บทความนี้หรือส่วนนี้ของบทความต้องการปรับรูปแบบ ซึ่งอาจหมายถึง ต้องการจัดรูปแบบข้อความ จัดหน้า แบ่งหัวข้อ และ/หรือการจัดระเบียบอื่น ๆ คุณสามารถช่วยแก้ไขปัญหานี้ได้โดยการกดที่ปุ่ม แก้ไข ด้านบน จากนั้นปรับปรุงหรือจัดรูปแบบอื่น ๆ ในบทความให้เหมาะสม |
ถ้ำฤๅษี เป็นถ้ำที่ตั้งอยู่หน้าสุด บริเวณเชิงเขาด้าน อำเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี พบพระพุทธรูปจำหลักหรือพระพุทธรูปที่สลักบนฝาผนังถ้ำ 2 องค์ องค์แรกประทับห้อยพระบาท (ปรลัมพปาทาสนะ) พระหัตถ็ขวาอยู่ในปางแสดงธรรม (วิตรรกมุทรา) พระหัตถ์ซ้ายวางในพระเพลา ลักษณะท่าที่ประทับมีความใกล้เคียงกับพระประธานอุโบสถวัดพระปฐมเจดีย์ ที่ได้มาจากวัดหน้าพระเมรุ จังหวัดนครปฐม จากลักษณะดังกล่าวจึงเป็นประเด็นที่นักวิชาการได้ตีความออกมาหลายทาง กล่าวคือ
รศ.ดร.ผาสุข อืนทราวุธ คณบดีคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร แสดงความเห็นไว้ในหนังสือ ทวารวดี:การศึกษาเชิงวิเคราะห์จากหลักฐานทางโบราณคดี มีใจความว่า พระพุทธรูปขนาดใหญ่ในอิริยาบถประทับนั่งห้อยพระบาทแบบยุโรป ที่พบที่เมืองนครปฐมโบราณละเมืองราชบุรี เป็นรูปแบบนิยมของชาวพุทธที่นับถือนิกายมหายานในอินเดียถาคเหนือ (รูปแบบศิลปกรรมสมัยคุปตะและหลังคุปตะ) และภาคตะวันตก ในช่วงพุทธศตวรรษที่12 – 13 ดังจะเห็นตัวอย่างจาก ภาพสลักรูปพระพุทธเจ้านั่งห้อยพระบาทอยู่ในซุ้มหน้าสถูปเจติยสถานหมายเลข 26 และประดับผนังภายในเจติยสถานหมายเลขที่ 19 ที่ถ้ำอชัญฏา
ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.พิริยะ ไกรฤกษ์ อาจารย์คณะศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และ ผู้อำนวยการสถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แสดงความเห็นไว้ในหนังสือ อารยธรรมไทย พื้นฐานทางประวัติศาสตร์ศิลปะ เล่ม1 ศิลปะก่อนพุทธศตวรรษที่ 19 ว่า นิการเถรวาทนิยมสร้างรูปพระสมณโคดมประทับห้อยพระบาท (ปรลัมพปาทาสนะ) พระหัตถ์ขวาอยู่ในปางแสดงธรรม (วิตรรกมุทรา) พระหัตถ์ซ้ายวางบนพระเพลา พระพุทธรูปห้อยพระบาทในถ้ำฤๅษีนั้น ก็เป็นพระสมณโคดม มีจารึกภาษาบาลีและมอญระหว่างพระบาท ผศ.ดร.