หมอนรองเข่า หรือ หมอนรองกระดูกเข่า หรือ เมนิสคัส หรือ กระดูกอ่อนมินิสคัส (อังกฤษ: meniscus พหูพจน์เป็น menisci หรือ meniscuses) เป็นโครงสร้างทางกายวิภาค เป็นกระดูกอ่อนเส้นใย (fibrocartilage) รูปพระจันทร์เสี้ยว ซึ่งต่างกับแผ่นรองข้อต่อ (articular disc) เพราะแบ่งช่องข้อต่อออกเป็นเพียงบางส่วนเท่านั้นมนุษย์มีเมนิสคัสอยู่ที่ข้อเข่า ข้อมือ ข้อต่ออโครมิโอคลาวิคิวลาร์ ข้อต่อสเตอร์โนคลาวิคิวลาร์ และข้อต่อขากรรไกร ส่วนสัตว์อื่น ๆ อาจมีในข้อต่ออื่น ๆ ด้วย
หมอนรองเข่า (meniscus) | |
---|---|
หัวกระดูกแข้งขวาที่มองจากด้านบน แสดงหมอนรองเข่าและจุดที่ยึดกับเอ็น | |
ข้อเข่าซ้ายมองจากข้างหลัง แสดงเอ็นยึดภายใน | |
รายละเอียด | |
ตัวระบุ | |
ภาษาละติน | meniscus |
ภาษากรีก | μηνίσκος ("meniskos") |
[แก้ไขบนวิกิสนเทศ] |
โดยทั่วไปแล้ว คำว่า "เมนิสคัส" หมายถึงกระดูกอ่อนในเข่า ไม่ว่าจะเป็นเมนิสคัสด้านข้าง (lateral meniscus) หรือด้านใน (medial meniscus) ทั้งสองเป็นเนื้อเยื่อกระดูกอ่อนที่ให้ความมั่นคงเชิงโครงสร้างแก่หัวเข่าเมื่อมีแรงดึงและแรงบิด เมนิสคัสยังอาจรู้จักในชื่อกระดูกอ่อน "เสี้ยวพระจันทร์" ซึ่งหมายถึงรูปร่างที่เป็นครึ่งวงเดือนหรือพระจันทร์เสี้ยว
คำว่า "เมนิสคัส" มาจากคำกรีกโบราณคือ μηνίσκος (meniskos) ซึ่งแปลว่า "พระจันทร์เสี้ยว"
โครงสร้าง
เมนิสคัสของเข่าเป็นแผ่นเนื้อเยื่อกระดูกอ่อนเส้นใยสองแผ่นซึ่งทำหน้าที่ลดแรงเสียดทานที่ข้อเข่าระหว่างขาท่อนล่าง (กระดูกแข้ง) และขาท่อนบน (กระดูกต้นขา) มีลักษณะเว้าด้านบนและแบนด้านล่าง เชื่อมกับกระดูกหน้าแข้ง ยึดติดกับรอยเว้าเล็ก ๆ ที่อยู่ระหว่างปุ่มกระดูก (condyle) 2 ปุ่มของกระดูกหน้าแข้ง (คือยึดอยู่กับ intercondyloid fossa) เมื่อไล่จากริมกระดูกรอบนอกเข้าไปตรงกลาง ส่วนตรงกลางจะไม่ยึดอยู่กับอะไร ๆ โดยรูปร่างจะเรียวลงเป็นชั้นบาง ๆเลือดจะไหลจากริมรอบนอกเข้าไปตรงกลาง แต่เพราะการไหลเวียนของเลือดลดลงตามอายุ และส่วนตรงกลางไม่มีเส้นเลือดเมื่อถึงวัยผู้ใหญ่ ก็จะทำให้การบาดเจ็บหายช้าลง
ในภาพเอ็มอาร์ไอ เมนิสคัสจะปรากฏมีสีไม่เข้ม
หน้าที่
เมนิสคัสทำหน้าที่กระจายน้ำหนักของร่างกายและลดแรงเสียดทานเมื่อเคลื่อนไหว เนื่องจากปุ่มกระดูกของกระดูกต้นขาและกระดูกหน้าแข้งมาบรรจบกัน (แต่ก็ย้ายตำแหน่งเมื่องอและเหยียดขา) เมนิสคัสจึงช่วยกระจายน้ำหนักของร่างกาย โดยนี่ต่างกับกระดูกในเอ็นกล้ามเนื้อ (sesamoid bone) ซึ่งทำจากเนื้อเยื่อกระดูก และมีหน้าที่ปกป้องเอ็นที่อยู่ใกล้เคียงและเพิ่มประสิทธิภาพเชิงกลของเอ็น
ความสำคัญทางคลินิก
การบาดเจ็บ
ในวงการกีฬาและศัลยศาสตร์ออร์โทพีดิกส์ การกล่าวถึง "กระดูกอ่อนฉีกขาด" หมายถึงการบาดเจ็บที่เมนิสคัสชิ้นใดชิ้นหนึ่ง การบาดเจ็บมีสองประเภทหลัก คือ การฉีกขาดเฉียบพลันซึ่งเกิดจากการบาดเจ็บหรือเล่นกีฬา และการฉีกขาดเรื้อรังหรือแบบสึกหรอ แบบเฉียบพลันมีหลายรูปแบบ (แนวตั้ง แนวนอน เป็นรัศมี แบบเฉียง แบบซับซ้อน) และหลายขนาด มักรักษาด้วยการผ่าตัดซ่อมแซมโดยขึ้นอยู่กับอายุของผู้ป่วย เนื่องจากแทบจะหายเองไม่ได้ การฉีกขาดเรื้อรังจะรักษาตามอาการ คือด้วยกายภาพบำบัดโดยอาจฉีดยาหรือให้ยาแก้อักเสบร่วมด้วยหรือไม่ก็ได้ หากการฉีกขาดยังคงทำให้ปวด บวม หรือเข่าทำงานผิดปกติ ก็สามารถตัดหรือซ่อมแซมกระดูกอ่อนด้วยการผ่าตัดได้
การฉีกขาดของเมนิสคัสด้านใน (medial meniscus) อาจเกิดโดยเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มอาการบาดเจ็บสามอย่าง พร้อมกับการฉีกขาดของเอ็นไขว้หน้า (anterior cruciate ligament) และเอ็นข้างเข่าด้านใน (medial collateral ligament)
การจัดการแบบอนุรักษนิยม
แพทย์มักรักษาแบบอนุรักษนิยมเป็นอันดับแรกสำหรับการฉีกขาดที่เล็กหรือเรื้อรัง ซึ่งดูเหมือนไม่ต้องผ่าตัดซ่อมแซม โดยอาจให้ปรับเปลี่ยนกิจกรรม ทำกายภาพบำบัดเพื่อเพิ่มความแข็งแรงหรือเพิ่มช่วงการเคลื่อนไหว[]
การรักษาด้วยการผ่าตัด
การผ่าตัดเมนิสคัสซึ่งพบบ่อยที่สุดมีสองแบบ โดยขึ้นอยู่กับประเภทและตำแหน่งของการฉีกขาด อายุของผู้ป่วย และการตัดสินของแพทย์ เมนิสคัสที่บาดเจ็บมักจะได้รับการซ่อมแซมหรือตัดออก (meniscectomy) ไม่ว่าจะบางส่วนหรือทั้งหมด แต่ละอย่างมีข้อดีและข้อเสีย การศึกษาหลายชิ้นแสดงว่าเมนิสคัสมีประโยชน์ ดังนั้นแพทย์จึงพยายามซ่อมแซมเมื่อเป็นไปได้ แต่เมนิสคัสมีเลือดไหลเวียนไม่ดี ดังนั้นจึงอาจหายยาก ดั้งเดิมแล้วเชื่อว่าถ้าไม่มีโอกาสหาย ก็ควรตัดเมนิสคัสที่เสียหายและทำงานไม่ดีออก แต่ก็มีงานศึกษาอย่างน้อยงานหนึ่งที่แสดงว่า การตัดเมนิสคัสที่ฉีกเหตุเสื่อมไม่ให้ผลดีอย่างมีนัยสำคัญ แต่การกลับไปทำกิจกรรมที่เคลื่อนไหวมากอาจเป็นไปไม่ได้ถ้าไม่ผ่าตัด เนื่องจากรอยฉีกอาจพลิกไปมาแล้วทำให้เข่าล็อค
