ลิงก์ข้ามภาษาในบทความนี้ มีไว้ให้ผู้อ่านและผู้ร่วมแก้ไขบทความศึกษาเพิ่มเติมโดยสะดวก เนื่องจากวิกิพีเดียภาษาไทยยังไม่มีบทความดังกล่าว กระนั้น ควรรีบสร้างเป็นบทความโดยเร็วที่สุด |
LK (ภาษารัสเซีย: ЛК, มาจากคำว่า Лунный корабль, Lunniy korabl, แปลว่า ยานดวงจันทร์ (Lunar craft); : 11Ф94) เป็นยานลงดวงจันทร์แบบมีคนควบคุมที่ถูกพัฒนาขึ้นในช่วงทศวรรษที่ 1960 โดยเป็นส่วนหนึ่งของโครงการอวกาศโซเวียต มันมีหน้าที่ที่คล้ายกับยานลงดวงจันทร์ของอเมริกา (Apollo Lunar Module, LM)
LK | |
---|---|
LK-3 | |
ประเภทภารกิจ | การลงจอดบนดวงจันทร์ |
ผู้ดำเนินการ | สหภาพโซเวียต |
ข้อมูลยานอวกาศ | |
ยานอวกาศ | LK |
ชนิดยานอวกาศ | ยานลงดวงจันทร์ |
ผู้ผลิต | OKB-586 |
มวลขณะส่งยาน | 5,560 ถึง 6,525 กิโลกรัม |
ขนาด | 5 ลูกบาศก์เมตร |
เริ่มต้นภารกิจ | |
จรวดนำส่ง | Soyuz-L (ทดสอบในวงโคจร) N1 (ตามแผนการลงดวงจันทร์) |
ฐานส่ง | Baikonur 31/6 |
ผู้ดำเนินงาน | สหภาพโซเวียต |
ตำแหน่งปล่อยตัว | ท่าอวกาศยานบัยโกเงอร์ |
เริ่มปฎิบัติงาน | 24 พฤศจิกายน ค.ศ. 1970 |
สิ้นสุดภารกิจ | |
การกำจัด | เผาไหม้ในชั้นบรรยากาศโลก |
ประกาศเมื่อ | พฤษภาคม ค.ศ. 1974 |
ลักษณะวงโคจร | |
ระบบวงโคจร | LEO (Kosmos 379 และ Kosmos 398) MEO (Kosmos 434) |
ความเอียง | 51.5-51.6 องศา |
มียาน LK จำนวนหนึ่งที่เคยถูกส่งขึ้นไปยังวงโคจรโลกแบบไร้คนขับ แต่ไม่เคยมียาน LK ลำใดที่เคยไปถึงดวงจันทร์เนื่องมาจากการพัฒนาโครงการจรวด N1 ที่จำเป็นต่อการไปยังดวงจันทร์พบกับความล้มเหลว จากการส่งจรวดที่ล้มเหลวหลายต่อหลายครั้ง และการลงดวงจันทร์ครั้งแรกได้ถูกพิชิตโดยนักบินอวกาศของอเมริกาแล้ว จึงทำให้ทั้ง N1 และโครงการ LK ได้ถูกยกเลิกโดยไม่มีการพัฒนาต่อไป
แผนการเดินทาง N1-L3
เซียร์เกย์ โคโรเลฟ หัวหน้าวิศวกรจรวดและผู้ออกแบบยานอวกาศของโซเวียตในยุคทศวรรษที่ 1950 และ 1960 ได้วางแผนที่จะนำแนวคิดเรื่องแผนการเดินทางไป-กลับดวงจันทร์จากโครงการอะพอลโลมาใช้ ยานดวงจันทร์ L3 ประกอบไปด้วย ยานบังคับการ LOK ( Lunniy Orbitalny Korabl หรือ Soyuz 7K-L3) (ยานโซยุซรูปแบบหนึ่ง) และยาน LK โดยที่ L3 จะบรรทุกนักบินอวกาศ 2 คนไว้ด้านบนของจรวดขับดัน 3 สเตจขนาดใหญ่ "N1" นอกจากนี้ยังมีสเตจที่ 4 หรือ บล็อก G ที่จะใช้ส่ง L3 (LOK และ LK) ออกจากวงโคจรโลกไปยังดวงจันทร์ และมี สเตจที่ 5 หรือ บล็อก D ทำหน้าที่ชะลอยานเพื่อเข้าสู่วงโคจรดวงจันทร์ และใช้ชะลอยานเพื่อจะลงจอดบนดวงจันทร์ในขั้นต้น
วงโคจรดวงจันทร์
เครื่องยนต์ของ บล็อก D จะจุดเครื่องยนต์ เพื่อชะลอ L3 ให้เข้าสู่วงโคจรดวงจันทร์ หลังจากนั้น เมื่อยานเข้าสู่วงโคจรดวงจันทร์แล้ว นักบินอวกาศหนึ่งคนจะทำการจาก LOK ไปยังยานลงดวงจันทร์ LK และเข้าไปข้างใน ต่อจากนั้นจึงแยก บล็อก D (สเตจที่ 5) และยาน LK ออกจากยาน LOK ก่อนที่จะจุดเครื่องยนต์ของ บล็อก D เพื่อลดระดับความสูงลง
