บทความนี้ได้รับแจ้งให้ปรับปรุงหลายข้อ กรุณาช่วยปรับปรุงบทความ หรืออภิปรายปัญหาที่
|
ฟ้าผ่า เป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติซึ่งเกิดจากการเคลื่อนที่ของประจุอิเล็กตรอนภายในก้อนเมฆ หรือระหว่างก้อนเมฆกับก้อนเมฆ หรือเกิดขึ้นระหว่างก้อนเมฆกับพื้นดิน การเคลื่อนที่ขึ้นลงของกระแสอากาศ (updraft/downdraft) ภายในเมฆคิวมูโลนิมบัส ทำให้เกิดความต่างศักย์ไฟฟ้าในแต่ละบริเวณของก้อนเมฆและพื้นดินด้านล่าง เมื่อความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างตำแหน่งทั้งสองที่มีค่าระดับหนึ่ง จะก่อให้เกิดสนามไฟฟ้าขนาดใหญ่ โดยมีประจุบวกอยู่ทางด้านบนของก้อนเมฆ ประจุลบอยู่ทางตอนล่างของก้อนเมฆ พื้นดินบางแห่งมีประจุบวก พื้นดินบางแห่งมีประจุลบ ซึ่งจะเหนี่ยวนำให้เกิดการเคลื่อนที่ของกระแสไฟฟ้า
การเกิดฟ้าผ่า
ฟ้าผ่านั้นเกิดขึ้นจากปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดขึ้นภายใต้ก้อนเมฆฝนฟ้าคะนองหรือที่นักอุตุนิยมวิทยาเรียกกันว่าเมฆคิวมูโลนิมบัส (cumulonimbus) ซึ่งจะเป็นเมฆที่มีลักษณะเป็นก้อนขนาดใหญ่มหึมาบริเวณฐานของเมฆ (ขอบล่าง) นั้นจะสูงจากพื้นราว ๆ 2 กิโลเมตรและที่ส่วนของยอดเมฆ (ขอบบน) นั้นอาจจะสูงถึง 20 กิโลเมตร และเมื่อก้อนเมฆนั้นเคลื่อนที่ก็จะมีลมเข้าไปยังภายในก้อนเมฆและจะเกิดการไหลเวียนของกระแสอากาศภายในอย่างรวดเร็วและรุนแรง ทำให้หยดน้ำและก้อนน้ำแข็งในเมฆเสียดสีกันจนเกิดประจุไฟฟ้าและพบว่าประจุบวกมักจะรวมตัวกันอยู่บริเวณยอดเมฆ ส่วนประจุลบจะอยู่บริเวณฐานเมฆ ทั้งนี้ ประจุลบที่ฐานเมฆอาจจะเหนี่ยวนำทำให้พื้นผิวของโลกที่อยู่ “ใต้เงา” ของมันมีประจุเป็นบวก เป็นผลทำใหัเกิด สนามไฟฟ้าระหว่างกลุ่มประจุเหล่านั้น เมื่อประจุ มีการสะสมจำนวนมาก ทำให้ความเครียดของสนามไฟฟ้าเพิ่มสูงขึ้นจนเกินค่าความคงทน ของอากาศต่อแรงดันไฟฟ้า จนทำให้เกิดการคายประจุขึ้น อัน เป็นจุดกำเนิดของการเกิด ฟ้าผ่าขึ้น การคายประจุ อาจเกิดขึ้น ระหว่างก้อนเมฆ หรือ ระหว่าง ก้อนเมฆ กับ พื้นโลก ซึ่งเรียก ปรากฏการณ์ นี้ว่า "ฟ้าผ่า"
ลักษณะ
1.ฟ้าผ่าภายในก้อนเมฆ เกิดจากการเชื่อมต่อประจุลบด้านล่างกับประจุบวกด้านบนเข้าด้วยกัน ฟ้าผ่าแบบนี้มักจะเกิดมากที่สุด
2.ฟ้าผ่าจากเมฆก้อนหนึ่งไปยังเมฆอีกก้อนหนึ่ง เกิดจากประจุลบในเมฆก้อนหนึ่งไปยังประจุบวกในเมฆอีกก้อนหนึ่ง
3.ฟ้าผ่าจากฐานเมฆลงสู่พื้น หรือฟ้าผ่าแบบลบ เกิดจากการปลดปล่อยประจุลบออกจากก้อนเมฆ จึงเรียกว่า ฟ้าผ่าแบบ ลบ (negative lightning) และเป็นอันตรายต่อ คน สัตว์ และสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่บนพื้นนั้นมีเพราะจะมีระยะผ่าลงบริเวณใต้เงาของเมฆฟ้าฝนคะนองเพราะพื้นที่ดังกล่าวถูกเหนี่ยวนำให้มีสภาพเป็นประจุบวก
4.ฟ้าผ่าจากยอดเมฆลงสู่พื้น หรือฟ้าผ่าแบบบวก เกิดจากการปลดปล่อยประจุบวกออกจากก้อนเมฆ จึงเรียกว่า ฟ้าผ่าแบบบวก (positive lightning) ฟ้าผ่าแบบบวกสามารถผ่าได้ไกลออกไปจากก้อนเมฆ ถึง 40 กิโลเมตร ภายในเวลา 1 วินาที โดยมักจะเกิดในช่วงท้ายของพายุฝนฟ้าคะนองคือหลังจากที่ฝนซาแล้ว
การป้องกันฟ้าผ่า
การป้องกันฟ้าผ่าสามารถทำได้หลายวิธี ตั้งแต่การออกแบบและก่อสร้างอาคารตามหลักการป้องกันฟ้าผ่า รวมไปถึงการติดตั้งสายล่อฟ้า
อ้างอิง
- http://guru.sanook.com/6143/ฟ้าผ่า/
- http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/53/Lighting/index2.htm 2015-05-09 ที่ เวย์แบ็กแมชชีน
- การป้องกันฟ้าผ่า: มาตรฐาน วสท. เล่มที่ 3 (pdf)
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
bthkhwamniidrbaecngihprbprunghlaykhx krunachwyprbprungbthkhwam hruxxphipraypyhathihnaxphipray bthkhwamnitxngkarekbkwad odykartrwcsxbhruxprbprungkhwamthuktxng tlxdcnaekikhrupaebbhruxphasathiich bthkhwamnitxngkaraehlngxangxingephimephuxphisucnkhxethccring fapha epnpraktkarnthrrmchatisungekidcakkarekhluxnthikhxngpracuxielktrxnphayinkxnemkh hruxrahwangkxnemkhkbkxnemkh hruxekidkhunrahwangkxnemkhkbphundin karekhluxnthikhunlngkhxngkraaesxakas updraft downdraft phayinemkhkhiwmuolnimbs thaihekidkhwamtangskyiffainaetlabriewnkhxngkxnemkhaelaphundindanlang emuxkhwamtangskyiffarahwangtaaehnngthngsxngthimikharadbhnung cakxihekidsnamiffakhnadihy odymipracubwkxyuthangdanbnkhxngkxnemkh praculbxyuthangtxnlangkhxngkxnemkh phundinbangaehngmipracubwk phundinbangaehngmipraculb sungcaehniywnaihekidkarekhluxnthikhxngkraaesiffa praktkarfaphakarekidfaphafaphannekidkhuncakpraktkarnthrrmchatithiekidkhunphayitkxnemkhfnfakhanxnghruxthinkxutuniymwithyaeriykknwaemkhkhiwmuolnimbs cumulonimbus sungcaepnemkhthimilksnaepnkxnkhnadihymhumabriewnthankhxngemkh khxblang nncasungcakphunraw 2 kiolemtraelathiswnkhxngyxdemkh khxbbn nnxaccasungthung 20 kiolemtr aelaemuxkxnemkhnnekhluxnthikcamilmekhaipyngphayinkxnemkhaelacaekidkarihlewiynkhxngkraaesxakasphayinxyangrwderwaelarunaerng thaihhydnaaelakxnnaaekhnginemkhesiydsikncnekidpracuiffaaelaphbwapracubwkmkcarwmtwknxyubriewnyxdemkh swnpraculbcaxyubriewnthanemkh thngni praculbthithanemkhxaccaehniywnathaihphunphiwkhxngolkthixyu itenga khxngmnmipracuepnbwk epnphlthaihekid snamiffarahwangklumpracuehlann emuxpracu mikarsasmcanwnmak thaihkhwamekhriydkhxngsnamiffaephimsungkhuncnekinkhakhwamkhngthn khxngxakastxaerngdniffa cnthaihekidkarkhaypracukhun xn epncudkaenidkhxngkarekid faphakhun karkhaypracu xacekidkhun rahwangkxnemkh hrux rahwang kxnemkh kb phunolk sungeriyk praktkarn niwa fapha lksna1 faphaphayinkxnemkh ekidcakkarechuxmtxpraculbdanlangkbpracubwkdanbnekhadwykn faphaaebbnimkcaekidmakthisud 2 faphacakemkhkxnhnungipyngemkhxikkxnhnung ekidcakpraculbinemkhkxnhnungipyngpracubwkinemkhxikkxnhnung 3 faphacakthanemkhlngsuphun hruxfaphaaebblb ekidcakkarpldplxypraculbxxkcakkxnemkh cungeriykwa faphaaebb lb negative lightning aelaepnxntraytx khn stw aelasingtang thixyubnphunnnmiephraacamirayaphalngbriewnitengakhxngemkhfafnkhanxngephraaphunthidngklawthukehniywnaihmisphaphepnpracubwk 4 faphacakyxdemkhlngsuphun hruxfaphaaebbbwk ekidcakkarpldplxypracubwkxxkcakkxnemkh cungeriykwa faphaaebbbwk positive lightning faphaaebbbwksamarthphaidiklxxkipcakkxnemkh thung 40 kiolemtr phayinewla 1 winathi odymkcaekidinchwngthaykhxngphayufnfakhanxngkhuxhlngcakthifnsaaelwkarpxngknfaphasaylxfa karpxngknfaphasamarththaidhlaywithi tngaetkarxxkaebbaelakxsrangxakhartamhlkkarpxngknfapha rwmipthungkartidtngsaylxfaxangxinghttp guru sanook com 6143 fapha http www rmutphysics com physics oldfront 53 Lighting index2 htm 2015 05 09 thi ewyaebkaemchchinkarpxngknfapha matrthan wsth elmthi 3 pdf