วัสดุศาสตร์ (อังกฤษ: materials science) เป็นศาสตร์ที่ศึกษาคุณสมบัติต่าง ๆ ของวัสดุและกระบวนการที่เกี่ยวข้อง ซึ่งอาศัยความรู้จากหลายสาขาวิชา เช่น ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา และธรณีวิทยา โดยมุ่งความสนใจไปที่คุณสมบัติต่าง ๆ ของวัสดุในสภาวะที่เป็นของแข็งอันได้แก่ โครงสร้าง ระดับอะตอมหรือโมเลกุลของวัสดุ คุณสมบัติทางอิเล็กทรอนิกส์ การนำความร้อน คุณสมบัติทางเคมี คุณสมบัติที่ยอมให้แสงผ่าน หรือการผสมผสานกันของบางคุณสมบัติตามที่กล่าวมานี้ คุณสมบัติของวัสดุที่สังเกตง่ายและชัดเจนจะแสดงออกมาในรูปของคุณสมบัติทางเคมีและฟิสิกส์ ส่วนความแตกต่างในระดับโครงสร้างโมเลกุลและอะตอมจะต้องใช้เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ที่ซับซ้อนในการตรวจสอบ สำหรับการประเมินสมรรถนะของวัสดุจะเป็นพื้นฐานของงานวิศวกรรมที่จะนำวัสดุนั้น ๆ ไปใช้งาน ส่วนวิชาว่าด้วยวัสดุศาสตร์จะเกี่ยวข้องกับกระบวนการความรู้ทางเทคโนโลยีของวัสดุสี่ส่วนซึ่งแต่ละส่วนจะเกี่ยวข้องเชื่อมโยงซึ่งกันและกันเป็นรูปสี่มุมสี่ด้าน (Tetrahedron) การนำวิชาการทางด้านวัสดุศาสตร์ไปใช้งานทางด้านวิศวกรรมอย่างกว้างขวางทำให้เกิดนิยามของวิชาการสาขานี้ใหม่เป็น"วัสดุศาสตร์และวิศวกรรม" วัสดุที่คิดค้นและประดิษฐ์ขึ้นใหม่ทำให้เกิดผลิตภัญฑ์ใหม่หรือไม่ก็เกิดอุตสาหกรรมใหม่ อุตสาหกรรมเหล่านี้จำเป็นต้องมีนักวิทยาศาสตร์หรือวิศวกรสาขาวัสดุศาสตร์คอยดูแลแก้ไขปัญหาและวิจัยวัสดุใหม่ ๆ อย่างต่อเนื่อง ในอุตสาหกรรมนักวัสดุศาสตร์จะมีบทบาทในส่วนของ (materials design) การประเมินค่าใช้จ่ายในการผลิตวัสดุนั้น ๆ ดูแลกระบวนการทางเทคนิคซึ่งประกอบด้วย , , การเชื่อม, , , (thin-film deposition) , เป็นต้น และเทคนิคการวิเคราะห์โดยใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน, การเอกซเรย์ เป็นต้น
ประเภทของวัสดุ
วัสดุศาสตร์สามารถแบ่งออกได้เป็นสาขาวิชาตามประเภทของวัสดุได้ดังนี้:
สาขาย่อยของวัสดุศาสตร์
- นาโนเทคโนโลยี --- วิทยาการที่ว่าด้วยการศึกษาและการสังเคราะห์วัสดุในระดับอะตอมหรือโมเลกุล (วัสดุนาโน) ซึ่งมีขนาดเล็กมากโดยจะวัดขนาดของโครงสร้างอะตอมและโมเลกุลเป็นนาโนเมตร (1 นาโนเมตร = 0.0000000001 เมตร) ดูรายละเอียดเพิ่มเติมที่ (หน่วยเอสไอ)
- ผลิกศาสตร์ --- การศึกษาคุณสมบัติทางฟิสิกส์ของผลึกซึ่งประกอบด้วย
- , เช่นความผิดปกติของเม็ดผลึกทำให้คุณสมบัติทางฟิสิกส์เปลี่ยนแปลงไป
- เทคนิค เช่น , ซึ่งใช้สำหรับ พิสูจน์เอกลักษณ์
- --- การศึกษาเกี่ยวกับโลหะ
- เซรามิก, สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 ส่วน ดังนี้
- เซรมิกอิเลคโทนิค เช่น เซมิคอนดักเตอร์ และ
- เซรมิกโครงสร้าง เช่น , โพลี่คริสตัลลีน ซิลิคอนคาร์ไบด์ และ
- วัสดุชีวภาพ --- วัสดุที่สามารถใช้ในร่างกายมนุษย์ได้
- --- การศึกษาหน้าสัมผัสของวัสดุที่เกี่ยวกับความเสียดทานและปัจจัยอื่น ๆ
- วิชาว่าด้วยการไหลของวัสดุ เช่น , และ
ดูเพิ่ม
- วิศวกรรมวัสดุ - ศึกษาเกี่ยวกับการออกแบบวัสดุ เพื่อการใช้งานในอุตสาหกรรม
อ้างอิง
- Ashby, Michael; Hugh Shercliff and David Cebon (2007). Materials: engineering, science, processing and design (1st ed.). Butterworth-Heinemann. .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