เมื่อความเร็วลดลงและอยู่ในเส้นทางไปยังบริเวณจุดลงจอด ยาน LK จะแยกตัวออกจากบล็อก D แล้วปล่อยให้ บล็อก D ตกลงไปชนผิวดวงจันทร์ และทำการลงจอดต่อไปโดยใช้เครื่องยนต์ บล็อก E ของตัวยานเองเพื่อลดความเร็วครั้งสุดท้ายก่อนลงจอด
การลงจอดบนดวงจันทร์
ในช่วงแรก โพรบไร้คนขับใน(โปรแกรมสำรวจดวงจันทร์ของโซเวียต) ได้ถูกใช้เพื่อกำหนดพื้นที่ลงจอดที่เหมาะสม และถูกใช้เป็นตัวส่งสัญญาณให้กับยาน LK หลังจากนั้นยาน LK สำรองอีกลำจะถูกส่งไปยังจุดลงจอด และในขั้นตอนสุดท้าย จึงจะมีการลงจอดของยาน LK พร้อมกับนักบินอวกาศอีก 1 คน
อย่างไรก็ตาม รายละเอียดหรือแผนการปฏิบัติงานขณะอยู่บนพื้นผิวดวงจันทร์ก็ยังเป็นที่คลุมเครือ อันเนื่องมาจากขนาดที่เล็กและน้ำหนักบรรทุกที่จำกัดของ N1 / / LK เมื่อเทียบกับ Saturn V / อะพอลโล นั่นหมายความว่า จะมีการทดลองทางวิทยาศาสตร์ไม่มากนักที่จะเกิดขึ้นบนดวงจันทร์ โดยส่วนมากแล้ว นักบินอวกาศจะปักธงชาติสหภาพโซเวียตไว้บนดวงจันทร์, เก็บตัวอย่างดิน ถ่ายรูป, และติดตั้งอุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์เพียงเล็กน้อย ซึ่งทำให้ระยะเวลาภารกิจที่ยาวนาน, โรเวอร์บนดวงจันทร์, และกิจกรรมอื่นๆที่เกิดขึ้นในโครงการอะพอลโลยุคหลังจึงไม่มีทางที่จะเป็นไปได้
เดินทางกลับสู่โลก
หลังจาก 1 วันบนผิวดวงจันทร์ เครื่องยนต์ของยาน LK จะถูกจุดขึ้นอีกครั้ง โดยใช้ส่วนลงจอดแทนฐานปล่อย เพื่อที่จะลดน้ำหนัก การจุดเครื่องยนต์จึงใช้เครื่องยนต์ที่ใช้ในการลงจอดอีกครั้งเพื่อส่ง ยาน LK กลับสู่วงโคจรดวงจันทร์ ในระหว่างการเดินทางขึ้นสู่วงโคจรดวงจันทร์ ขาตั้งลงจอดจะถูกปลดออกให้ตกกลับไปยังดวงจันทร์ เมื่อถึงวงโคจรจึงเชื่อมต่อยานอัตโนมัติกับยาน LOK โดยระบบเชื่อมต่อยาน kontakt
เมื่อเชื่อมต่อยานสำเร็จ นักบินอวกาศจะเดินอวกาศกลับมายังยาน LOK พร้อมกับตัวอย่างหินจากดวงจันทร์ หลังจากนั้นยาน LK จะถูกปลดการเชื่อมต่อออก และเครื่องยนต์ของยาน LOK จะถูกจุดขึ้นเพื่อเดินทางกลับสู่โลก
ส่วนเชื่อมต่อของยาน LK นั้นประกอบไปด้วยโครงร่างรูปตาข่ายของรูทรง 96 เหลี่ยมที่จัดเรียงในกริดไอโซเมตริก แต่ละอันสามารถที่จะเป็นจุดเชื่อมต่อยานสำหรับโพรบของยาน LOK ให้สามารถเชื่อมต่อได้โดยไม่ต้องอาศัยความแม่นยำในการเชื่อมต่อมากนัก เนื่องจากข้อจำกัดเรื่องน้ำหนัก ส่วนเชื่อมต่อจึงถูกออกแบบให้เรียบง่ายที่สุดเท่าที่จะทำได้, ด้วยส่วนเชื่อมต่อที่ใช้หลักการเชิงกล และไม่มีส่วนที่ใช้ไฟฟ้าหรือของไหลเลย การเชื่อมต่อยานและการตัดการเชื่อมต่อจึงสามารถทำได้เพียงอย่างละครั้งเท่านั้น
การออกแบบ
ยาน LK แบ่งเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนที่ใช้ลงดวงจันทร์ (lunar landing aggregate) และส่วนที่ใช้ขึ้นจากผิวดวงจันทร์ (lunar ascent vehicle)
