ในสาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ เราจะกล่าวว่าปัญหาใด ๆ มี โครงสร้างย่อยที่เหมาะที่สุด (อังกฤษ: optimal substructure) ก็ต่อเมื่อปัญหานั้นสามารถหาคำตอบที่เหมาะสมที่สุดอย่างมีประสิทธิภาพ ได้จากคำตอบที่เหมาะสมที่สุดของปัญหาย่อยของมัน คุณสมบัตินี้มีความจำเป็นอย่างยิ่งในการแก้ปัญหาด้วยกำหนดการพลวัตและขั้นตอนวิธีแบบละโมบอย่างมีประสิทธิภาพ
ขั้นตอนวิธีแบบละโมบสามารถใช้แก้ปัญหาที่มี โครงสร้างย่อยที่เหมาะที่สุด ได้ถ้าหากสามารถพิสูจน์โดยการอุปนัยเชิงคณิตศาสตร์ว่าแต่ละขั้นตอนในการแก้ปัญหานั้นจะสร้างคำตอบที่เหมาะที่สุด หากไม่เช่นนั้นปัญหานี้จะกล่าวได้ว่าเป็นปัญหาที่มีและสามารถหาผลเฉลยได้ด้วยกำหนดการพลวัต
ตัวอย่าง
พิจารณาการหาเส้นทางสั้นที่สุด ในการเดินทางด้วยรถยนต์จากเมืองหนึ่งไปยังเมืองหนึ่ง ดังที่ได้แสดงในภาพที่ 1 ซึ่งเป็นปัญหาที่ที่มี โครงสร้างย่อยที่เหมาะที่สุด ถ้าหากเส้นทางสั้นที่สุดในการเดินทางจาก กรุงเทพมหานาครไปอุบลราชธานี ต้องผ่านนครราชสีมาและต่อไปยังขอนแก่น ดังนั้นเส้นทางที่สั้นที่สุดจาก นครราชสีมาไปยังอุบลราชธานี ก็ต้องผ่านจังหวัดขอนแก่นด้วยเช่นกัน จะเห็นว่าปัญหาในการเดินทางจาก นครราชสีมาไปยังอุบลราชธานี ก็จะเป็นปัญหาย่อยอยู่ในการเดินทาง จากกรุงเทพฯ ไปยังอุบลราชธานี (ดังเช่นเส้นคลื่นในภาพซึ่งหมายถึงปัญหาย่อยซึ่งเป็นเส้นทางสั้นที่สุด)
ปัญหาที่มีโครงสร้างย่อยที่เหมาะที่สุด
ปัญหาที่ไม่มีโครงสร้างย่อยที่เหมาะที่สุด
อ้างอิง
- Introduction to Algorithms, 2nd ed., (Cormen, Leiserson, Rivest, and Stein) 2001, p. 327. .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
insakhawithyakarkhxmphiwetxr eracaklawwapyhaid mi okhrngsrangyxythiehmaathisud xngkvs optimal substructure ktxemuxpyhannsamarthhakhatxbthiehmaasmthisudxyangmiprasiththiphaph idcakkhatxbthiehmaasmthisudkhxngpyhayxykhxngmn khunsmbtinimikhwamcaepnxyangyinginkaraekpyhadwykahndkarphlwtaelakhntxnwithiaebblaombxyangmiprasiththiphaphphaphthi 1 karhaesnthangsnthisudodyxasykaraek okhrngsrangyxythiehmaathisud twelkhhmaythungkhwamyawkhxngesnechuxm esntrnghmaythungesnechuxmesnediyw esnkhlunhmaythungrayathangsnthisud khntxnwithiaebblaombsamarthichaekpyhathimi okhrngsrangyxythiehmaathisud idthahaksamarthphisucnodykarxupnyechingkhnitsastrwaaetlakhntxninkaraekpyhanncasrangkhatxbthiehmaathisud hakimechnnnpyhanicaklawidwaepnpyhathimiaelasamarthhaphlechlyiddwykahndkarphlwttwxyangphicarnakarhaesnthangsnthisud inkaredinthangdwyrthyntcakemuxnghnungipyngemuxnghnung dngthiidaesdnginphaphthi 1 sungepnpyhathithimi okhrngsrangyxythiehmaathisud thahakesnthangsnthisudinkaredinthangcak krungethphmhanakhripxublrachthani txngphannkhrrachsimaaelatxipyngkhxnaekn dngnnesnthangthisnthisudcak nkhrrachsimaipyngxublrachthani ktxngphancnghwdkhxnaekndwyechnkn caehnwapyhainkaredinthangcak nkhrrachsimaipyngxublrachthani kcaepnpyhayxyxyuinkaredinthang cakkrungethph ipyngxublrachthani dngechnesnkhluninphaphsunghmaythungpyhayxysungepnesnthangsnthisud pyhathimiokhrngsrangyxythiehmaathisudpyhathiimmiokhrngsrangyxythiehmaathisudpyhawithiyawsudxangxingIntroduction to Algorithms 2nd ed Cormen Leiserson Rivest and Stein 2001 p 327 ISBN 0 262 03293 7