wsdusastr xngkvs materials science epnsastrthisuksakhunsmbtitang khxngwsduaelakrabwnkarthiekiywkhxng sungxasykhwamrucakhlaysakhawicha echn fisiks ekhmi chiwwithya aelathrniwithya odymungkhwamsnicipthikhunsmbtitang khxngwsduinsphawathiepnkhxngaekhngxnidaek okhrngsrang radbxatxmhruxomelkulkhxngwsdu khunsmbtithangxielkthrxniks karnakhwamrxn khunsmbtithangekhmi khunsmbtithiyxmihaesngphan hruxkarphsmphsanknkhxngbangkhunsmbtitamthiklawmani khunsmbtikhxngwsduthisngektngayaelachdecncaaesdngxxkmainrupkhxngkhunsmbtithangekhmiaelafisiks swnkhwamaetktanginradbokhrngsrangomelkulaelaxatxmcatxngichekhruxngmuxthangwithyasastrthisbsxninkartrwcsxb sahrbkarpraeminsmrrthnakhxngwsducaepnphunthankhxngnganwiswkrrmthicanawsdunn ipichngan swnwichawadwywsdusastrcaekiywkhxngkbkrabwnkarkhwamruthangethkhonolyikhxngwsdusiswnsungaetlaswncaekiywkhxngechuxmoyngsungknaelaknepnrupsimumsidan Tetrahedron karnawichakarthangdanwsdusastripichnganthangdanwiswkrrmxyangkwangkhwangthaihekidniyamkhxngwichakarsakhaniihmepn wsdusastraelawiswkrrm wsduthikhidkhnaelapradisthkhunihmthaihekidphlitphythihmhruximkekidxutsahkrrmihm xutsahkrrmehlanicaepntxngminkwithyasastrhruxwiswkrsakhawsdusastrkhxyduaelaekikhpyhaaelawicywsduihm xyangtxenuxng inxutsahkrrmnkwsdusastrcamibthbathinswnkhxng materials design karpraeminkhaichcayinkarphlitwsdunn duaelkrabwnkarthangethkhnikhsungprakxbdwy karechuxm thin film deposition epntn aelaethkhnikhkarwiekhraahodyichklxngculthrrsnxielktrxn karexksery epntnesramikaebringpraephthkhxngwsduwsdusastrsamarthaebngxxkidepnsakhawichatampraephthkhxngwsduiddngni olha wsduphsm sarkungtwna esramik phxliemxr wsduchiwphaph wsduechingkawhna wsduchladsakhayxykhxngwsdusastrnaonethkhonolyi withyakarthiwadwykarsuksaaelakarsngekhraahwsduinradbxatxmhruxomelkul wsdunaon sungmikhnadelkmakodycawdkhnadkhxngokhrngsrangxatxmaelaomelkulepnnaonemtr 1 naonemtr 0 0000000001 emtr duraylaexiydephimetimthi hnwyexsix phliksastr karsuksakhunsmbtithangfisikskhxngphluksungprakxbdwy echnkhwamphidpktikhxngemdphlukthaihkhunsmbtithangfisiksepliynaeplngip ethkhnikh echn sungichsahrb phisucnexklksn karsuksaekiywkbolha esramik samarthaebngxxkidepn 2 swn dngni esrmikxielkhothnikh echn esmikhxndketxr aela esrmikokhrngsrang echn ophlikhristllin silikhxnkharibd aela wsduchiwphaph wsduthisamarthichinrangkaymnusyid karsuksahnasmphskhxngwsduthiekiywkbkhwamesiydthanaelapccyxun wichawadwykarihlkhxngwsdu echn aeladuephimwiswkrrmwsdu suksaekiywkbkarxxkaebbwsdu ephuxkarichnganinxutsahkrrmxangxingAshby Michael Hugh Shercliff and David Cebon 2007 Materials engineering science processing and design 1st ed Butterworth Heinemann ISBN 978 0 7506 8391 3