตราเสี่ยงที่จะกลับมาเป็นใหม่สูงกว่าคนปกติด้วย
- ผู้ที่มีบุตรหลังอายุ 30 ปี รวมทั้ง หญิงที่ไม่เคยมีบุตร จะมีความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งเต้านมมากขึ้น
- การกลายพันธุ์ของยีน เช่น การเกิดการกลายพันธุ์ของยีน หรือ สามารถทำให้เกิดมะเร็งเต้านม และสามารถถ่ายทอดทางพันธุกรรมได้
- ผู้หญิงที่มีเต้านมเต่งตึงกว่าอายุ เช่น หญิงที่มีอายุมากกว่า 45 ปี และมีความหนาแน่นของเต้านมมากกว่าร้อยละ 75 จะมีความเสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งเต้านมมากกว่าคนปกติ
- ผู้หญิงที่มีประจำเดือนมาตั้งแต่อายุก่อน 12 ปี หรือ ประจำเดือนหมดช้าหลังอายุ 55 ปี จะมีโอกาสเป็นมะเร็งเต้านมได้ง่ายกว่าคนปกติ
- ผู้ที่รับประทานฮอร์โมนเพศหญิง รวมทั้ง ผู้ที่ได้รับยาคุมกำเนิดเป็นเวลานาน อาจเกิดมะเร็งเต้านมมากยิ่งขึ้น
- การสูบบุหรี่ทำให้เพิ่มโอกาสในการเกิดเป็นมะเร็งเต้านมมากขึ้น
อาการเริ่มต้นที่อาจจะเป็นมะเร็ง
มะเร็งระยะเริ่มต้นนั้นมักจะไม่มีอาการเจ็บ แต่อาจจะตรวจพบความผิดปกติเกิดขึ้นที่เต้านม ซึ่งอาจจะเป็นอาการเริ่มต้นของโรคมะเร็งเต้านม ดังนี้
- มีก้อนที่เต้านม (ร้อยละ 15-20 ของก้อนที่คลำได้ บริเวณเต้านมเป็นมะเร็งเต้านม
- มีการเปลี่ยนแปลงขนาด และรูปร่างของเต้านม
- ผิวหนังเปลี่ยนแปลง เช่น รอยบุ๋ม ย่น หดตัว หนาผิดปกติ บางส่วนมีสะเก็ด
- หัวนมมีการหดตัว คัน หรือแดงผิดปกติ
- มีเลือดหรือน้ำออกจากหัวนม (ร้อยละ 20 ของการมีเลือดออกจะเป็นมะเร็ง)
- เจ็บเต้านม (มะเร็งเต้านมส่วนใหญ่ไม่เจ็บ นอกจากก้อนโตมากแล้ว)
- การบวมของรักแร้ เพราะต่อมน้ำเหลืองโต
การตรวจเต้านมตนเอง
การตรวจมะเร็งเพื่อหาการเปลี่ยนแปลงที่อาจเกิดขึ้น พบว่าร้อยละ 80 ของเนื้องอกที่เต้านมผู้หญิงนั้นถูกตรวจพบครั้งแรกด้วยตนเอง การตรวจเต้านมด้วยตนเอง ควรทำทุกเดือนตั้งแต่วัยสาวถึงวัยสูงอายุ เวลาที่ดีที่สุดที่จะทำการตรวจ คือ หลังหมดระดูแล้ว 3-10 วัน เพราะเป็นช่วงที่เต้านมไม่คัดตึงทำให้ตรวจได้ง่ายสำหรับผู้หญิงที่หมดระดูหรือได้รับการตัดมดลูก จะเป็นการดีถ้าได้ทำการตรวจเต้านมตนเองทุกวันที่หนึ่งของทุกเดือน
วิธีการตรวจ 3 ท่า
ทุกท่าจะต้องบิดลำตัวไปทั้งทางซ้ายและขวาสังเกตรูปร่าง ลักษณะ ความผิดปกติของผิวหนังรอยบุ๋ม รอยนูนของเต้านมหรือสิ่งผิดปกติอื่น ๆ ของเต้านมทั้ง 2 ข้าง โดยมีท่า ดังนี้
- ยืนหน้ากระจก
- ปล่อยแขนข้างลำตัวตามสบาย
- ยกแขนทั้ง 2 ข้างเหนือศีรษะ
- ท้าวเอว เกร็งอกเพื่อให้ผนังทรวงอกกระชับขึ้น
- โค้งตัวมาข้างหน้าใช้มือทั้ง 2 ข้างท้าวเอว
- นอนราบ
- นอนให้สบาย ตรวจเต้านมขวาให้สอดหมอนหรือม้วนผ้าใต้ไหล่ขวา
- ยกแขนขวาเหนือศีรษะเพื่อให้เต้านมด้านนั้นแผ่ราบซึ่งจะทำให้คลำง่ายขึ้น โดยเฉพาะส่วนบนด้านนอกมีเนื้อหนามากที่สุด และมีการเกิดมะเร็งบ่อยที่สุด
- ใช้กึ่งกลางตอนบนของนิ้วมือซ้าย (นิ้วชี้ นิ้วกลาง และนิ้วนาง) คลำทั่วเต้านมและรักแร้ ที่สำคัญคือห้ามบีบเนื้อเต้านม เพราะจะทำให้รู้สึกเหมือนเจอก้อนเนื้อซึ่งความจริงไม่ใช่ และทำวิธีเดียวกันนี้กับเต้านมด้านซ้าย
- ขณะอาบน้ำ
- สำหรับผู้หญิงที่มีเต้านมขนาดเล็กให้วางมือข้างเดียวกับเต้านมที่ต้องการตรวจบนศีรษะ แล้วใช้นิ้วมืออีกข้างคลำไปทิศทางเดียวกับที่ใช้ในท่านอน
- สำหรับผู้ที่มีเต้านมขนาดใหญ่ ให้ใช้นิ้วมือข้างนั้นประคอง และตรวจคลำเต้านมจากด้านล่าง ส่วนมืออีกข้างให้ตรวจคลำเต้านมด้านบน
ระยะของมะเร็งเต้านม
- ระยะ 0 เป็นระยะเริ่มต้นของเซลล์มะเร็ง ซึ่งยังไม่ลุกลามไปยังเนื้อเยื่อเต้านม
- ระยะ 1 ก้อนมะเร็งมีขนาดไม่เกิน 2 เซนติเมตร และยังไม่ลุกลามเข้าต่อมน้ำเหลือง
- ระยะ 2 ก้อนมะเร็งมีขนาดระหว่าง 2-5 เซนติเมตร ซึ่งอาจจะลุกลามไปยังต่อมน้ำเหลืองบริเวณรักแร้หรือไม่ก็ได้ หรือมีขนาดไม่เกิน 2 เซนติเมตร และลุกลามเข้าต่อมน้ำเหลืองบริเวณรักแร้แล้ว แต่ยังไม่แพร่กระจายไปสู่อวัยวะอื่น
- ระยะ 3 ก้อนมะเร็งมีขนาดใหญ่กว่า 5 เซนติเมตร และลุกลามเข้าต่อมน้ำเหลืองบริเวณรักแร้แล้ว แต่ยังไม่แพร่กระจายไปสู่อวัยวะอื่น
- ระยะ 4 มะเร็งแพร่กระจายไปสู่อวัยวะอื่น ๆ แล้ว
การดูแลเต้านม
- อายุ 20 ปีขึ้นไป ควรเริ่มตรวจเต้านมด้วยตนเองทุกเดือน
- ช่วงเวลาที่เหมาะสมสำหรับการตรวจคือ 3 ถึง 10 วัน นับจากประจำเดือนหมด ส่วนสตรีที่หมดประจำเดือนให้กำหนดวันที่จดจำง่ายและตรวจในวันเดียวกันของทุกเดือน
- สำหรับผู้ที่มีประวัติในครอบครัวเป็นมะเร็งเต้านมควรรีบปรึกษาแพทย์เพื่อขอคำแนะนำ
- หากพบสิ่งผิดปกติบริเวณเต้านม หรือรักแร้ ควรรีบปรึกษาแพทย์ทันทีที่พบ
การดูแลเต้านมตนเองโดยทั่วไป
- ควรตรวจเต้านนมตนเอง หากท่านตรวจแล้วไม่มั่นใจ ให้ขอรับคำปรึกษาที่สถานีอนามัยใกล้บ้าน หรือศูนย์สุขภาพชุมชนใกล้บ้านท่าน
อ้างอิง
- WHO Factsheets breastcancer
- ความรู้สำหรับประชาชน เรื่อง มะเต้านม โดย รศ.นพ.นรินทร์ วรวุฒิ
- มะเร็งเต้านม ภัยคุกคามที่ สตรีไทยไม่ควรมองข้าม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
maerngetanm xngkvs Breast cancer epnorkhmaerngthiphthnacakenuxeyuxetanm xacmixakaraesdng idaek mikxninetanm mikarepliynaeplngrupthrngkhxngetanm phiwhnngmirxybum misarnaihlcakhwnm hruxmipunphiwhnngmiekldaedng inphuthimikaraephrkhxngorkhipikl xacmipwdkraduk pumnaehluxngot hayiclabakmaerngetanmphaphthangmiychphyathiwithyakhxngmaerngeyuxbuesllthxkhxngetanm yxmsi Hematoxylin eosinbychicaaenkaelalingkipphaynxkICD 10C50ICD 174 1751144801598000913med 2808maerngetanmMeSHD001943phaphaemmomaekrm say etanmpkti khwa etanmmaerng maerngetanmthwolkepnmaerngthiphbmakthisudinhying odykhidepn 25 khxngphupwymaerngthnghmd inpi 2563 orkhnimiphupwy 2 2 lankhn aelaphuesiychiwit 685 000 khn phbmakkwainpraethsphthnaaelw aelaphbinhyingmakkwachay 100 ethapccyesiyngphuhyingthimixayumakkwa 40 pikhunip camikhwamesiyngtxkarepnmaerngetanm odyphbbxyinhyingthimixayu 50 pikhunip hyingthimiprawtikhninkhrxbkhrwepnmaerngetanm camikhwamesiyngtxkarekidmaerngetanmmakkwakhnpkti rwmthng phupwythiekhyepnmaerngetanm kmixtraesiyngthicaklbmaepnihmsungkwakhnpktidwy phuthimibutrhlngxayu 30 pi rwmthng hyingthiimekhymibutr camikhwamesiyngtxkarepnmaerngetanmmakkhun karklayphnthukhxngyin echn karekidkarklayphnthukhxngyin hrux samarththaihekidmaerngetanm aelasamarththaythxdthangphnthukrrmid phuhyingthimietanmetngtungkwaxayu echn hyingthimixayumakkwa 45 pi aelamikhwamhnaaennkhxngetanmmakkwarxyla 75 camikhwamesiyngtxkarekidmaerngetanmmakkwakhnpkti phuhyingthimipracaeduxnmatngaetxayukxn 12 pi hrux pracaeduxnhmdchahlngxayu 55 pi camioxkasepnmaerngetanmidngaykwakhnpkti phuthirbprathanhxromnephshying rwmthng phuthiidrbyakhumkaenidepnewlanan xacekidmaerngetanmmakyingkhun karsubbuhrithaihephimoxkasinkarekidepnmaerngetanmmakkhunxakarerimtnthixaccaepnmaerngxakarerimtnkhxngmaerngetanm maerngrayaerimtnnnmkcaimmixakarecb aetxaccatrwcphbkhwamphidpktiekidkhunthietanm sungxaccaepnxakarerimtnkhxngorkhmaerngetanm dngni mikxnthietanm rxyla 15 20 khxngkxnthikhlaid briewnetanmepnmaerngetanm mikarepliynaeplngkhnad aelaruprangkhxngetanm phiwhnngepliynaeplng echn rxybum yn hdtw hnaphidpkti bangswnmisaekd hwnmmikarhdtw khn hruxaedngphidpkti mieluxdhruxnaxxkcakhwnm rxyla 20 khxngkarmieluxdxxkcaepnmaerng ecbetanm maerngetanmswnihyimecb nxkcakkxnotmakaelw karbwmkhxngrkaer ephraatxmnaehluxngotkartrwcetanmtnexngkartrwcmaerngephuxhakarepliynaeplngthixacekidkhun phbwarxyla 80 khxngenuxngxkthietanmphuhyingnnthuktrwcphbkhrngaerkdwytnexng kartrwcetanmdwytnexng khwrthathukeduxntngaetwysawthungwysungxayu ewlathidithisudthicathakartrwc khux hlnghmdraduaelw 3 10 wn ephraaepnchwngthietanmimkhdtungthaihtrwcidngaysahrbphuhyingthihmdraduhruxidrbkartdmdluk caepnkardithaidthakartrwcetanmtnexngthukwnthihnungkhxngthukeduxn withikartrwc 3 tha thukthacatxngbidlatwipthngthangsayaelakhwasngektruprang lksna khwamphidpktikhxngphiwhnngrxybum rxynunkhxngetanmhruxsingphidpktixun khxngetanmthng 2 khang odymitha dngni yunhnakrack plxyaekhnkhanglatwtamsbay ykaekhnthng 2 khangehnuxsirsa thawexw ekrngxkephuxihphnngthrwngxkkrachbkhun okhngtwmakhanghnaichmuxthng 2 khangthawexw nxnrab nxnihsbay trwcetanmkhwaihsxdhmxnhruxmwnphaitihlkhwa ykaekhnkhwaehnuxsirsaephuxihetanmdannnaephrabsungcathaihkhlangaykhun odyechphaaswnbndannxkmienuxhnamakthisud aelamikarekidmaerngbxythisud ichkungklangtxnbnkhxngniwmuxsay niwchi niwklang aelaniwnang khlathwetanmaelarkaer thisakhykhuxhambibenuxetanm ephraacathaihrusukehmuxnecxkxnenuxsungkhwamcringimich aelathawithiediywknnikbetanmdansay khnaxabna sahrbphuhyingthimietanmkhnadelkihwangmuxkhangediywkbetanmthitxngkartrwcbnsirsa aelwichniwmuxxikkhangkhlaipthisthangediywkbthiichinthanxn sahrbphuthimietanmkhnadihy ihichniwmuxkhangnnprakhxng aelatrwckhlaetanmcakdanlang swnmuxxikkhangihtrwckhlaetanmdanbnrayakhxngmaerngetanmraya 0 epnrayaerimtnkhxngesllmaerng sungyngimluklamipyngenuxeyuxetanm raya 1 kxnmaerngmikhnadimekin 2 esntiemtr aelayngimluklamekhatxmnaehluxng raya 2 kxnmaerngmikhnadrahwang 2 5 esntiemtr sungxaccaluklamipyngtxmnaehluxngbriewnrkaerhruximkid hruxmikhnadimekin 2 esntiemtr aelaluklamekhatxmnaehluxngbriewnrkaeraelw aetyngimaephrkracayipsuxwywaxun raya 3 kxnmaerngmikhnadihykwa 5 esntiemtr aelaluklamekhatxmnaehluxngbriewnrkaeraelw aetyngimaephrkracayipsuxwywaxun raya 4 maerngaephrkracayipsuxwywaxun aelwkarduaeletanmxayu 20 pikhunip khwrerimtrwcetanmdwytnexngthukeduxn chwngewlathiehmaasmsahrbkartrwckhux 3 thung 10 wn nbcakpracaeduxnhmd swnstrithihmdpracaeduxnihkahndwnthicdcangayaelatrwcinwnediywknkhxngthukeduxn sahrbphuthimiprawtiinkhrxbkhrwepnmaerngetanmkhwrribpruksaaephthyephuxkhxkhaaenana hakphbsingphidpktibriewnetanm hruxrkaer khwrribpruksaaephthythnthithiphbkarduaeletanmtnexngodythwipkhwrtrwcetannmtnexng hakthantrwcaelwimmnic ihkhxrbkhapruksathisthanixnamyiklban hruxsunysukhphaphchumchniklbanthanxangxingWHO Factsheets breastcancer khwamrusahrbprachachn eruxng maetanm ody rs nph nrinthr wrwuthi maerngetanm phykhukkhamthi striithyimkhwrmxngkhambthkhwamaephthysastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk