[]
เศรษฐศาสตร์มหภาค (อังกฤษ: macroeconomics) เป็นสาขาของเศรษฐศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับความสามารถ โครงสร้าง พฤติกรรม และการตัดสินใจในระบบเศรษฐกิจในภาพรวม ซึ่งประกอบไปด้วยเศรษฐกิจระดับภูมิภาค ประเทศ และระดับโลกนักเศรษฐศาสตร์มหภาค ศึกษาดัชนีรวม อาทิ จีดีพี รายได้ประชาชาติ และความสัมพันธ์ระหว่างกันของแต่ละภาคในระบบเศรษฐกิจเพื่อทำความเข้าใจถึงการทำงานของเศรษฐกิจ พวกเขายังพัฒนาแบบจำลองที่อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยต่างๆ อาทิ รายได้ประชาชาติ ผลผลิต การบริโภค การว่างงาน เงินเฟ้อ การออม การลงทุน การค้าระหว่างประเทศ และการเงินระหว่างประเทศ
แม้ว่าเศรษฐศาสตร์มหภาคจะเป็นศาสตร์ที่กว้าง แต่มันก็ประกอบด้วยสองส่วนที่เป็นหัวใจสำคัญของศาสตร์นี้ คือการศึกษาสาเหตุและผลลัพธ์ของความผันผวนในระยะสั้นในรายได้ประชาชาติ () และการศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการเจริญเติบโตในระยะยาวของเศรษฐกิจ (การเพิ่มรายได้ประชาชาติ) แบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์มหภาคและการพยากรณ์มักจะถูกใช้โดยรัฐบาลเพื่อช่วยให้เกิดการพัฒนาและการประเมินนโยบายเศรษฐกิจ
แนวคิดเศรษฐศาสตร์มหภาคเบื้องต้น
เศรษฐศาสตร์มหภาคครอบคลุมหลาย ๆ แนวคิดและหลาย ๆ ตัวแปร แต่ว่ามีอยู่สามประเด็นสำคัญสำหรับงานวิจัยทางเศรษฐศาสตร์มหภาค ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์มหภาคมักเชื่อมโยงปรากฏการณ์ทางผลผลิต การว่างงาน และเงินเฟ้อ นอกเหนือไปจากทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ หัวข้อเหล่านี้ยังมีความสำคัญอย่างมากต่อตัวแสดงทางเศรษฐศาสตร์ทุกตัว ประกอบด้วยคนงาน ผู้บริโภค และ
ผลผลิตและรายได้
ผลผลิตประชาชาติคือผลรวมของทุกอย่างที่ประเทศผลิตได้ในช่วงขณะหนึ่ง ทุกอย่างที่ถูกผลิตขึ้นและขายสร้างรายได้ในปริมาณที่เท่ากัน ผลผลิตรวมของระบบเศรษฐกิจหนึ่งๆ ถูกไว้โดยจีดีพีต่อประชากร ผลผลิตและรายได้ถูกมองว่าเท่ากันและสามารถใช้แทนกันได้ ผลผลิตเปลี่ยนได้เป็นรายได้ ผลผลิตถูกวัดขึ้นหรือสามารถมองได้จากฝั่งการผลิตและถูกวัดเป็นผลรวมของสินค้าและบริการขั้นสุดท้าย หรือผลรวมของมูลค่าเพิ่มในระบบเศรษฐกิจ