ศักดิ์ชัย สายสิงห์ อาจารย์ประจำภาควิชาประวัติศาสตร์ศิลปะ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร แสดงความเห็นไว้ในหนังสือศิลปะทวารวดี วัฒนธรรมพุทธศาสนายุคแรกเริ่มในดินแดนไทย ว่า พระพุทธรูปนั่งห้อยพระบาท (แบบยุโรป) ปางแสดงธรรม เป็นลักษณะเฉพาะที่เกิดสมัยทวารวดี มีรูปแบบคือ พระพุทธรูปประทับเหนือบัลลังก์ห้อยพระบาทสองข้าง พระชงฆ์แยกห่างจากกัน ส้นพระบาทชิดกัน จีบพระอังคุฐกับดัชนีเป็นวงกลม และวางพระหัตถ์ซ้ายไว้บนพระเพลา จะต่างกับแบบคุปตะที่ ของคุปตะจะแสดงวิตรรกมุทราด้วยการจีบพระหัตถ์ขวาเป็นวงกลม ส่วนพระหัตถ์ซ้ายประคองไว้
บริเวณระหว่างพระบาทมีจารึกว่า ‘ปุญกรมชฺระ ศฺรีสมาธิคุปฺต’ แปลว่า ‘พระศรีสมาธิคุปตะ ผู้มีบุญอันประเสริฐ ’ หรือ ‘การบุญของฤๅษี ... ศรีสมาธิคุปตะ’ จารึกถ้ำเขางูนี้มีการเสนอความคิดเห็นไว้อย่างหลากหลาย ทั้งด้านลักษณะอักษร ภาษา คำแปล และความหมายต่างๆกล่าวคือ
แนวคิดเป็นภาษาบาลี ในฝั่งนี้มีนักวิชาการเสนอไว้ท่านเดียวคือ ดร.พิริยะ ไกรฤกษ์ ที่เสนอว่า จารึกอักษรนี้เป็นภาษามอญและภาษาบาลี แปลว่า ‘การบุญของฤๅษี ... ศรีสมาธิคุปตะ’
แนวคิดว่า จารึกเป็นภาษาสันสกฤต ในฝั่งนี้มีนักวิชาการเสนอไว้หลายท่านว่าเป็นอักษรปัลลวะ ภาษาสันสกฤต แต่ในด้านคำอ่านและความหมายกลับีความเห็นแตกต่างกันออกไป ในข้างต้น ผู้ที่ได้อ่านคำอ่านและคำแปลของจารึกนี้อาจเข้าใจคำว่า ‘คุปตะ’ ในแง่ของชื่อราชวงศ์หรือยุคสมัยของอินดียที่มีอิทธิพลต่อศิลปะสมัยทวารวดี แต่ก็มีรายงานการศึกษาหลายชิ้นที่เสนอว่าน่าจะหมายถึงชื่อบุคคล
จากการสำรวจข้อมูลจากหนังสือและบันทึกของนักวิชาการท่านต่าง ๆ เกี่ยวกับจารึกนี้ของตรงใจ หุตางกูร นักวิชาการ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร จะทำให้เห็นพัฒนาการของการค้นคว้าจารึกและผู้ศึกษาจารึกในช่วงแรก ว่า พันตรี เดอ ลาช็องกีแอร์ เคยสำรวจถ้ำฤๅษีเขางูนี้ แต่ไม่ได้สังเกตเห็นจารึก ต่อมา ศ. ยอร์ช เซเดส์ ได้อ่านจารึกนี้ มีคำอ่านว่า ปุญ วฺระ ฤษิ -- ศฺรีสมาธิคุปต แต่ไม่ได้แปลไว้ ต่อมาในปี2529 นายชะเอม แก้วคล้าย ผู้เชี่ยวชาญภาษาโบราณของกรมศิลปากร ได้อ่านและแปลอีกครั้ง แต่พบว่าก่อนที่นายชะเอมจะอ่านจารึกนี้ ได้มีคนลักลอบมาแก้ไขจารึกนีไปแล้ว
อีกฟากของผนังถ้ำฤๅษีนี้มีพระพุทธรูปยืนปางเสด็จลงจากดาวดึงส์ เป็นศิลปะสมัยทวารวดี นอกจากนี้ยังมีพระพุทธรูปปางสมาธิอื่นๆอีกหลายองค์
อ้างอิง
- ผาสุข อืนทราวุธ, ทวารวดี:การศึกษาเชิงวิเคราะห์จากหลักฐานทางโบราณคดี, (กรุงเทพมหานคร:โรงพิมพ์อักษรสมัย,2542) หน้า159-164.