แนวทางปฏิบัติทางคลินิกในปี 2017 แนะนำอย่างชัดเจนว่าไม่ควรผ่าตัดสำหรับโรคเข่าเสื่อมเกือบทุกราย
กำเนิดศัพท์
คำว่าเมนิสคัสมาจากคำภาษากรีกว่า μηνίσκος meniskos ซึ่งหมายถึง "พระจันทร์เสี้ยว" คำนี้เคยใช้ระบุสิ่งที่มีรูปโค้งทั่ว ๆ ไป เช่นสร้อยคอหรือแนวรบ
คลังภาพ
เชิงอรรถและอ้างอิง
- meniscus, สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ, อังกฤษ-ไทย: คลังศัพท์ไทย โดย สวทช.,
กระดูกอ่อนมินิสคัส, เมนิสคัส [การแพทย์]
- Platzer, Werner (2004). Color Atlas of Human Anatomy, Vol. 1: Locomotor System (5th ed.). Thieme. p. 208. ISBN .
- "Meniscus". Stedman's Medical Dictionary, 27th edition. eMedicine - Lippincott Williams & Wilkins. 2003. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-02-21. สืบค้นเมื่อ 2008-02-20.
- Diab, Mohammad (1999). Lexicon of Orthopaedic Etymology. Taylor & Francis. p. 199. ISBN .
- Gray, Henry (1918). "7b. The Knee-joint". Gray's Anatomy of the Human Body. 7b. คลังข้อมูลเก่าเก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 2008-01-23. สืบค้นเมื่อ 2008-02-20.
- Nguyen, Jie C.; De Smet, Arthur A.; Graf, Ben K.; Rosas, Humberto G. (July 2014). "MR Imaging–based Diagnosis and Classification of Meniscal Tears". RadioGraphics (ภาษาอังกฤษ). 34 (4): 981–999. doi:10.1148/rg.344125202. ISSN 0271-5333. PMID 25019436.
- Shelbourne, KD; Nitz, PA (1991). "The O'Donoghue triad revisited. Combined knee injuries involving anterior cruciate and medial collateral ligament tears". Am J Sports Med. 19 (5): 474–7. doi:10.1177/036354659101900509. PMID 1962712. S2CID 45964892.
- Sihvonen, R; Paavola, M; Malmivaara, A; Itälä, A; Joukainen, A; Nurmi, H; Kalske, J; Järvinen, TL (2013-12-26). "Arthroscopic Partial Meniscectomy versus Sham Surgery for a Degenerative Meniscal Tear". The New England Journal of Medicine. 369 (26): 2504–2514. doi:10.1056/NEJMoa1305189. PMID 24369076.
