บทความนี้ทั้งหมดหรือบางส่วน มีเนื้อหา รูปแบบ หรือลักษณะการนำเสนอที่ |
ตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูง (อังกฤษ: High-temperature superconductors; คำย่อ Tc-สูง หรือ HTS) เป็นวัสดุที่ทำตัวเป็นตัวนำยวดยิ่งที่อุณหภูมิสูงกว่า 35 เคลวิน ตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูงได้ถูกค้นพบครั้งแรกโดย และ ที่ ห้องปฏิบัติการ IBM ที่เมืองซูริคในปี 1986 โดยได้ตีพิมพ์เป็นผลงานชื่อว่า “ Possible High Superconductivity in System” และในปีถัดมาคือ 1987 พวกเขาได้รับรางวัลโนเบลจากการค้นพบครั้งนี้ ซึ่งถือได้ว่าเป็นรางวัลโนเบลที่มีช่วงเวลาการค้นพบถึงเวลาการประกาศได้รับ รางวัลที่สั้นที่สุด ทำให้รู้ว่าตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมินั้นมีความสำคัญ จึงทำให้มีการศึกษาและค้นคว้าอย่างรวดเร็ว การค้นพบตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิแสดงถึงความสำคัญของการค้นพบ โดยได้มีคำอธิบายของการค้นพบตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูงนี้ว่า "for their important break-through in the discovery of superconductivity in ceramic materials"
ในขณะที่ตัวนำยวดยิ่ง "ธรรมดา" หรือโลหะมักจะมีอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง (อุณหภูมิต่ำกว่า) ประมาณ 30 K (-243.2 ° C) ซึ่งจำเป็นต้องให้ความเย็นด้วย แต่ตัวนำยวดยิ่ง HTS นั้นจะถูกสังเกตเห็นได้ที่อุณหภูมิเปลี่ยนแปลงสูงที่สุดที่ 138 K (-135 ° C) ทำให้ไม่จำเป็นต้องใช้ฮีเลียมเหลวในการให้ความเย็นอีกต่อไป ใช้เพียงก็เพียงพอที่จะทำให้สารแสดงคุณสมบัติการเป็นตัวนำยวดยิ่ง และหลังจากการค้นพบตัวนำยวดยิ่งที่มีอุณหภูมิวิกฤตสูงกว่าจุดเดือดของไนโตรเจน เหลวได้แล้ว ต่อมาก็ได้มีพัฒนาการในด้านต่างๆอย่างชัดเจนมากขึ้นอีก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการทดลอง ซึ่งได้มีการพัฒนาจนก้าวหน้าล้ำการศึกษาค้นคว้าในด้านทฤษฎีอย่างเทียบกันไม่ได้ กล่าวคือตัวนำตัวยวดยิ่งอุณหภูมิสูง (HTS) ที่เตรียมนั้นได้มีสมบัติหลายประการที่ไม่สามารถใช้ทฤษฎี BCS อธิบายได้ และจนถึงปัจจุบันก็ยังไม่มีทฤษฎีใดที่จะสามารถอธิบายตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูงได้อย่างครอบคลุมและชัดเจนได้เลย
การ ค้นพบตัวนำยวดยิ่ง ที่มีอุณหภูมิวิกฤตสูงกว่าจุดเดือดของไนโตรเจนเหลว นำมาซึ่งการตื่นตกใจครั้งใหญ่ในวงการฟิสิกส์เป็นอย่างมาก เพราะยังไม่มีใครที่สามารถค้นพบและระบุได้ชัดเจนมาก่อน และเนื่องจากตัวนำยวดยวดยิ่งเป็นสารที่มีความต้านทานไฟฟ้าเป็นศูนย์ที่อุณหภูมิ ต่ำกว่าอุณหภูมิวิกฤต และไนโตรเจนเหลวเป็นสารหล่อเย็นที่มีราคาถูก โดย ไนโตรเจนเหลวจะมีราคาประมาณ 1,000 บาทต่อ 100 ลิตร