ไฮน์ริช ฮาเรอร์ (เยอรมัน: Heinrich Harrer) ชาวออสเตรียที่ถูกจับเป็นเชลยในสงครามโลกครั้งที่สอง แล้วหนีออกจากค่ายในประเทศอินเดียเข้าไปทิเบตเป็นเวลา 7 ปี และได้ช่วยเป็นครูสอนองค์ทะไลลามะเกี่ยวกับเรื่องราวของโลกภายนอก เมื่อประเทศจีนเข้ายึดทิเบตเขาจึงกลับบ้านเกิด เรื่องราวของเขาถูกเขียนเป็นหนังสือ Seven Years in Tibet และถ่ายทอดเป็นภาพยนตร์ด้วยเช่นกันในชื่อ 7 ปี โลกไม่มีวันลืม ซึ่งได้แบรด พิตต์ มารับบทเป็นตัวเขาในเรื่อง
ประวัติ
ไฮน์ริช ฮาเรอร์ เกิดเมื่อ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2455 ในประเทศเยอรมนี เขาเรียนด้านภูมิศาสตร์ที่มหาวิทยาลัยคาร์ล ฟรันทซ์ (Karl-Franzens University) ที่กราซ และต่อมาเมื่อนาซีเยอรมนีขยายอำนาจเข้าสู่ออสเตรีย เขาได้ร่วมเป็นสมาชิกชตวร์มอัพไทลุง และไปปฏิบัติการที่ประเทศปากีสถาน และถูกจับโดยทหารอังกฤษนำไปคุมขังที่ค่ายในประเทศอินเดีย
วันที่ 10 พฤษภาคม พ.ศ. 2487 เขาหลบหนีออกจากค่ายและลัดเลาะไปตามแนวเทือกเขาหิมาลัยจนไปถึงทิเบต
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
ihnrich haerxr eyxrmn Heinrich Harrer chawxxsetriythithukcbepnechlyinsngkhramolkkhrngthisxng aelwhnixxkcakkhayinpraethsxinediyekhaipthiebtepnewla 7 pi aelaidchwyepnkhrusxnxngkhthaillamaekiywkberuxngrawkhxngolkphaynxk emuxpraethscinekhayudthiebtekhacungklbbanekid eruxngrawkhxngekhathukekhiynepnhnngsux Seven Years in Tibet aelathaythxdepnphaphyntrdwyechnkninchux 7 pi olkimmiwnlum sungidaebrd phitt marbbthepntwekhaineruxngihnrich haerxrprawtiihnrich haerxr ekidemux 6 krkdakhm ph s 2455 inpraethseyxrmni ekhaeriyndanphumisastrthimhawithyalykharl frnths Karl Franzens University thikras aelatxmaemuxnasieyxrmnikhyayxanacekhasuxxsetriy ekhaidrwmepnsmachikchtwrmxphithlung aelaipptibtikarthipraethspakisthan aelathukcbodythharxngkvsnaipkhumkhngthikhayinpraethsxinediy wnthi 10 phvsphakhm ph s 2487 ekhahlbhnixxkcakkhayaelaldelaaiptamaenwethuxkekhahimalycnipthungthiebt bthkhwamchiwprawtiniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk