ในทางดาราศาสตร์ คำคุณศัพท์ของทรอย (อังกฤษ: Trojan) มักใช้ในการอ้างถึงดาวเคราะห์ขนาดเล็กหรือดาวบริวาร (ดวงจันทร์) ที่มีวงโคจรร่วมกันกับดาวเคราะห์หรือดวงจันทร์ที่ใหญ่กว่า แต่ไม่ได้รวมเข้ากับดาวแม่เพราะมีการโคจรรอบ (Lagrangian point of stability) จุดใดจุดหนึ่งในสองจุด (L4 และ L5) ซึ่งอยู่ในตำแหน่ง 60° ล่วงหน้าหรือรั้งท้ายวัตถุใหญ่นั้นๆ
คำว่าโทรจัน นี้ แต่เดิมเป็นคำที่ใช้อ้างถึง ซึ่งเป็นดาวเคราะห์น้อยโทรจันที่โคจรอยู่รอบๆ จุดลากร็องจ์ของดาวพฤหัสบดี อันเป็นประเภทของโทรจันที่พบมากที่สุดในระบบสุริยะ ต่อมาจึงพบวัตถุที่มีลักษณะเดียวกันโคจรอยู่รอบจุดลากร็องจ์ของดาวเนปจูนและดาวอังคาร นอกจากนี้ยังมี ที่โคจรรอบจุดลากร็องจ์ของดวงจันทร์ขนาดกลาง 2 ดวงของดาวเสาร์
ดูเพิ่ม
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inthangdarasastr khakhunsphthkhxngthrxy xngkvs Trojan mkichinkarxangthungdawekhraahkhnadelkhruxdawbriwar dwngcnthr thimiwngokhcrrwmknkbdawekhraahhruxdwngcnthrthiihykwa aetimidrwmekhakbdawaemephraamikarokhcrrxb Lagrangian point of stability cudidcudhnunginsxngcud L4 aela L5 sungxyuintaaehnng 60 lwnghnahruxrngthaywtthuihynndawekhraahnxythrxykhxngdawphvhsbdi siekhiywinphaph thngthiokhcrxyukxnaelahlnginaenwokhcrkhxngdaw inphaphyngaesdngdawekhraahnxyinaethbhlkrahwangdawxngkharkbdawphvhsbdi sikhaw aeladawekhraahnxytrakulhilda sinatal khawaothrcn ni aetedimepnkhathiichxangthung sungepndawekhraahnxyothrcnthiokhcrxyurxb cudlakrxngckhxngdawphvhsbdi xnepnpraephthkhxngothrcnthiphbmakthisudinrabbsuriya txmacungphbwtthuthimilksnaediywknokhcrxyurxbcudlakrxngckhxngdawenpcunaeladawxngkhar nxkcakniyngmi thiokhcrrxbcudlakrxngckhxngdwngcnthrkhnadklang 2 dwngkhxngdawesarduephimbthkhwamdarasastrniyngepnokhrng khunsamarthchwywikiphiediyidodykarephimetimkhxmuldkhk