ในส่วนของระบบขับเคลื่อน, ทั้งการลงจอดและการขึ้นจากผิวดวงจันทร์ต่างใช้ระบบขับดัน บล็อก E ส่วนของแผงควบคุมนั้นใช้เวอร์ชันที่มีชื่อเรียกว่า "Luch"
ใน 4 ภารกิจที่ใช้ยาน LK นั้นได้ใช้ T2K ซึ่งเป็นรุ่นหนึ่งของยาน LK ซึ่งเกือบจะเหมือนกับยาน LK รุ่นมาตรฐานเพียงแต่ไม่มีขาตั้งลงจอด
ระบบ
ประกอบด้วยระบบดังนี้
- ส่วนควบคุมความดันสำหรับนักบินอวกาศ
- ระบบควบคุมการบิน
- ระบบพยุงชีพ
- ระบบควบคุมอุณหภูมิ
- ระบบควบคุมความสูง
- ส่วนลงจอดดวงจันทร์ หรือ LPU ซึ่งมีขาตั้งสำหรับลงจอด 4 อัน
- ระบบพลังงาน ซึ่งประกอบด้วยแบตเตอรี่เคมีที่ติดอยู่กับ LPU
อุปกรณ์
ประกอบด้วยอุปกรณ์ดังนี้
- เรดาห์สำหรับลงจอด Planeta
- ระบบควบคุมการบินในส่วนควบคุมความดัน
- เสาอากาศสื่อสารแบบพับเก็บได้ ได้แก่ เสาอากาศกำลังต่ำ เสาอากาศกำลังสูง และเสาอากาศรอบทิศทาง
- แบตเตอรี่ 3 ก้อน
- ส่วนบรรจุน้ำ 4 ส่วน สำหรับใช้ในส่วนจัดการการระเหย
- อุปกรณ์ทางวิทยาศาสตร์น้ำหนัก 105 กิโลกรัม ซึ่งประกอบด้วยแขนกลน้ำหนัก 59 กิโลกรัม และส่วานขุดเจาะที่มีอายุการใช้งานประมาณ 60 นาที
เครื่องยนต์
บล็อก E
ระบบขับดัน บล็อก E ถูกพัฒนาขึ้นที่ OKB-586 ในเมืองดนีโปรเปตรอฟสค์ เพื่อถูกใช้สำหรับเป็นเครื่องยนต์ลงจอดและบินขึ้นจากดวงจันทร์ บล็อก E เป็นหนึ่งในระบบที่มีความสำคัญมาก, ไม่เหมือนกับขั้นตอนอื่นของการเดินทางไปยังดวงจันทร์ ความผิดพลาดของบล็อก E ในขณะที่กำลังจะบินขึ้นจากพื้นผิวดวงจันทร์นั้นก่อให้เกิดผลลัพธ์เพียงอย่างเดียว นั่นคือการสูญเสียนักบินอวกาศ
เพื่อที่จะเพิ่มความน่าเชื่อถือของบล็อก E เครื่องยนต์ 11D411 จึงมีเครื่องยนต์สำรอง 11D412 อีก 1 เครื่อง โดยเครื่องยนต์ทั้งคู่ใช้ส่วนผสมระหว่าง กับไนโตรเจน เตตรอกไซด์ เป็นเชื้อเพลิง ในระหว่างการลงจอดและการบินขึ้น เครื่องยนต์ทั้งคู่จะถูกจุด และในกรณีที่เครื่องยนต์ทั้งคู่ทำงานเท่านั้น เครื่องยนต์เครื่องหนึ่งจึงจะดับลง
ประตู Clamshell จะปิดป้องกันเครื่องยนต์หลังจากลงจอดเพื่อเป็นฉนวนและเพื่อป้องกันเครื่องยนต์ทั้งคู่จากดินบนดวงจันทร์
การทดสอบ
ยาน LK รุ่น T2K ถูกทดสอบแบบไร้คนขับในวงโคจรโลก 3 ภารกิจ ซึ่งได้แก่ Kosmos 379, Kosmos 398 และ Kosmos 434 มีการทดสอบทั้งหมด 3 ครั้ง โดย
ครั้งแรกเริ่มขึ้นเมื่อ 24 พฤศจิกายน 1970
ครั้งที่ 2 เมื่อ 26 กุมภาพันธ์ 1971
ครั้งที่ 3 เมื่อ 12 สิงหาคม 1971
ทั้ง 3 ครั้งถูกส่งขึ้นไปโดยจรวด Soyuz-L การทดสอบครั้งแรกเป็นการทดสอบการทำงานตามปกติของเครื่องยนต์ ส่วนในการทดสอบครั้งที่ 2 ถูกออกแบบให้ทดสอบการตอบสนองของยาน LK ภายใต้ความผิดปกติหลายชนิด การทดสอบทุกครั้งเป็นไปด้วยดี และได้ถูกพิจารณาว่าพร้อมสำหรับเที่ยวบินแบบมีคนขับ
22 สิงหาคม 1981 กลับสู่ชั้นบรรยากาศโลกเหนือออสเตรเลีย โดยทางออสเตรเลียกังวลว่ามันอาจจะมีการปนเปื้อนสารกัมมันตรังสี เหมือนกับ Kosmos 954 (ซึ่งบรรจุเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์เอาไว้) แต่ทางกระทรวงการต่างประเทศของโซเวียตกล่าวว่ามันเป็นเพียงชิ้นส่วนของยานลงดวงจันทร์
การยกเลิกโครงการ
ความสำเร็จของโครงการอะพอลโลในการนำนักบินอวกาศไปลงดวงจันทร์ในปี 1969 แสดงให้เห็นชัดว่าสหรัฐอเมริกาเป็นผู้ชนะในการแข่งขันไปดวงจันทร์ แต่แผนการต่างๆยังคงมีการวางแผนไปจนถึงช่วงต้นของทศวรรษที่ 1970 มีความพยายามในการปล่อยจรวด N1 ถึง 4 ครั้งด้วยกัน โดยใน 2 ครั้งหลังนั้นมีการนำยาน LK บรรทุกไปด้วย แต่การส่งทุกครั้งก็พบกับความล้มเหลว ต่อมาได้มีการวางแผนไปยังดวงจันทร์ด้วยยาน LK และ โซยุส 7K-LOK โดยเป็นภารกิจบินผ่านและลงจอดบนดวงจันทร์แบบไร้นักบินอวกาศเพื่อเป็นการปูทางไปยังการพานักบินอวกาศไปลงดวงจันทร์ ไปกับการปล่อยจรวดครั้งที่ 5 ในช่วงเดือนสิงหาคม ปี 1974 แต่โครงการก็ได้ถูกยกเลิกก่อนในเดือนพฤษภาคมของปีเดียวกัน และทางโซเวียตเองก็ได้หันไปให้ความสนใจกับสถานีอวกาศที่อยู่ในช่วงเริ่มต้นพัฒนา
อ้างอิง
- Matt Hardigree, [the Soviets' Secret Failed Moon Program/], 15-10-2010
- Anatoly Zak, http://www.russianspaceweb.com/lk.html, "LK lunar module for the L3 project", 2009
- https://space.skyrocket.de/doc_sdat/lk-t2k.htm, สืบค้นเมื่อ 20-05-2020
- [Moon Race], สืบค้นเมื่อ 19-05-2020
- [Space Programs, 1976-80: Manned space programs and space life sciences], US Government printing office, Washington, 1984, Chapter 3, Page 650
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
lingkkhamphasa inbthkhwamni miiwihphuxanaelaphurwmaekikhbthkhwamsuksaephimetimodysadwk enuxngcakwikiphiediyphasaithyyngimmibthkhwamdngklaw krann khwrribsrangepnbthkhwamodyerwthisud LK phasarsesiy LK macakkhawa Lunnyj korabl Lunniy korabl aeplwa yandwngcnthr Lunar craft 11F94 epnyanlngdwngcnthraebbmikhnkhwbkhumthithukphthnakhuninchwngthswrrsthi 1960 odyepnswnhnungkhxngokhrngkarxwkasosewiyt mnmihnathithikhlaykbyanlngdwngcnthrkhxngxemrika Apollo Lunar Module LM LKLK 3praephthpharkickarlngcxdbndwngcnthrphudaeninkarshphaphosewiytkhxmulyanxwkasyanxwkasLKchnidyanxwkasyanlngdwngcnthrphuphlitOKB 586mwlkhnasngyan5 560 thung 6 525 kiolkrmkhnad5 lukbaskemtrerimtnpharkiccrwdnasngSoyuz L thdsxbinwngokhcr N1 tamaephnkarlngdwngcnthr thansngBaikonur 31 6phudaeninnganshphaphosewiyttaaehnngplxytwthaxwkasyanbyokengxrerimpdibtingan24 phvscikayn kh s 1970sinsudpharkickarkacdephaihminchnbrryakasolkprakasemuxphvsphakhm kh s 1974lksnawngokhcrrabbwngokhcrLEO Kosmos 379 aela Kosmos 398 MEO Kosmos 434 khwamexiyng51 5 51 6 xngsa miyan LK canwnhnungthiekhythuksngkhunipyngwngokhcrolkaebbirkhnkhb aetimekhymiyan LK laidthiekhyipthungdwngcnthrenuxngmacakkarphthnaokhrngkarcrwd N1 thicaepntxkaripyngdwngcnthrphbkbkhwamlmehlw cakkarsngcrwdthilmehlwhlaytxhlaykhrng aelakarlngdwngcnthrkhrngaerkidthukphichitodynkbinxwkaskhxngxemrikaaelw cungthaihthng N1 aelaokhrngkar LK idthukykelikodyimmikarphthnatxipaephnkaredinthang N1 L3esiyreky okhorelf hwhnawiswkrcrwdaelaphuxxkaebbyanxwkaskhxngosewiytinyukhthswrrsthi 1950 aela 1960 idwangaephnthicanaaenwkhideruxngaephnkaredinthangip klbdwngcnthrcakokhrngkarxaphxlolmaich yandwngcnthr L3 prakxbipdwy yanbngkhbkar LOK Lunniy Orbitalny Korabl hrux Soyuz 7K L3 yanosyusrupaebbhnung aelayan LK odythi L3 cabrrthuknkbinxwkas 2 khniwdanbnkhxngcrwdkhbdn 3 setckhnadihy N1 nxkcakniyngmisetcthi 4 hrux blxk G thicaichsng L3 LOK aela LK xxkcakwngokhcrolkipyngdwngcnthr aelami setcthi 5 hrux blxk D thahnathichalxyanephuxekhasuwngokhcrdwngcnthr aelaichchalxyanephuxcalngcxdbndwngcnthrinkhntn wngokhcrdwngcnthr ekhruxngyntkhxng blxk D cacudekhruxngynt ephuxchalx L3 ihekhasuwngokhcrdwngcnthr hlngcaknn emuxyanekhasuwngokhcrdwngcnthraelw nkbinxwkashnungkhncathakarcak LOK ipyngyanlngdwngcnthr LK aelaekhaipkhangin txcaknncungaeyk blxk D setcthi 5 aelayan LK xxkcakyan LOK kxnthicacudekhruxngyntkhxng blxk D ephuxldradbkhwamsunglng emuxkhwamerwldlngaelaxyuinesnthangipyngbriewncudlngcxd yan LK caaeyktwxxkcakblxk D aelwplxyih blxk D tklngipchnphiwdwngcnthr aelathakarlngcxdtxipodyichekhruxngynt blxk E khxngtwyanexngephuxldkhwamerwkhrngsudthaykxnlngcxd karlngcxdbndwngcnthr inchwngaerk ophrbirkhnkhbinopraekrmsarwcdwngcnthrkhxngosewiyt idthukichephuxkahndphunthilngcxdthiehmaasm aelathukichepntwsngsyyanihkbyan LK hlngcaknnyan LK sarxngxiklacathuksngipyngcudlngcxd aelainkhntxnsudthay cungcamikarlngcxdkhxngyan LK phrxmkbnkbinxwkasxik 1 khn xyangirktam raylaexiydhruxaephnkarptibtingankhnaxyubnphunphiwdwngcnthrkyngepnthikhlumekhrux xnenuxngmacakkhnadthielkaelanahnkbrrthukthicakdkhxng N1 LK emuxethiybkb Saturn V xaphxlol nnhmaykhwamwa camikarthdlxngthangwithyasastrimmaknkthicaekidkhunbndwngcnthr odyswnmakaelw nkbinxwkascapkthngchatishphaphosewiytiwbndwngcnthr ekbtwxyangdin thayrup aelatidtngxupkrnthangwithyasastrephiyngelknxy sungthaihrayaewlapharkicthiyawnan orewxrbndwngcnthr aelakickrrmxunthiekidkhuninokhrngkarxaphxlolyukhhlngcungimmithangthicaepnipid edinthangklbsuolk hlngcak 1 wnbnphiwdwngcnthr ekhruxngyntkhxngyan LK cathukcudkhunxikkhrng odyichswnlngcxdaethnthanplxy ephuxthicaldnahnk karcudekhruxngyntcungichekhruxngyntthiichinkarlngcxdxikkhrngephuxsng yan LK klbsuwngokhcrdwngcnthr inrahwangkaredinthangkhunsuwngokhcrdwngcnthr khatnglngcxdcathukpldxxkihtkklbipyngdwngcnthr emuxthungwngokhcrcungechuxmtxyanxtonmtikbyan LOK odyrabbechuxmtxyan kontakt emuxechuxmtxyansaerc nkbinxwkascaedinxwkasklbmayngyan LOK phrxmkbtwxyanghincakdwngcnthr hlngcaknnyan LK cathukpldkarechuxmtxxxk aelaekhruxngyntkhxngyan LOK cathukcudkhunephuxedinthangklbsuolk swnechuxmtxkhxngyan LK nnprakxbipdwyokhrngrangruptakhaykhxngruthrng 96 ehliymthicderiynginkridixosemtrik aetlaxnsamarththicaepncudechuxmtxyansahrbophrbkhxngyan LOK ihsamarthechuxmtxidodyimtxngxasykhwamaemnyainkarechuxmtxmaknk enuxngcakkhxcakderuxngnahnk swnechuxmtxcungthukxxkaebbiheriybngaythisudethathicathaid dwyswnechuxmtxthiichhlkkarechingkl aelaimmiswnthiichiffahruxkhxngihlely karechuxmtxyanaelakartdkarechuxmtxcungsamarththaidephiyngxyanglakhrngethannkarxxkaebbyan LK aebngepn 2 swnkhux swnthiichlngdwngcnthr lunar landing aggregate aelaswnthiichkhuncakphiwdwngcnthr lunar ascent vehicle inswnkhxngrabbkhbekhluxn thngkarlngcxdaelakarkhuncakphiwdwngcnthrtangichrabbkhbdn blxk E swnkhxngaephngkhwbkhumnnichewxrchnthimichuxeriykwa Luch in 4 pharkicthiichyan LK nnidich T2K sungepnrunhnungkhxngyan LK sungekuxbcaehmuxnkbyan LK runmatrthanephiyngaetimmikhatnglngcxd rabb prakxbdwyrabbdngni swnkhwbkhumkhwamdnsahrbnkbinxwkas rabbkhwbkhumkarbin rabbphyungchiph rabbkhwbkhumxunhphumi rabbkhwbkhumkhwamsung swnlngcxddwngcnthr hrux LPU sungmikhatngsahrblngcxd 4 xn rabbphlngngan sungprakxbdwyaebtetxriekhmithitidxyukb LPUxupkrn prakxbdwyxupkrndngni erdahsahrblngcxd Planeta rabbkhwbkhumkarbininswnkhwbkhumkhwamdn esaxakassuxsaraebbphbekbid idaek esaxakaskalngta esaxakaskalngsung aelaesaxakasrxbthisthang aebtetxri 3 kxn swnbrrcuna 4 swn sahrbichinswncdkarkarraehy xupkrnthangwithyasastrnahnk 105 kiolkrm sungprakxbdwyaekhnklnahnk 59 kiolkrm aelaswankhudecaathimixayukarichnganpraman 60 nathiekhruxngynt blxk E rabbkhbdn blxk E thukphthnakhunthi OKB 586 inemuxngdniopreptrxfskh ephuxthukichsahrbepnekhruxngyntlngcxdaelabinkhuncakdwngcnthr blxk E epnhnunginrabbthimikhwamsakhymak imehmuxnkbkhntxnxunkhxngkaredinthangipyngdwngcnthr khwamphidphladkhxngblxk E inkhnathikalngcabinkhuncakphunphiwdwngcnthrnnkxihekidphllphthephiyngxyangediyw nnkhuxkarsuyesiynkbinxwkas ephuxthicaephimkhwamnaechuxthuxkhxngblxk E ekhruxngynt 11D411 cungmiekhruxngyntsarxng 11D412 xik 1 ekhruxng odyekhruxngyntthngkhuichswnphsmrahwang kbinotrecn ettrxkisd epnechuxephling inrahwangkarlngcxdaelakarbinkhun ekhruxngyntthngkhucathukcud aelainkrnithiekhruxngyntthngkhuthanganethann ekhruxngyntekhruxnghnungcungcadblng pratu Clamshell capidpxngknekhruxngynthlngcaklngcxdephuxepnchnwnaelaephuxpxngknekhruxngyntthngkhucakdinbndwngcnthrkarthdsxbyan LK run T2K thukthdsxbaebbirkhnkhbinwngokhcrolk 3 pharkic sungidaek Kosmos 379 Kosmos 398 aela Kosmos 434 mikarthdsxbthnghmd 3 khrng ody khrngaerkerimkhunemux 24 phvscikayn 1970 khrngthi 2 emux 26 kumphaphnth 1971 khrngthi 3 emux 12 singhakhm 1971 thng 3 khrngthuksngkhunipodycrwd Soyuz L karthdsxbkhrngaerkepnkarthdsxbkarthangantampktikhxngekhruxngynt swninkarthdsxbkhrngthi 2 thukxxkaebbihthdsxbkartxbsnxngkhxngyan LK phayitkhwamphidpktihlaychnid karthdsxbthukkhrngepnipdwydi aelaidthukphicarnawaphrxmsahrbethiywbinaebbmikhnkhb 22 singhakhm 1981 klbsuchnbrryakasolkehnuxxxsetreliy odythangxxsetreliykngwlwamnxaccamikarpnepuxnsarkmmntrngsi ehmuxnkb Kosmos 954 sungbrrcuekhruxngptikrnniwekhliyrexaiw aetthangkrathrwngkartangpraethskhxngosewiytklawwamnepnephiyngchinswnkhxngyanlngdwngcnthrkarykelikokhrngkarkhwamsaerckhxngokhrngkarxaphxlolinkarnankbinxwkasiplngdwngcnthrinpi 1969 aesdngihehnchdwashrthxemrikaepnphuchnainkaraekhngkhnipdwngcnthr aetaephnkartangyngkhngmikarwangaephnipcnthungchwngtnkhxngthswrrsthi 1970 mikhwamphyayaminkarplxycrwd N1 thung 4 khrngdwykn odyin 2 khrnghlngnnmikarnayan LK brrthukipdwy aetkarsngthukkhrngkphbkbkhwamlmehlw txmaidmikarwangaephnipyngdwngcnthrdwyyan LK aela osyus 7K LOK odyepnpharkicbinphanaelalngcxdbndwngcnthraebbirnkbinxwkasephuxepnkarputhangipyngkarphankbinxwkasiplngdwngcnthr ipkbkarplxycrwdkhrngthi 5 inchwngeduxnsinghakhm pi 1974 aetokhrngkarkidthukykelikkxnineduxnphvsphakhmkhxngpiediywkn aelathangosewiytexngkidhnipihkhwamsnickbsthanixwkasthixyuinchwngerimtnphthnaxangxingMatt Hardigree the Soviets Secret Failed Moon Program 15 10 2010 Anatoly Zak http www russianspaceweb com lk html LK lunar module for the L3 project 2009 https space skyrocket de doc sdat lk t2k htm subkhnemux 20 05 2020 Moon Race subkhnemux 19 05 2020 Space Programs 1976 80 Manned space programs and space life sciences US Government printing office Washington 1984 Chapter 3 Page 650