- Siemieniuk, Reed A. C.; Harris, Ian A.; Agoritsas, Thomas; Poolman, Rudolf W.; Brignardello-Petersen, Romina; Velde, Stijn Van de; Buchbinder, Rachelle; Englund, Martin; Lytvyn, Lyubov (2017-05-10). "Arthroscopic surgery for degenerative knee arthritis and meniscal tears: a clinical practice guideline". British Medical Journal (ภาษาอังกฤษ). 357: j1982. doi:10.1136/bmj.j1982. ISSN 1756-1833. PMC 5426368. PMID 28490431.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnixangxingkhristskrach khristthswrrs khriststwrrs sungepnsarasakhykhxngenuxha hmxnrxngekha hrux hmxnrxngkradukekha hrux emniskhs hrux kradukxxnminiskhs xngkvs meniscus phhuphcnepn menisci hrux meniscuses epnokhrngsrangthangkaywiphakh epnkradukxxnesniy fibrocartilage rupphracnthresiyw sungtangkbaephnrxngkhxtx articular disc ephraaaebngchxngkhxtxxxkepnephiyngbangswnethannmnusymiemniskhsxyuthikhxekha khxmux khxtxxokhrmioxkhlawikhiwlar khxtxsetxronkhlawikhiwlar aelakhxtxkhakrrikr swnstwxun xacmiinkhxtxxun dwyhmxnrxngekha meniscus hwkradukaekhngkhwathimxngcakdanbn aesdnghmxnrxngekhaaelacudthiyudkbexnkhxekhasaymxngcakkhanghlng aesdngexnyudphayinraylaexiydtwrabuphasalatinmeniscusphasakrikmhniskos meniskos aekikhbnwikisneths odythwipaelw khawa emniskhs hmaythungkradukxxninekha imwacaepnemniskhsdankhang lateral meniscus hruxdanin medial meniscus thngsxngepnenuxeyuxkradukxxnthiihkhwammnkhngechingokhrngsrangaekhwekhaemuxmiaerngdungaelaaerngbid emniskhsyngxacruckinchuxkradukxxn esiywphracnthr sunghmaythungruprangthiepnkhrungwngeduxnhruxphracnthresiyw khawa emniskhs macakkhakrikobrankhux mhniskos meniskos sungaeplwa phracnthresiyw okhrngsrangemniskhskhxngekhaepnaephnenuxeyuxkradukxxnesniysxngaephnsungthahnathildaerngesiydthanthikhxekharahwangkhathxnlang kradukaekhng aelakhathxnbn kraduktnkha milksnaewadanbnaelaaebndanlang echuxmkbkradukhnaaekhng yudtidkbrxyewaelk thixyurahwangpumkraduk condyle 2 pumkhxngkradukhnaaekhng khuxyudxyukb intercondyloid fossa emuxilcakrimkradukrxbnxkekhaiptrngklang swntrngklangcaimyudxyukbxair odyruprangcaeriywlngepnchnbang eluxdcaihlcakrimrxbnxkekhaiptrngklang aetephraakarihlewiynkhxngeluxdldlngtamxayu aelaswntrngklangimmiesneluxdemuxthungwyphuihy kcathaihkarbadecbhaychalng inphaphexmxarix emniskhscapraktmisiimekhmhnathiemniskhsthahnathikracaynahnkkhxngrangkayaelaldaerngesiydthanemuxekhluxnihw enuxngcakpumkradukkhxngkraduktnkhaaelakradukhnaaekhngmabrrcbkn aetkyaytaaehnngemuxngxaelaehyiydkha emniskhscungchwykracaynahnkkhxngrangkay odynitangkbkradukinexnklamenux sesamoid bone sungthacakenuxeyuxkraduk aelamihnathipkpxngexnthixyuiklekhiyngaelaephimprasiththiphaphechingklkhxngexnkhwamsakhythangkhlinikkarbadecb aephlepncakkartdemniskhsdansayxxkepnbangswn thapraman 30 pikxnthayphaph karphatdlasudsrangaephlepnkhnadelkkwa inwngkarkilaaelaslysastrxxrothphidiks karklawthung kradukxxnchikkhad hmaythungkarbadecbthiemniskhschinidchinhnung karbadecbmisxngpraephthhlk khux karchikkhadechiybphlnsungekidcakkarbadecbhruxelnkila aelakarchikkhaderuxrnghruxaebbsukhrx aebbechiybphlnmihlayrupaebb aenwtng aenwnxn epnrsmi aebbechiyng aebbsbsxn aelahlaykhnad mkrksadwykarphatdsxmaesmodykhunxyukbxayukhxngphupwy enuxngcakaethbcahayexngimid karchikkhaderuxrngcarksatamxakar khuxdwykayphaphbabdodyxacchidyahruxihyaaekxkesbrwmdwyhruximkid hakkarchikkhadyngkhngthaihpwd