คิดแล้วก็ประมาณลิตรละ 10 บาท ส่วนน้ำดื่มที่ขายเป็นขวดๆละ 1 ลิตรราคาก็เกือบ 10 บาท ดั้งนั้นอาจกล่าวได้ว่าสำหรับประเทศไทยไนโตรเจนเหลว มีราคาถูกพอๆกับน้ำเปล่า และเมื่อมีการใช้งานมากขึ้นราคาก็จะถูกลงได้อีก ดังนั้นจะมีความเป็นไปได้สูงมาก ที่จะใช้ตัวนำยวดยิ่งทำสายไฟในอุปกรณ์ไฟฟ้าและจะไม่มีการสูญเสียพลังงานให้ กับความต้านทานทำให้ได้เครื่องใช้ที่มีประสิทธิภาพสูง แต่จะมีการสูญเสียพลังงานและค่าใช้จ่ายให้กับไนโตรเจนเหลวแทน และเนื่องจากตัวนำยวดยิ่งยังมีสมบัติอื่นอีก เช่น การลอยตัวนิ่งเหนือแท่งแม่เหล็ก ซึ่งมีการนำไปประยุกต์ทำรถไฟฟ้าได้แล้ว ทำให้ตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูงเป็นสารที่ได้รับความสนใจมากๆ
ตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูง
นักวิทยาศาสตร์ได้ใช้ความพยายามในการสังเคราะห์ตัวนำยวดยิ่งให้มี Tcสูงมากขึ้น โดยใช้เวลาถึง 75 ปี คือตั้งแต่ปี 1911 ถึง 1986 จึงจะค้นพบตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูง (High-Tc Superconductors) ที่ถูกค้นพบครั้งแรกในปี 1986 โดย และ (1986) โดยสารประกอบ Ba-La-Cu-O ซึ่งต่อมามีการค้นพบในสารประกอบ Y BaCuO และสารประกอบอีกหลายกลุ่มโดยมีองค์ประกอบ สำคัญคือ Cu O2 และมีลักษณะเด่นอีกอย่างหนึ่งคือตัวนำยวดยิ่งชนิดนี้จะมีอุณหภูมิวิกฤติที่ สูงมากกว่า 35 K ซึ่งเกินขอบเขตของตัวนำยวดยิ่งแบบดั้งเดิมตามทฤษฎี BCS ดังนั้นตัวนำยวดยิ่งชนิดนี้จึงถูกเรียกว่าตัวนำยวดยิ่งอุณภูมิสูง และเนื่องจากมี Cu O2 เป็นองค์ประกอบหลักที่สำคัญของสภาพนำยวดยิ่ง ดังนั้นในบางครั้งจึงถูกเรียกว่า Cuprate superconductors ปัจจุบันตัวนำยวดยิ่งอุณภูมิสูงกำลังเป็นที่สนใจศึกษาของนักวิจัยทั่วโลก เนื่องจากมีสมบัติที่สามารถนำมาประยุกต์ใช้งานได้ง่ายกว่าตัวนำยวดยิ่งชนิด อื่นๆ อย่างไรก็ตามตัวนำยวดยิ่งชนิดนี้ยังสมบัติหลายประการที่ไม่มีทฤษฎีใดสามารถ อธิบายได้
1. ตัวนำยวดยิ่งแบบคิวเพร์ท ตัวนำยวดยิ่งแบบคิวเพร์ทเป็นตัวนำยวดยิ่งที่มีโครงสร้างหลักประกอบด้วยระนาบของคอปเปอร์ออกไซด์วางตัวมีลักษณะเป็นชั้นๆ ในระหว่างฉันมีอะตอมของโลหะชนิดอื่นคั่นอยู่ โดยอะตอมนี้จะทำหน้าที่เป็นฉนวน การนำไฟฟ้าเกิดขึ้นในระนาบของคอปเปอร์ออกไซด์โดยมีอิเล็กตรอนของอะตอมคอปเปอร์เป็นตัวการสำคัญที่ทำให้เกิดสภาพยวดยิ่ง การลดอุณหภูมิจะทำให้โครงสร้างของผลึกเปลี่ยนไป ระนาบคอปเปอร์ออกไซด์ที่มีในโมเลกุลจึงมีความสัมพันธ์โดยตรงกับสภาพนำยวดยิ่ง กล่าวได้ว่าการนำไฟฟ้าของอิเล็กตรอนในตัวนำยวดยิ่งเป็นแบบ 2 มิติ ในปัจจุบันพบว่าภายใต้ความดัน ตัวนำยวดยิ่งในสารประกอบปรอท-แบเรียม-แคลเซียม-คิวเพร์ท สามารถมีอุณหภูมิวิกฤตได้สูงสุด 164 เคลวิน แต่อย่างไรก็ตามตัวนำยวดยิ่ง Y-Ba-Cu-O ยังคงเป็นตัวนำยวดยิ่งที่โดดเด่นและรู้จักอย่างกว้างขวางในสารกลุ่มนี้