- http://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2560/E/141/4.PDF
- พิริยะ ไกรฤกษ์,อารยธรรมไทย พื้นฐานทางประวัติศาสตร์ศิลปะ เล่ม1 ศิลปะก่อนพุทธศตวรรษที่ 19, (กรุงเทพมหานคร:อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด,2544) ,หน้า 79-81
- ศักดิ์ชัย สายสิงห์,ศิลปะทวารวดี วัฒนธรรมพุทธศาสนายุคแรกเริ่มในดินแดนไทย, (กรุงเทพมหานคร:เมืองโบราณ,2547) ,หน้า 196-199
- พิริยะ ไกรฤกษ์,อารยธรรมไทย พื้นฐานทางประวัติศาสตร์ศิลปะ เล่ม1 ศิลปะก่อนพุทธศตวรรษที่ 19, (กรุงเทพมหานคร:อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด,2544) ,หน้า 79-81
- "สำเนาที่เก็บถาวร". คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-12-23. สืบค้นเมื่อ 2008-10-06.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnihruxswnnikhxngbthkhwamtxngkarprbrupaebb sungxachmaythung txngkarcdrupaebbkhxkhwam cdhna aebnghwkhx cdlingkphayin aela hruxkarcdraebiybxun khunsamarthchwyaekikhpyhaniidodykarkdthipum aekikh danbn caknnprbprunghruxcdrupaebbxun inbthkhwamihehmaasm thavisi epnthathitngxyuhnasud briewnechingekhadan xaephxemuxngrachburi cnghwdrachburi phbphraphuththrupcahlkhruxphraphuththrupthislkbnfaphnngtha 2 xngkh xngkhaerkprathbhxyphrabath prlmphpathasna phrahtthkhwaxyuinpangaesdngthrrm witrrkmuthra phrahtthsaywanginphraephla lksnathathiprathbmikhwamiklekhiyngkbphraprathanxuobsthwdphrapthmecdiy thiidmacakwdhnaphraemru cnghwdnkhrpthm caklksnadngklawcungepnpraednthinkwichakaridtikhwamxxkmahlaythang klawkhux rs dr phasukh xunthrawuth khnbdikhnaobrankhdi mhawithyalysilpakr aesdngkhwamehniwinhnngsux thwarwdi karsuksaechingwiekhraahcakhlkthanthangobrankhdi miickhwamwa phraphuththrupkhnadihyinxiriyabthprathbnnghxyphrabathaebbyuorp thiphbthiemuxngnkhrpthmobranlaemuxngrachburi epnrupaebbniymkhxngchawphuthththinbthuxnikaymhayaninxinediythakhehnux rupaebbsilpkrrmsmykhuptaaelahlngkhupta aelaphakhtawntk inchwngphuththstwrrsthi12 13 dngcaehntwxyangcak phaphslkrupphraphuththecannghxyphrabathxyuinsumhnasthupectiysthanhmayelkh 26 aelapradbphnngphayinectiysthanhmayelkhthi 19 thithaxchyta sastracaryphiess dr phiriya ikrvks xacarykhnasilpsastrmhawithyalythrrmsastr aela phuxanwykarsthabnithykhdisuksa mhawithyalythrrmsastr aesdngkhwamehniwinhnngsux xarythrrmithy phunthanthangprawtisastrsilpa elm1 silpakxnphuththstwrrsthi 19 wa nikarethrwathniymsrangrupphrasmnokhdmprathbhxyphrabath prlmphpathasna phrahtthkhwaxyuinpangaesdngthrrm witrrkmuthra phrahtthsaywangbnphraephla phraphuththruphxyphrabathinthavisinn kepnphrasmnokhdm micarukphasabaliaelamxyrahwangphrabath phs dr skdichy saysingh xacarypracaphakhwichaprawtisastrsilpa khnaobrankhdi mhawithyalysilpakr aesdngkhwamehniwinhnngsuxsilpathwarwdi wthnthrrmphuththsasnayukhaerkerimindinaednithy wa