bwm hruxekhathanganphidpkti ksamarthtdhruxsxmaesmkradukxxndwykarphatdid karchikkhadkhxngemniskhsdanin medial meniscus xacekidodyepnswnhnungkhxngklumxakarbadecbsamxyang phrxmkbkarchikkhadkhxngexnikhwhna anterior cruciate ligament aelaexnkhangekhadanin medial collateral ligament karcdkaraebbxnurksniym aephthymkrksaaebbxnurksniymepnxndbaerksahrbkarchikkhadthielkhruxeruxrng sungduehmuxnimtxngphatdsxmaesm odyxacihprbepliynkickrrm thakayphaphbabdephuxephimkhwamaekhngaernghruxephimchwngkarekhluxnihw txngkarxangxing karrksadwykarphatd karphatdemniskhssungphbbxythisudmisxngaebb odykhunxyukbpraephthaelataaehnngkhxngkarchikkhad xayukhxngphupwy aelakartdsinkhxngaephthy emniskhsthibadecbmkcaidrbkarsxmaesmhruxtdxxk meniscectomy imwacabangswnhruxthnghmd aetlaxyangmikhxdiaelakhxesiy karsuksahlaychinaesdngwaemniskhsmipraoychn dngnnaephthycungphyayamsxmaesmemuxepnipid aetemniskhsmieluxdihlewiynimdi dngnncungxachayyak dngedimaelwechuxwathaimmioxkashay kkhwrtdemniskhsthiesiyhayaelathanganimdixxk aetkmingansuksaxyangnxynganhnungthiaesdngwa kartdemniskhsthichikehtuesuxmimihphldixyangminysakhy aetkarklbipthakickrrmthiekhluxnihwmakxacepnipimidthaimphatd enuxngcakrxychikxacphlikipmaaelwthaihekhalxkh aenwthangptibtithangkhlinikinpi 2017 aenanaxyangchdecnwaimkhwrphatdsahrborkhekhaesuxmekuxbthukraykaenidsphthkhawaemniskhsmacakkhaphasakrikwa mhniskos meniskos sunghmaythung phracnthresiyw khaniekhyichrabusingthimirupokhngthw ip echnsrxykhxhruxaenwrbkhlngphaphechingxrrthaelaxangxingmeniscus sanknganphthnawithyasastraelaethkhonolyiaehngchati xngkvs ithy khlngsphthithy ody swthch kradukxxnminiskhs emniskhs karaephthy Platzer Werner 2004 Color Atlas of Human Anatomy Vol 1 Locomotor System 5th ed Thieme p 208 ISBN 3 13 533305 1 Meniscus Stedman s Medical Dictionary 27th edition eMedicine Lippincott Williams amp Wilkins 2003 khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2008 02 21 subkhnemux 2008 02 20 Diab Mohammad 1999 Lexicon of Orthopaedic Etymology Taylor amp Francis p 199 ISBN 90 5702 597 3 Gray Henry 1918 7b The Knee joint Gray s Anatomy of the Human Body 7b khlngkhxmulekaekbcakaehlngedimemux 2008 01 23 subkhnemux 2008 02 20 Nguyen Jie C De Smet Arthur A Graf Ben K Rosas Humberto G July 2014 MR Imaging based Diagnosis and Classification of Meniscal Tears RadioGraphics phasaxngkvs 34 4 981 999 doi 10 1148 rg 344125202 ISSN 0271 5333 PMID 25019436 Shelbourne KD Nitz PA 1991 The O Donoghue triad revisited Combined knee injuries involving anterior cruciate and medial collateral ligament tears Am J Sports Med 19 5 474 7 doi 10 1177 036354659101900509 PMID 1962712 S2CID 45964892 Sihvonen R Paavola M Malmivaara A Itala A Joukainen A Nurmi H Kalske J Jarvinen TL 2013 12 26 Arthroscopic Partial Meniscectomy versus Sham Surgery for a Degenerative Meniscal Tear The New England Journal of Medicine 369 26 2504 2514 doi 10 1056 NEJMoa1305189 PMID 24369076 Siemieniuk Reed A C Harris Ian A Agoritsas Thomas Poolman Rudolf W Brignardello Petersen Romina Velde Stijn Van de Buchbinder Rachelle Englund Martin Lytvyn Lyubov 2017 05 10 Arthroscopic surgery for degenerative knee arthritis and meniscal tears a clinical practice guideline British Medical Journal phasaxngkvs 357 j1982 doi 10 1136 bmj j1982 ISSN 1756 1833 PMC 5426368 PMID 28490431