2. ตัวนำยวดยิ่งแมกนีเซียมไดโไรด์ ในปี 2001 นากามัตซึและอะคิมิซึ (Nagamatsu et al., 2001) ค้นพบตัวนำยวดยิ่งตัวใหม่คือ แมกนีเซียมไดโไรด์ (MgB2) ที่มีโครงสร้างผลึกและองค์ประกอบที่แตกต่างจากตัวนำยวดยิ่งแบบดั้งเดิมแต่มีอุณหภูมิวิกฤตสูงถึง 39 เคลวิน ซึ่งสูงกว่าขอบเขต ซึ่งสูงกว่าขอบเขตซึ่งสูงกว่าขอบเขตที่อธิบายได้ดีด้วยทฤษฎี BCS และตัวนำยวดยิ่งชนิดนี้มีโครงสร้างที่ง่ายๆแบบสารประกอบไบนารี คือ AlB2 มีปริภูมิของระบบผลึกเป็น P6/mmm โดยอะตอมของโบรอนแต่ละตัวจะจับอะตอมของโบรอนข้างเคียงอีก 2 ตัวและเรียงตัวกันในลักษณะเดียวกับแกรไฟต์คือเป็นหกเหลี่ยมด้านเท่า ที่บริเวณบนและล่างระนาบของโบรอนทั้ง 6 ตัวที่จับตัวเป็นพันธะหกเหลี่ยมด้านเท่า โดยมีอะตอมของแมกนีเซียม 6 อะตอมเรียงตัวแบบเฮ็กซะโกนอล โคลสแพ็ก (hexagonal-close-packed) เรียงซ้อนกันตามแกน c และมีระยะห่างระหว่างระนาบโบรอนมากกว่าระยะระหว่างโบรอนในระนาบ แสดงว่าแมกนีเซียมไดโบไรด์มีโครงสร้างแบบขึ้นกับทิศทาง (anisotropy) และเชื่อว่าการมีโครงสร้างแบบชั้นๆ ของสารประกอบชนิดนี้อาจมีผลกระทบที่สำคัญต่อสมบัติต่างๆ ในสภาพนำยวดยิ่งเช่นเดียวกับตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูง อย่างไรก็ตาม เนื่องจากมีโครงสร้างที่ไม่ซับซ้อน จึงสามารถเตรียมสารได้ง่าย รวมทั้งสามารถนำไปขึ้นรูปทำตัวนำได้ง่ายและสะดวกกว่าตัวนำยวดยิ่งกลุ่มคอปเปอร์ออกไซด์ จึงเป็นที่สนใจของนักวิทยาศาสตร์ทั่วโลก
3. ตัวนำยวดยิ่งชนิดมีเหล็กเป็นองค์ประกอบ ตัวนำยวดยิ่งที่มีการค้นพบล่าสุดคือ ตัวนำยวดยิ่งที่มีเหล็กเป็นองค์ประกอบ ที่มีความน่าสนใจไม่น้อยกว่าตัวนำยวดยิ่งแมกนีเซียมไดโไรด์ ถูกพบในปี 2008 โดยฮิเดโกะ โอโซโนะและทีมวิจัยจากสถาบันโตเกียว โดยได้ทำการวัดสมบัติทางไฟฟ้าของสารที่เตรียมขึ้น แล้วพบว่าสารประกอบ LaFePo และ LaFeAsO ที่เจือฟลูออรีนสามารถแสดงสมบัติการเป็นตัวนำยวดยิ่งได้โดยมีอุณหภูมิวิกฤตที่ 4 เคลวิน และ 26 เคลวินตามลำดับ สมบัติประการหนึ่งที่สำคัญซึ่งทำให้ตัวนำยวดยิ่งชนิดนี้มีความน่าสนใจคือ ตัวนำยวดยิ่งชนิดนี้มีค่า ที่สูงมากซึ่งส่งผลให้ค่ากระแสไฟฟ้าวิกฤต (Critical current) มีค่าสูงมากตามไปด้วยทำให้มีการประยุกต์ใช้งานได้กว้างขวางมากขึ้น
ความแตกต่างระหว่างตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูงกับตัวนำยวดยิ่งแบบดั้งเดิม ตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูง นอกจากจะมีอุณหภูมิวิกฤตที่สูงกว่าตัวนำยวดยิ่งแบบดั้งเดิมแล้ว ยังมีสมบัติอื่นๆที่แตกต่าง ดังนี้
1. โครงสร้างของตัวนำยวดยิ่งในการนำไฟฟ้า ตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูงจะมีลักษณะขึ้นกับทิศทาง ซึ่งมีโครงสร้างของอะตอมในผลึกเป็นชั้นๆ และการนำไฟฟ้าในแนวตั้งฉากกับแกนหลักของผลึกแทบจะไม่มี ทำให้ตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูงมีโครงสร้างการนำไฟฟ้าเกือบเป็น 2 มิติ แต่ตัวนำยวดยิ่งแบบดั้งเดิมเป็นตัวนำยวดยิ่งที่มีลักษณะไม่ขึ้นกับทิศทางโครงสร้างการนำไฟฟ้ามีเพียงทิศทางเดียว
2. ความยาวอาพันธ์ ตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูงมีความยาวอาพันธ์ประมาณ 10-40 อังสตรอม แต่ตัวนำยวดยิ่งแบบดั้งเดิมจะมีค่าประมาณ 10,000 อังสตรอม ซึ่งมากกว่าตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูงประมาณ 1,000 เท่า
3. ความหนาแน่นของประจุ ตัวนำยวดยิ่งแบบดั้งเดิม เมื่ออุณหภูมิวิกฤตสูงขึ้น ความหนาแน่นของประจุจะเพิ่มขึ้นด้วย แต่ตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูง ความหนาแน่นของประจุมีรูปแบบที่ไม่ชัดเจน ซึ่งตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูงบางชนิดที่มีอุณหภูมิวิกฤตสูง แต่ความหนาแน่นของประจุลดลง
4. ค่าช่องว่างพลังงานของตัวนำยวดยิ่ง ตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูงจะมีค่าช่องว่างพลังงานสูงกว่าตัวนำยวดยิ่งแบบดั้งเดิม ทำได้โดยอาศัยการวัดหลายรูปแบบ เช่น การทะลุผ่าน(Tunneling) การแผ่รังสีอินฟราเรด(Infrared radiation) เป็นต้น
5. ค่าสัมประสิทธิ์ของไอโซโทป ตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูงมีค่าสัมประสิทธิ์ของไอโซโทปไม่แน่นอน บางชนิดจะมีค่าน้อยกว่า หรือ บางชนิดอาจมีค่ามากกว่าตัวนำยวดยิ่งแบบดั้งเดิม
6. ความเข้มข้นของสารเจือ ตัวนำยวดยิ่งอุณหภูมิสูง อุณหภูมิวิกฤตจะขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของสารเจือแบบไม่เป็นแม่เหล็ก แต่ตัวนำยวดยิ่งแบบดั้งเดิม อุณหภูมิวิกฤตจะขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของสารเจือแบบแม่เหล็ก
อ้างอิง
- Timmer, John (May 2011). "25 years on, the search for higher-temp superconductors continues". Ars Technica. สืบค้นเมื่อ 2 March 2012.
- Bednorz, J. G.; Müller, K. A. (1986). "Possible high TC superconductivity in the Ba-La-Cu-O system". . 64 (2): 189–193. Bibcode:1986ZPhyB..64..189B. doi:10.1007/BF01303701.
- Ford, P. J. (2005). The Rise of the Superconductors. CRC Press.
- The Nobel Prize in Physics 1987: J. Georg Bednorz, K. Alex Müller. Nobelprize.org. Retrieved 2012-04-19.
- Nagamatsu, J. et al.2001. Nature(London) 401:63-64
- พงษ์แก้ว อุดมสมุทรหิรัญ. (2559). ตัวนำยวดยิ่งพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
- ฺBurn, G. 1992. High-temperature Superconductivity: Introduction. New York : Academic Press.
พงษ์แก้ว อุดมสมุทรหิรัญ. (2559). ตัวนำยวดยิ่งพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Nagamatsu, J. et al.2001. Nature(London) 401:63-64
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamnithnghmdhruxbangswn mienuxha rupaebb hruxlksnakarnaesnxthiimehmaasmsahrbsaranukrmoprdxphipraypyhadngklawinhnaxphipray hakbthkhwamniekhaknidkbokhrngkarphinxng oprdthakaraecngyayaethn eriynruwacanasaraemaebbnixxkidxyangiraelaemuxir twnaywdyingxunhphumisung xngkvs High temperature superconductors khayx Tc sung hrux HTS epnwsduthithatwepntwnaywdyingthixunhphumisungkwa 35 ekhlwin twnaywdyingxunhphumisungidthukkhnphbkhrngaerkody aela thi hxngptibtikar IBM thiemuxngsurikhinpi 1986 odyidtiphimphepnphlnganchuxwa Possible High Superconductivity in System aelainpithdmakhux 1987 phwkekhaidrbrangwloneblcakkarkhnphbkhrngni sungthuxidwaepnrangwloneblthimichwngewlakarkhnphbthungewlakarprakasidrb rangwlthisnthisud thaihruwatwnaywdyingxunhphuminnmikhwamsakhy cungthaihmikarsuksaaelakhnkhwaxyangrwderw karkhnphbtwnaywdyingxunhphumiaesdngthungkhwamsakhykhxngkarkhnphb odyidmikhaxthibaykhxngkarkhnphbtwnaywdyingxunhphumisungniwa for their important break through in the discovery of superconductivity in ceramic materials twxyang elk khxngtwnaywdyingxunhphumisungkhxngsarprakxbxxkisdkhxng bismth sthrxnethiym aekhlesiym khxpepxr strontium calcium copper oxide 2223 inkhnathitwnaywdying thrrmda hruxolhamkcamixunhphumithiepliynaeplng xunhphumitakwa praman 30 K 243 2 C sungcaepntxngihkhwameyndwy aettwnaywdying HTS nncathuksngektehnidthixunhphumiepliynaeplngsungthisudthi 138 K 135 C thaihimcaepntxngichhieliymehlwinkarihkhwameynxiktxip ichephiyngkephiyngphxthicathaihsaraesdngkhunsmbtikarepntwnaywdying aelahlngcakkarkhnphbtwnaywdyingthimixunhphumiwikvtsungkwacudeduxdkhxnginotrecn ehlwidaelw txmakidmiphthnakarindantangxyangchdecnmakkhunxik odyechphaaxyangyingindankarthdlxng sungidmikarphthnacnkawhnalakarsuksakhnkhwaindanthvsdixyangethiybknimid klawkhuxtwnatwywdyingxunhphumisung HTS thietriymnnidmismbtihlayprakarthiimsamarthichthvsdi BCS xthibayid aelacnthungpccubnkyngimmithvsdiidthicasamarthxthibaytwnaywdyingxunhphumisungidxyangkhrxbkhlumaelachdecnidely kar khnphbtwnaywdying thimixunhphumiwikvtsungkwacudeduxdkhxnginotrecnehlw namasungkartuntkickhrngihyinwngkarfisiksepnxyangmak ephraayngimmiikhrthisamarthkhnphbaelarabuidchdecnmakxn aelaenuxngcaktwnaywdywdyingepnsarthimikhwamtanthaniffaepnsunythixunhphumi takwaxunhphumiwikvt aelainotrecnehlwepnsarhlxeynthimirakhathuk ody inotrecnehlwcamirakhapraman 1 000 bathtx 100 litr khidaelwkpramanlitrla 10 bath swnnadumthikhayepnkhwdla 1 litrrakhakekuxb 10 bath dngnnxacklawidwasahrbpraethsithyinotrecnehlw mirakhathukphxkbnaepla aelaemuxmikarichnganmakkhunrakhakcathuklngidxik dngnncamikhwamepnipidsungmak thicaichtwnaywdyingthasayifinxupkrniffaaelacaimmikarsuyesiyphlngnganih kbkhwamtanthanthaihidekhruxngichthimiprasiththiphaphsung aetcamikarsuyesiyphlngnganaelakhaichcayihkbinotrecnehlwaethn aelaenuxngcaktwnaywdyingyngmismbtixunxik echn karlxytwningehnuxaethngaemehlk sungmikarnaipprayukttharthiffaidaelw thaihtwnaywdyingxunhphumisungepnsarthiidrbkhwamsnicmaktwnaywdyingxunhphumisungnkwithyasastridichkhwamphyayaminkarsngekhraahtwnaywdyingihmi Tcsungmakkhun odyichewlathung 75 pi khuxtngaetpi 1911 thung 1986 cungcakhnphbtwnaywdyingxunhphumisung High Tc Superconductors thithukkhnphbkhrngaerkinpi 1986 ody aela 1986 odysarprakxb Ba La Cu O sungtxmamikarkhnphbinsarprakxb Y BaCuO aelasarprakxbxikhlayklumodymixngkhprakxb sakhykhux Cu O2 aelamilksnaednxikxyanghnungkhuxtwnaywdyingchnidnicamixunhphumiwikvtithi sungmakkwa 35 K sungekinkhxbekhtkhxngtwnaywdyingaebbdngedimtamthvsdi BCS dngnntwnaywdyingchnidnicungthukeriykwatwnaywdyingxunphumisung aelaenuxngcakmi Cu O2 epnxngkhprakxbhlkthisakhykhxngsphaphnaywdying dngnninbangkhrngcungthukeriykwa Cuprate superconductors pccubntwnaywdyingxunphumisungkalngepnthisnicsuksakhxngnkwicythwolk enuxngcakmismbtithisamarthnamaprayuktichnganidngaykwatwnaywdyingchnid xun xyangirktamtwnaywdyingchnidniyngsmbtihlayprakarthiimmithvsdiidsamarth xthibayid 1 twnaywdyingaebbkhiwephrth twnaywdyingaebbkhiwephrthepntwnaywdyingthimiokhrngsranghlkprakxbdwyranabkhxngkhxpepxrxxkisdwangtwmilksnaepnchn inrahwangchnmixatxmkhxngolhachnidxunkhnxyu odyxatxmnicathahnathiepnchnwn karnaiffaekidkhuninranabkhxngkhxpepxrxxkisdodymixielktrxnkhxngxatxmkhxpepxrepntwkarsakhythithaihekidsphaphywdying karldxunhphumicathaihokhrngsrangkhxngphlukepliynip ranabkhxpepxrxxkisdthimiinomelkulcungmikhwamsmphnthodytrngkbsphaphnaywdying klawidwakarnaiffakhxngxielktrxnintwnaywdyingepnaebb 2 miti inpccubnphbwaphayitkhwamdn twnaywdyinginsarprakxbprxth aeberiym aekhlesiym khiwephrth samarthmixunhphumiwikvtidsungsud 164 ekhlwin aetxyangirktamtwnaywdying Y Ba Cu O yngkhngepntwnaywdyingthioddednaelaruckxyangkwangkhwanginsarklumni 2 twnaywdyingaemkniesiymidoird inpi 2001 nakamtsuaelaxakhimisu Nagamatsu et al 2001 khnphbtwnaywdyingtwihmkhux aemkniesiymidoird MgB2 thimiokhrngsrangphlukaelaxngkhprakxbthiaetktangcaktwnaywdyingaebbdngedimaetmixunhphumiwikvtsungthung 39 ekhlwin sungsungkwakhxbekht sungsungkwakhxbekhtsungsungkwakhxbekhtthixthibayiddidwythvsdi BCS aelatwnaywdyingchnidnimiokhrngsrangthingayaebbsarprakxbibnari khux AlB2 mipriphumikhxngrabbphlukepn P6 mmm odyxatxmkhxngobrxnaetlatwcacbxatxmkhxngobrxnkhangekhiyngxik 2 twaelaeriyngtwkninlksnaediywkbaekriftkhuxepnhkehliymdanetha thibriewnbnaelalangranabkhxngobrxnthng 6 twthicbtwepnphnthahkehliymdanetha odymixatxmkhxngaemkniesiym 6 xatxmeriyngtwaebbehksaoknxl okhlsaephk hexagonal close packed eriyngsxnkntamaekn c aelamirayahangrahwangranabobrxnmakkwarayarahwangobrxninranab aesdngwaaemkniesiymidobirdmiokhrngsrangaebbkhunkbthisthang anisotropy aelaechuxwakarmiokhrngsrangaebbchn khxngsarprakxbchnidnixacmiphlkrathbthisakhytxsmbtitang insphaphnaywdyingechnediywkbtwnaywdyingxunhphumisung xyangirktam enuxngcakmiokhrngsrangthiimsbsxn cungsamarthetriymsaridngay rwmthngsamarthnaipkhunrupthatwnaidngayaelasadwkkwatwnaywdyingklumkhxpepxrxxkisd cungepnthisnickhxngnkwithyasastrthwolk 3 twnaywdyingchnidmiehlkepnxngkhprakxb twnaywdyingthimikarkhnphblasudkhux twnaywdyingthimiehlkepnxngkhprakxb thimikhwamnasnicimnxykwatwnaywdyingaemkniesiymidoird thukphbinpi 2008 odyhiedoka oxosonaaelathimwicycaksthabnotekiyw odyidthakarwdsmbtithangiffakhxngsarthietriymkhun aelwphbwasarprakxb LaFePo aela LaFeAsO thiecuxfluxxrinsamarthaesdngsmbtikarepntwnaywdyingidodymixunhphumiwikvtthi 4 ekhlwin aela 26 ekhlwintamladb smbtiprakarhnungthisakhysungthaihtwnaywdyingchnidnimikhwamnasnickhux twnaywdyingchnidnimikha thisungmaksungsngphlihkhakraaesiffawikvt Critical current mikhasungmaktamipdwythaihmikarprayuktichnganidkwangkhwangmakkhun khwamaetktangrahwangtwnaywdyingxunhphumisungkbtwnaywdyingaebbdngedim twnaywdyingxunhphumisung nxkcakcamixunhphumiwikvtthisungkwatwnaywdyingaebbdngedimaelw yngmismbtixunthiaetktang dngni 1 okhrngsrangkhxngtwnaywdyinginkarnaiffa twnaywdyingxunhphumisungcamilksnakhunkbthisthang sungmiokhrngsrangkhxngxatxminphlukepnchn aelakarnaiffainaenwtngchakkbaeknhlkkhxngphlukaethbcaimmi thaihtwnaywdyingxunhphumisungmiokhrngsrangkarnaiffaekuxbepn 2 miti aettwnaywdyingaebbdngedimepntwnaywdyingthimilksnaimkhunkbthisthangokhrngsrangkarnaiffamiephiyngthisthangediyw 2 khwamyawxaphnth twnaywdyingxunhphumisungmikhwamyawxaphnthpraman 10 40 xngstrxm aettwnaywdyingaebbdngedimcamikhapraman 10 000 xngstrxm sungmakkwatwnaywdyingxunhphumisungpraman 1 000 etha 3 khwamhnaaennkhxngpracu twnaywdyingaebbdngedim emuxxunhphumiwikvtsungkhun khwamhnaaennkhxngpracucaephimkhundwy aettwnaywdyingxunhphumisung khwamhnaaennkhxngpracumirupaebbthiimchdecn sungtwnaywdyingxunhphumisungbangchnidthimixunhphumiwikvtsung aetkhwamhnaaennkhxngpraculdlng 4 khachxngwangphlngngankhxngtwnaywdying twnaywdyingxunhphumisungcamikhachxngwangphlngngansungkwatwnaywdyingaebbdngedim thaidodyxasykarwdhlayrupaebb echn karthaluphan Tunneling karaephrngsixinfraerd Infrared radiation epntn 5 khasmprasiththikhxngixosothp twnaywdyingxunhphumisungmikhasmprasiththikhxngixosothpimaennxn bangchnidcamikhanxykwa hrux bangchnidxacmikhamakkwatwnaywdyingaebbdngedim 6 khwamekhmkhnkhxngsarecux twnaywdyingxunhphumisung xunhphumiwikvtcakhunxyukbkhwamekhmkhnkhxngsarecuxaebbimepnaemehlk aettwnaywdyingaebbdngedim xunhphumiwikvtcakhunxyukbkhwamekhmkhnkhxngsarecuxaebbaemehlkxangxingTimmer John May 2011 25 years on the search for higher temp superconductors continues Ars Technica subkhnemux 2 March 2012 Bednorz J G Muller K A 1986 Possible high TC superconductivity in the Ba La Cu O system 64 2 189 193 Bibcode 1986ZPhyB 64 189B doi 10 1007 BF01303701 Ford P J 2005 The Rise of the Superconductors CRC Press The Nobel Prize in Physics 1987 J Georg Bednorz K Alex Muller Nobelprize org Retrieved 2012 04 19 Nagamatsu J et al 2001 Nature London 401 63 64 phngsaekw xudmsmuthrhiry 2559 twnaywdyingphunthan krungethph sankphimphculalngkrnmhawithyaly Burn G 1992 High temperature Superconductivity Introduction New York Academic Press phngsaekw xudmsmuthrhiry 2559 twnaywdyingphunthan krungethph sankphimphculalngkrnmhawithyaly Nagamatsu J et al 2001 Nature London 401 63 64