phraphuththrupnnghxyphrabath aebbyuorp pangaesdngthrrm epnlksnaechphaathiekidsmythwarwdi mirupaebbkhux phraphuththrupprathbehnuxbllngkhxyphrabathsxngkhang phrachngkhaeykhangcakkn snphrabathchidkn cibphraxngkhuthkbdchniepnwngklm aelawangphrahtthsayiwbnphraephla catangkbaebbkhuptathi khxngkhuptacaaesdngwitrrkmuthradwykarcibphrahtthkhwaepnwngklm swnphrahtthsayprakhxngiw briewnrahwangphrabathmicarukwa puykrmch ra s rismathikhup t aeplwa phrasrismathikhupta phumibuyxnpraesrith hrux karbuykhxngvisi srismathikhupta carukthaekhangunimikaresnxkhwamkhidehniwxyanghlakhlay thngdanlksnaxksr phasa khaaepl aelakhwamhmaytangklawkhux aenwkhidepnphasabali infngniminkwichakaresnxiwthanediywkhux dr phiriya ikrvks thiesnxwa carukxksrniepnphasamxyaelaphasabali aeplwa karbuykhxngvisi srismathikhupta aenwkhidwa carukepnphasasnskvt infngniminkwichakaresnxiwhlaythanwaepnxksrpllwa phasasnskvt aetindankhaxanaelakhwamhmayklbikhwamehnaetktangknxxkip inkhangtn phuthiidxankhaxanaelakhaaeplkhxngcaruknixacekhaickhawa khupta inaengkhxngchuxrachwngshruxyukhsmykhxngxindiythimixiththiphltxsilpasmythwarwdi aetkmirayngankarsuksahlaychinthiesnxwanacahmaythungchuxbukhkhl cakkarsarwckhxmulcakhnngsuxaelabnthukkhxngnkwichakarthantang ekiywkbcaruknikhxngtrngic hutangkur nkwichakar sunymanusywithyasirinthr cathaihehnphthnakarkhxngkarkhnkhwacarukaelaphusuksacarukinchwngaerk wa phntri edx lachxngkiaexr ekhysarwcthavisiekhanguni aetimidsngektehncaruk txma s yxrch eseds idxancarukni mikhaxanwa puy w ra vsi s rismathikhupt aetimidaepliw txmainpi2529 naychaexm aekwkhlay phuechiywchayphasaobrankhxngkrmsilpakr idxanaelaaeplxikkhrng aetphbwakxnthinaychaexmcaxancarukni idmikhnlklxbmaaekikhcarukniipaelw xikfakkhxngphnngthavisinimiphraphuththrupyunpangesdclngcakdawdungs epnsilpasmythwarwdi nxkcakniyngmiphraphuththruppangsmathixunxikhlayxngkhxangxingphasukh xunthrawuth thwarwdi karsuksaechingwiekhraahcakhlkthanthangobrankhdi krungethphmhankhr orngphimphxksrsmy 2542 hna159 164 http www ratchakitcha soc go th DATA PDF 2560 E 141 4 PDF phiriya ikrvks xarythrrmithy phunthanthangprawtisastrsilpa elm1 silpakxnphuththstwrrsthi 19 krungethphmhankhr xmrinthrphrintingaexndphblichching cakd 2544 hna 79 81 skdichy saysingh silpathwarwdi wthnthrrmphuththsasnayukhaerkerimindinaednithy krungethphmhankhr emuxngobran 2547 hna 196 199 phiriya ikrvks xarythrrmithy phunthanthangprawtisastrsilpa elm1 silpakxnphuththstwrrsthi 19 krungethphmhankhr xmrinthrphrintingaexndphblichching cakd 2544 hna 79 81 saenathiekbthawr khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2008 12 23 subkhnemux 2008 10 06 bthkhwamekiywkbsthanthiinpraethsithyniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldk