ในทาง วิถีโคจรพาราโบลา (parabolic trajectory) คือวงโคจรเค็พเพลอร์ที่มีความเยื้องศูนย์กลางของวงโคจรเท่ากับ 1
รูปร่างวิถีโคจร
รูปร่างของวิถีโคจรพาราโบลาแสดงโดยสมการต่อไปนี้
ในที่นี้
- คือระยะทางจากวัตถุศูนย์กลาง
- คือโมเมนตัมเชิงมุมต่อหน่วยมวลรอบวัตถุศูนย์กลาง (เป็นค่าคงตัวจาก)
- เป็นมุมที่วัดจากจุดใกล้ที่สุด (มุมกวาดจริง)
- คือ ค่าคงที่ความโน้มถ่วงสากล
- คือมวลของวัตถุศูนย์กลาง
หากมุมกวาดจริง เข้าใกล้ 180° ตัวส่วนของสมการข้างต้นเข้าใกล้ 0 และ จะเข้าใกล้อนันต์
พลังงานในวงโคจร
จากนั้นจะหาได้จาก
โดย คือความเร็วในการเคลื่อนที่ของวัตถุ
ความเร็วในวิถีโคจร
ขนาดของความเร็วของวัตถุบนวิถีโคจรพาราโบลาแสดงได้โดยสมการต่อไปนี้
จากสมการนี้จะเห็นได้ว่า ขนาดของความเร็วจะเข้าใกล้ศูนย์เมื่อระยะห่างจากวัตถุท้องฟ้าศูนย์กลางไปเป็นระยะทางเข้าใกล้อนันต์
สมการบาร์เกอร์
สมการบาร์เกอร์แสดงความสัมพันธ์ระหว่างมุมกวาดจริง กับเวลา ในการเคลื่อนที่ในวิถีโคจรพาราโบลาดังนี้
โดยที่
- เป็นตัวแปรช่วย
- คือเวลาเมื่อวัตถุผ่านจุดใกล้ที่สุด
- คือของวงโคจร ()
อ้างอิง
- Bate, Roger; Mueller, Donald; White, Jerry (1971). Fundamentals of Astrodynamics. Dover Publications, Inc., New York. p. 188. ISBN .
{{}}
: CS1 maint: multiple names: authors list ()
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
inthang withiokhcrpharaobla parabolic trajectory khuxwngokhcrekhphephlxrthimikhwameyuxngsunyklangkhxngwngokhcrethakb 1phaphaesdngwngokhcrekhphephlxraebbtang odyesnsiekhiywkhuxwithiokhcrpharaobla e 1ruprangwithiokhcrruprangkhxngwithiokhcrpharaoblaaesdngodysmkartxipni r h2GM11 cos 8 displaystyle r h 2 over GM 1 over 1 cos theta inthini r displaystyle r khuxrayathangcakwtthusunyklang h displaystyle h khuxomemntmechingmumtxhnwymwlrxbwtthusunyklang epnkhakhngtwcak 8 displaystyle theta epnmumthiwdcakcudiklthisud mumkwadcring G displaystyle G khux khakhngthikhwamonmthwngsakl M displaystyle M khuxmwlkhxngwtthusunyklang hakmumkwadcring 8 displaystyle theta ekhaikl 180 twswnkhxngsmkarkhangtnekhaikl 0 aela r displaystyle r caekhaiklxnntphlngnganinwngokhcrcaknncahaidcak ϵ v22 GMr 0 displaystyle epsilon v 2 over 2 GM over r 0 ody v displaystyle v khuxkhwamerwinkarekhluxnthikhxngwtthukhwamerwinwithiokhcrkhnadkhxngkhwamerwkhxngwtthubnwithiokhcrpharaoblaaesdngidodysmkartxipni v 2GMr displaystyle v sqrt 2GM over r caksmkarnicaehnidwa khnadkhxngkhwamerwcaekhaiklsunyemuxrayahangcakwtthuthxngfasunyklangipepnrayathangekhaiklxnntsmkarbarekxrsmkarbarekxraesdngkhwamsmphnthrahwangmumkwadcring n displaystyle nu kbewla t displaystyle t inkarekhluxnthiinwithiokhcrpharaobladngni t T 12p3m D 13D3 displaystyle t T frac 1 2 sqrt frac p 3 mu left D frac 1 3 D 3 right odythi D tan n2 displaystyle D tan frac nu 2 epntwaeprchwy T displaystyle T khuxewlaemuxwtthuphancudiklthisud m GM displaystyle mu GM p displaystyle p khuxkhxngwngokhcr p h2m displaystyle p frac h 2 mu xangxingBate Roger Mueller Donald White Jerry 1971 Fundamentals of Astrodynamics Dover Publications Inc New York p 188 ISBN 0 486 60061 0 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Cite book title aemaebb Cite book cite book a CS1 maint multiple names authors list lingk