ผลผลิตทางเศรษฐกิจมหภาคมักถูกวัดโดยผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ (จีดีพี) หรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งในบัญชีประชาชาติ เศรษฐกรผู้ที่สนใจในการเพิ่มขึ้นในระยะยาวศึกษาการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี การสะสมเครื่องจักรและทุนอื่นๆ และการมีการศึกษาและทุนมนุษย์ที่ดีขึ้นเป็นปัจจัยที่ทำให้เกิดการเพิ่มขึ้นในผลผลิตทางเศรษฐกิจตลอดช่วงเวลา อย่างไรก็ดี ผลผลิตไม่จำเป็นจะต้องเพิ่มขึ้นอย่างคนเส้นคนวาตลอดเวลา วัฏจักรธุรกิจสามารถก่อให้เกิดการลดลงในระยะสั้นที่เราเรียกว่าภาวะเศรษฐกิจถดถอย เศรษฐกรมองหานโยบายทางเศรษฐศาสตร์มหาภคที่ป้องกันเศรษฐกิจไม่ให้เข้าสู้ภาวะถดถอยและทำให้การเจริญเติบโตในระยะยาวเร็วมากขึ้น
การว่างงาน
เงินเฟ้อและเงินฝืด
การที่ระดับราคาทั่วไปของทั้งประเทศเพิ่มขึ้นเรียกว่าเงินเฟ้อ ถ้าราคาลดลง นั่นคือมี เงินฝืด เศรษฐกรวัดการเปลี่ยนแปลงในราคาโดยใช้ดัชนีราคา เงินเฟ้อสามารถเกิดขึ้นได้เมื่อเศรษฐกิจร้อนแรงเกินไปและเติบโตมากเกินไป ในทางเดียวกัน ภาวะเศรษฐกิจถดถอยนำไปสู่เงินฝืด
ธนาคารกลาง ผู้บริหารปริมาณเงินของประเทศ มักจะหลีกเลี่ยงการเปลี่ยนแปลงในระดับราคาโดยใช้นโยบายการเงิน การเพิ่มขึ้นในอัตราดอกเบี้ยหรือการลดลงในปริมาณเงินในเศรษฐกิจมักทำงานเงินเฟ้อลดลง เงินเฟ้อสามารถก่อให้เกิดการเพิ่มขึ้นในความไม่แน่นอนและผลเสียที่ตามมาอื่นๆ เงินฝืดทำให้ผลผลิตทางเศรษฐกิจลดลง ธนาคารกลางพยายามที่จะรักษาเสถียรภาพทางราคาเพื่อป้องกันเศรษฐกิจจากผลเสียที่ตามมาเมื่อราคาเกิดการเปลี่ยนแปลง
แบบจำลองทางเศรษฐศาสตร์มหภาค
อุปสงค์มวลรวม-อุปทานมวลรวม
แบบจำลองเอดี-เอเอส เป็นแบบจำลองพื้นฐานในการอธิบายเศรษฐกิจมหภาค
ไอเอส-แอลเอ็ม
แบบจำลองไอเอส-แอลเอ็มแสดงถึงการประสานกันของอัตราดอกเบี้ยและผลผลิตที่ทำให้เกิดดุลยภาพในตลาดสินค้าและตลาดเงิน ตลาดสินค้าได้แสดงผ่านดุลยภาพในการลงทุนและการออม (ไอเอส) ส่วนตลาดเงินได้แสดงดุลยภาพในอุปทานเงินและความชื่นชอบในสภาพคล่อง เส้นไอเอสประกอบด้วยจุดหลายๆ จุดที่การลงทุน เมื่ออัตราดอกเบี้ยคงที่ เท่ากับการออม เมื่อผลผลิตคงที่
เส้นโค้งไอเอสมีความชันลดลงเพราะผลผลิตและอัตราดอกเบี้ยมีความสัมพันธ์แบบผกผันกันในตลาดสินค้า
แบบจำลองการเจริญเติบโต
แบบจำลองการเจริญเติบโตแบบนีโอคลาสสิคของโรเบิร์ต โซโลว์ กลายเป็นแบบจำลองมาตรฐานในการอธิบายการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจในระยะยาว แบบจำลองเริ่มจากฟังก์ชันการผลิตที่รายได้ประชาชาติเป็นผลผลิตของปัจจัยนำเข้าสองอย่าง คือทุนและแรงงาน แบบจำลองโซโลว์สมมติว่าทุนและแรงงานถูกใช้ในอัตราที่คงที่โดยที่ไม่มีความผันผวนของอัตราว่างงาน และการใช้กำลังการผลิตที่มักจะพบได้ในวัฏจักรธุรกิจ
การเพิ่มขึ้นในผลผลิต หรือการเติบโตทางเศรษฐกิจ สามารถเกิดขึ้นได้เฉพาะหากเกิดการเพิ่มขึ้นของการสะสมทุน ประชากรที่มากขึ้น และการเปลี่ยนแปลงในเทคโนโลยีที่นำไปสู่ผลิตภาพที่มากขึ้น (ผลิตภาพของปัจจัยรวม) การเพิ่มขึ้นในอัตราการออมส่งผลต่อการเพิ่มขึ้นเพียงชั่วคราวเนื่องจากระบบเศรษฐกิจผลิตทุนมากขึ้น ซึ่งนำไปสู่การเพิ่มผลผลิต แต่อย่างไรก็ดี นำไปสู่ที่ว่าค่าเสื่อมจะจำกัดการขยายตัวของทุน ทำให้การออมจะนำมาใช้เพื่อชดเชยทุนที่เสื่อมลงไป และเงินออมจะไม่พอที่จะจ่ายให้เกิดการขยายตัวของทุนอีก แบบจำลองโซโลว์ยังแนะนำว่าการเติบโตทางเศรษฐกิจในรูปของผลผลิตต่อหน่วยขึ้นอยู่กับแค่เพียงความก้าวหน้าในเทคโนโลยีที่ทำให้ผลิตภาพเพิ่มขึ้น
ในทศวรรษ 1980 และ 1990 ทฤษฎีการเจริญเติบโตจากภายในได้พัฒนาขึ้นเพื่อท้าทายทฤษฎีการเติบโตแบบนีโอคลาสสิค ชุดแบบจำลองนี้อธิบายการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจผ่านปัจจัยอื่นอาทิ ผลตอบแทนเพิ่มขึ้นจากการขยายการผลิต และการเรียนรู้จากการทำงาน ซึ่งถูกกำหนดมาจากภายในแทนที่จะใช้การพัฒนาเทคโนโลยีจากภายนอกเมื่อดังที่ใช้ในการอธิบายการเติบโตในแบบจำลองโซโลว์
นโยบายทางเศรษฐกิจมหภาค
นโยบายการเงิน
ธนาคารกลางใช้นโยบายการเงินโดยการควบคุมปริมาณเงินผ่านกลไกต่างๆ
นโยบายการคลัง
นโยบายการคลังคือการใช้รายได้และรายจ่ายรัฐบาลในการเป็นเครื่องมือเพื่อสร้างผลกระทบต่อเศรษฐกิจ อาทิเช่น รายจ่าย ภาษี และหนี้
เปรียบเทียบ
เศรษฐกรมักจะชื่นชอบนโยบายการเงินมากกว่าการคลังเพราะว่ามันมีข้อดีสองประการ
พัฒนาการ
บทความหลัก ประวัติความคิดทางเศรษฐศาสตร์มหภาค
ที่มา
เศรษฐศาสตร์มหภาคเป็นลูกหลานของแขนงวิชาที่เคยแตกออกจากกันอย่างทฤษฎีวัฏจักรธุรกิจและทฤษฎีการเงินมหภาค ทฤษฎีปริมาณเงินมีอิทธิพลอย่างมากในช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 มันมีหลายรูปแบบ รวมทั้งรูปแบบที่อิงจากงานของเออร์วิง ฟิชเชอร์
ในมุมมองเบื้องต้นของทฤษฎีปริมาณเงินนี้ ความเร็วของเงิน (V) และปริมาณสินค้าที่ผลิตได้ (Q) คงที่ ดังนั้นการเพิ่มขึ้นในปริมาณเงิน (M) จะส่งผลโดยตรงต่อการเพิ่มขึ้นในระดับราคา (P) ทฤษฎีปริมาณเงินเป็นหัวใจสำคัญของทฤษฎีทางเศรษฐกิจแบบคลาสสิคที่ได้รับการยอมรับในช่วงต้นศตวรรษที่ 20
สำนักออสเตรีย
งานของลุดวิก วอน ไมสส์ ที่ชื่อ Theory of Money and Credit ตีพิมพ์ในปี 1912 เป็นหนึ่งในหนังสือสำคัญของสำนักออสเตรียที่ใช้แก้ปัญหาเศรษฐศาสตร์มหภาค
เคนส์และสาวก
เศรษฐศาสตร์มหภาค ในสมัยใหม่ ริเริ่มจากงานพิมพ์ของจอห์น เมนาร์ด เคนส์ที่ชื่อ General Theory of Employment, Interest and Money เมื่อเกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ขึ้น เศรษฐกรคลาสสิคไม่สามารถหาเหตุผลได้ว่าทำไมสินค้าถึงขายไม่ออกและการภาวะว่างงานขึ้นในคนงาน ในทฤษฎีแบบคลาสสิค ราคาและค่าจ้างจะลดจนกว่าตลาดจะตรวจผ่าน และสินค้าและแรงงานทุกชนิดจะขายออก เคนส์นำเสนอทฤษฎีใหม่ทางเศรษฐศาสตร์ที่อธิบายว่าทำไมตลาดจะไม่ตรวจผ่าน ซึ่งถูกพัฒนา (ในศตวรรษที่ 20) สู่สำนักคิดทางเศรษฐศาสตร์มหภาคที่เรียกว่าเศรษฐศาสตร์แบบเคนส์ หรือที่เรียกว่า เคนส์นิยมหรือทฤษฎีเคนส์
ในทฤษฎีแบบเคนส์ ทฤษฎีปริมาณเงินถูกทำลายลงเพราะว่าประชาชนและธุรกิจมักจะถึงเงินสดไว้ในยามที่เศรษฐกิจกำลังยากลำบาก ซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่เขาเรียกว่าภาวะการชื่นชอบในสภาพคล่อง เคนส์ยังอธิบายผลตัวทวีว่าจะเป็นตัวทวีการลดลงของการบริโภคหรือการลงทุนเพียงเล็กน้อยให้เกิดการถดถอยทั่วทั้งเศรษฐกิจ เคนส์ยังให้ความเห็นว่าบทบาทของความไม่แน่นอนและสัญชาตญาณสัตว์มีบทบาทในระบบเศรษฐกิจ
รุ่นต่อมาถัดจากเคนส์ได้รวมเศรษฐศาสตร์มหภาคใน ทฤษฎีทั่วไป กับเศรษฐศาสตร์จุลภาคแบบนีโอคลาสสิคเพื่อสร้างการสังเคราะห์นีโอคลาสสิค ก่อนทศวรรษ 1950 เศรษฐกรหลายคนยอมรับในการสังเคราะห์ทางเศรษฐศาสตร์มหภาคนี้ เศรษฐกรอย่าง พอล แซมมวลสัน ฟรังโก โมดิจานี่ เจมส์ โทบิน และโรเบิร์ต โซโลว์ พัฒนาแบบจำลองรูปนัยแบบเคนส์ขึ้นมาและสร้างทฤษฎีรูปนัยของการบริโภค การลงทุน และอุปสงค์ต่อเงินที่แบบหัวใจหลักของกรอบความคิดแบบเคนส์
สำนักการเงินนิยม
มิลตัน ฟรีดแมน ได้ปรับปรุงทฤษฎีปริมาณเงินให้ควบรวมบทบาทของอุปสงค์เงินเข้าไปด้วย เขาอ้างว่าบทบาทของเงืนในเศรษฐกิจเพียงพอที่จะอธิบายภาวะเศรษฐกิจตกต่ำครั้งใหญ่ และคำอธิบายที่เกี่ยวข้องกับอุปสงค์มวลรวมไม่จำเป็นมากนัก ฟรีดแมนยังอ้างว่านโยบายการเงินมีประสิทธิภาพมากกว่านโยบายการคลัง อย่างไรก็ดี ฟรีดแมนยังคงสงสัยถึงความสามารถของรัฐบาลในการรักษาเสถียรภาพเศรษฐกิจโดยใช้นโยบายการเงิน เขายังชื่นชอบนโยบายที่ว่าด้วยการเติบโตของปริมาณเงินอย่างคงที่เป็นการทั่วไปแทนที่การแทรกแซงเป็นระยะๆ
ฟรีดแมนยังท้าทายความสัมพันธ์ของเส้นโค้งฟิลลิปส์ระหว่างเงินเฟ้อและการว่างงาน ฟรีดแมนและเอ็ดมันด์ เฟลปส์ (ผู้ที่ไม่ใช่นักการเงินนิยม) เสนอเส้นโค้งฟิลลิปส์รูปแบบเพิ่มเติมที่นำความเป็นไปได้ที่จะเกิดการได้อย่างเสียอย่างในระยะยาวอย่างมีเสถียรภาพระหว่างเงินเฟ้อและการว่างงานออกไป เมื่อช็อคน้ำมันในทศวรรษ 1970 สร้างการว่างงานที่มากและเงินเฟ้อที่สูง ฟรีดแมนและเฟลปส์ได้รับการสรรเสริญเป็นอย่างมาก สำนักการเงินนิยมมีอิทธิพลเป็นอย่างมากในช่วงต้นทศวรรษที่ 1980 และเสื่อมความนิยมเมื่อธนาคารกลางพบว่ามันยากที่จะใช้เป้าหมายปริมาณเงินแทนที่จะเป็นอัตราดอกเบี้ยอย่างที่นักการเงินนิยมให้คำแนะนำไว้ สำนักการเงินนิยมได้รับความนิยมลดลงในเชิงการเมืองอีกครั้งเมื่อธนาคารกลางได้สร้างภาวะถดถอยขึ้นเพื่อลดภาวะเงินเฟ้อ
คลาสสิคใหม่
เศรษฐศาสตร์มหภาคคลาสสิคใหม่ยังคงท้าทายสำนักเคนส์ พัฒนาการหลักๆ ในแนวคิดแบบคลาสสิคใหม่มาเมื่อ โรเบิร์ต ลูคัส ริเริ่มการคาดหมายที่มีเหตุผลต่อเศรษฐศาสตร์มหภาค ก่อนหน้าลูคัส เศรษฐกรนิยมใช้การคาดหมายในอดีตที่ตัวแทนมักจะถูกสมมติว่าให้มองกลับไปยังอดีตเพื่อคาดการณ์อนาคต ภายใต้การคาดหมายที่มีเหตุผล ตัวแทนถูกมองว่ามีความซับซ้อนมากขึ้น ผู้บริโภคไม่เพียงแต่สมมติอัตราเงินเฟ้อ 2% แค่เพียงเพราะว่าเป็นการหาค่าเฉลี่ยในช่วงปีที่ผ่านมา แต่เธอมองไปยังนโยบายการเงินในปัจจุบันและสภาพการณ์ทางเศรษฐกิจแล้วถึงนำมาสร้างการพยากรณ์ เมื่อเศรษฐกรคลาสสิคใหม่นำการคาดหมายที่มีเหตุผลมาใส่ในแบบจำลอง พวกเขาแสดงว่านโยบายการเงินมีผลกระทบในวงจำกัด
ลูคัสยังได้สร้างการวิพากษ์ที่เลื่องลือเกี่ยวกับแบบจำลองเชิงประจักษ์ของสำนักเคนส์ เขาอ้างว่าแบบจำลองพยากรณ์ที่อิงจากความสัมพันธ์เชิงประจักษ์มักจะสร้างการพยากรณ์แบบเดิมแม้ว่าข้อมูลที่นำมาสร้างแบบจำลองนั้นจะเปลี่ยนแปลงไป เขาให้การสนับสนุนแบบจำลองที่ที่อิงจากทฤษฎีเศรษฐศาสตร์พื้นฐาน ซึ่งในหลักการควรจะมีความแม่นยำหากสภาพเศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงไป ภายหลังข้อวิพากษ์ของลูคัส เศรษฐกรคลาสสิคใหม่นำโดย เอดเวิร์ด ซี เพรสคอตต์ และ ฟินน์ อี คิดแลนด์ สร้างแบบจำลองวัฎจักรธุรกิจจริง (อาร์บีซี) ของเศรษฐกิจมหภาค
แบบจำลองอาร์บีซีถูกสร้างโดยผนวกสมการพื้นฐานจากเศรษฐศาสตร์จุลภาคนีโอคลาสสิค ในกรณีที่จะสร้างความผันผวนในเศรษฐกิจมหภาค แบบจำลองอาร์บีซีอธิบายภาวะถดถอยและการว่างงานโดยใช้การเปลี่ยนแปลงในเทคโนโลยีแทนที่จะเป็นการเปลี่ยนแปลงในตลาดสินค้าหรือเงิน ผู้ที่จารณ์แบบจำลองอาร์บีซีอ้างว่าเงินมีบทบาทสำคัญในระบบเศรษฐกิจอย่างเห็นได้ชัด และแนวคิดเรื่องการถดถอยทางเทคโนโลยีสามารถอธิบายการถดถอยในระยะที่ผ่านมานี้เป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้ อย่างไรก็ดี ช็อคในทางเทคโนโลยีเป็นเพียงสิ่งที่เห็นได้ชัดที่สุดในบรรดาช็อคต่อระบบจำนวนมากที่เป็นไปได้ที่สามารถนำมาสร้างแบบจำลอง ทั้งๆ ที่มีคำถามมากมายเกี่ยวกับทฤษฎีเบื้องหลังแบบจำลองอาร์บีซี แต่มันก็ได้รับการยอมรับและมีอิทธิพลมากในระเบียบวิธีทางเศรษฐศาสตร์
การตอบโต้ของเคนส์ใหม่
เศรษฐกรสำนักเคนส์ใหม่ตอบโต้สำนักคลาสสิคใหม่โดยการพัฒนาการคาดการณ์อย่างมีเหตุผลและเน้นไปที่การพัฒนาแบบจำลองที่มีรากฐานมาจากจุลภาคที่ไม่ได้รับผลจากข้อวิพากษ์ของลูคัส และ สร้างงานในระยะแรกโดยการแสดงให้เห็นว่านโยบายการเงินยังคงมีประสิทธิภาพแม้จะใช้ในแบบจำลองที่มีการคาดการณ์อย่างมีเหตุผลเมื่อค่าจ้างแรงงานถูกสัญญากำกับไว้ไม่ให้เปลี่ยน เศรษฐกรสำนักเคนส์ใหม่คนอื่นได้แก่ โอลิวีเยร์ แบลนชาร์ด ฮูลิโอ โรเตมเบิร์ก เกร็ก แมนคิว เดวิด โรเมอร์ และไมเคิล วูดฟอร์ด ขยายงานชิ้นนี้และศึกษากรณีอื่นๆ ที่ราคาและค่าจ้างขยับไม่ได้ที่นำไปสู่การที่นโยบายการเงินและการคลังนำไปสู้ผลกระทบที่แท้จริง
เช่นเดียวกับแบบจำลองคลาสสิค แบบจำลองคลาสสิคใหม่ตั้งสมมติฐานว่าราคาสามารถปรับได้โดยสมบูรณ์และนโยบายการเงินจะส่งผลให้ราคาเปลี่ยนแปลงเท่านั้น แบบจำลองเคนส์ใหม่เสาะหาที่มาของการที่ราคาและค่าจ้างมีความหนืดอันเนื่องมาจากการแข่งขันที่ไม่สมบูรณ์ ซึ่งทำให้นโยบายการเงินส่งผลกระทบต่อปริมาณแทนที่จะเป็นราคา
ในช่วงท้ายทศวรรษที่ 1990 เศรษฐกรได้ข้อสรุปอย่างหยาบๆ โดยการนำความหนืดแข็งเกร็งตามตัวเงินของทฤษฎีเคนส์ใหม่ผนวกรวมกับการคาดหมายที่มีเหตุผลและระเบียบวิธีอาร์บีซีในการสร้างแบบจำลองดุลยภาพทั่วไปเชิงพลวัตแบบสุ่ม (ดีเอสจีอี) การผนวกรวมของคุณสมบัติเหล่านี้จากสำนักคิดที่แตกต่างกันทำให้เกิดการสังเคราะห์นีโอคลาสสิค แบบจำลองเหล่านี้ในปัจจุบันใช้ในธนาคารกลางหลายธนาคารและกลายเป็นส่วนสำคัญของเศรษฐศาสตร์มหภาคร่วมสมัย
เศรษฐศาสตร์เคนส์ใหม่ ซึ่งส่วนเนื่องพัฒนาอันเนื่องมากจากความต้องการที่จะตอบโต้แนวคิดเศรษฐศาสตร์คลาสสิคใหม่ ยังคงยืนหยัดที่จะใส่รากฐานทางเศรษฐศาสตร์จุลภาคเข้าไปยังเศรษฐศาสตร์แบบเคนส์เพื่อแสดงให้เห็นว่าตลาดไม่สมบูรณ์สามารถจัดการอุปสงค์ได้อย่างไร
ดูเพิ่ม
อ้างอิง
- ; Sheffrin, Steven M. (2003), Economics: Principles in Action, Upper Saddle River, New Jersey 07458: Pearson Prentice Hall, p. 57, ISBN
{{}}
: CS1 maint: location () - Steve Williamson, Notes on Macroeconomic Theory, 1999
สารานุกรม
- Blanchard, Olivier (2000). Macroeconomics. . ISBN .
- Blanchard, Olivier. (2009). "The State of Macro." Annual Review of Economics 1(1): 209-228.
- Blanchard, Olivier (2011). Macroeconomics Updated (5th ed.). Englewood Cliffs: Prentice Hall. ISBN .
- Blaug, Mark (1986), Great Economists before Keynes, Brighton: Wheatsheaf.
- Blaug, Mark (2002). "Endogenous growth theory". ใน Snowdon, Brian; Vane, Howard (บ.ก.). An Encyclopedia of Macroeconomics. Northampton, Massachusetts: Edward Elgar Publishing. ISBN .
- Boettke, Peter (2001). Calculation and Coordination: Essays on Socialism and Transitional Political Economy. . ISBN .
- Bouman, John: Principles of Macroeconomics – free fully comprehensive Principles of Microeconomics and Macroeconomics texts. Columbia, Maryland, 2011
- Dimand, Robert W. (2008). Durlauf, Steven N.; Blume, Lawrence E. (บ.ก.). Macroeconomics, origins and history of. The New Palgrave Dictionary of Economics. Palgrave Macmillan UK. pp. 236–44. doi:10.1057/9780230226203.1009. ISBN .
- Durlauf, Steven N.; Hester, Donald D. (2008). "IS–LM". ใน Durlauf, Steven N.; Blume, Lawrence E. (บ.ก.). The New Palgrave Dictionary of Economics (2nd ed.). Palgrave Macmillan. pp. 585–91. doi:10.1057/9780230226203.0855. ISBN . สืบค้นเมื่อ 5 June 2012.
- Dwivedi, D.N. (2001). Macroeconomics: theory and policy. New Delhi: Tata McGraw-Hill. ISBN .
- Friedman, Milton (1953). Essays in Positive Economics. London: . ISBN .
- Haberler, Gottfried (1937). Prosperity and depression. League of Nations.
- Leijonhufvud, Axel The Wicksell Connection: Variation on a Theme. UCLA. November, 1979.
- Healey, Nigel M. (2002). "AD-AS model". ใน Snowdon, Brian; Vane, Howard (บ.ก.). An Encyclopedia of Macroeconomics. Northampton, Massachusetts: Edward Elgar Publishing. pp. 11–18. ISBN .
- Heijdra, Ben J.; van der Ploeg, Frederick (2002). Foundations of Modern Macroeconomics. . ISBN .
- Mankiw, N. Gregory (2014). Principles of Economics. Cengage Learning. ISBN .
- Mises, Ludwig Von (1912). Theory of Money and Credit. .
- Mayer, Thomas (2002). "Monetary policy: role of". ใน Snowdon, Brian; Vane, Howard R. (บ.ก.). An Encyclopedia of Macroeconomics. Northampton, Massachusetts: Edward Elgar Publishing. pp. 495–99. ISBN .
- Mishkin, Frederic S. (2004). The Economics of Money, Banking, and Financial Markets. Boston: . p. 517. ISBN .
- Nakamura, Emi and Jón Steinsson. (2018). "Identification in Macroeconomics." Journal of Economic Perspectives 32(3): 59-86.
- Peston, Maurice (2002). "IS-LM model: closed economy". ใน Snowdon, Brian; Vane, Howard R. (บ.ก.). An Encyclopedia of Macroeconomics. Edward Elgar. ISBN .
- Pokrovskii, Vladimir (2018). Econodynamics. The Theory of Social Production. Springer, Dordrecht-Heidelberg-London-New York.
- Reed, Jacob (2016). AP Economics Review, Macroeconomics.
- Solow, Robert (2002). "Neoclassical growth model". ใน Snowdon, Brian; Vane, Howard (บ.ก.). An Encyclopedia of Macroeconomics. Northampton, Massachusetts: Edward Elgar Publishing. ISBN .
- Snowdon, Brian, and Howard R. Vane, ed. (2002). An Encyclopedia of Macroeconomics, & scroll to Contents-preview links.
- Snowdon, Brian; Vane, Howard R. (2005). Modern Macroeconomics: Its Origins, Development And Current State. Edward Elgar Publishing. ISBN .
- Gärtner, Manfred (2006). Macroeconomics. Pearson Education Limited. ISBN .
- Warsh, David (2006). Knowledge and the Wealth of Nations. Norton. ISBN .
- Levi, Maurice (2014). The Macroeconomic Environment of Business (Core Concepts and Curious Connections). New Jersey: World Scientific Publishing. ISBN .
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
txngkarxangxing esrsthsastrmhphakhkhrxbkhlumesrsthkicthnghmd sungrwmipthungbthbathaelakhwamsmphnthrahwangxngkhkr rthbal kbkhrweruxn aelapraephthkhwamaetktangkhxngtlad echn tladkarengin aelatladaerngngan esrsthsastrmhphakh xngkvs macroeconomics epnsakhakhxngesrsthsastraekhnnghnungthisuksaekiywkbkhwamsamarth okhrngsrang phvtikrrm aelakartdsinicinrabbesrsthkicinphaphrwm sungprakxbipdwyesrsthkicradbphumiphakh praeths aelaradbolknkesrsthsastrmhphakh suksadchnirwm xathi cidiphi rayidprachachati aelakhwamsmphnthrahwangknkhxngaetlaphakhinrabbesrsthkicephuxthakhwamekhaicthungkarthangankhxngesrsthkic phwkekhayngphthnaaebbcalxngthixthibaykhwamsmphnthrahwangpccytang xathi rayidprachachati phlphlit karbriophkh karwangngan enginefx karxxm karlngthun karkharahwangpraeths aelakarenginrahwangpraeths aemwaesrsthsastrmhphakhcaepnsastrthikwang aetmnkprakxbdwysxngswnthiepnhwicsakhykhxngsastrni khuxkarsuksasaehtuaelaphllphthkhxngkhwamphnphwninrayasninrayidprachachati aelakarsuksapccythisngphltxkarecriyetibotinrayayawkhxngesrsthkic karephimrayidprachachati aebbcalxngthangesrsthsastrmhphakhaelakarphyakrnmkcathukichodyrthbalephuxchwyihekidkarphthnaaelakarpraeminnoybayesrsthkicaenwkhidesrsthsastrmhphakhebuxngtnesrsthsastrmhphakhkhrxbkhlumhlay aenwkhidaelahlay twaepr aetwamixyusampraednsakhysahrbnganwicythangesrsthsastrmhphakh thvsdiesrsthsastrmhphakhmkechuxmoyngpraktkarnthangphlphlit karwangngan aelaenginefx nxkehnuxipcakthvsdiesrsthsastr hwkhxehlaniyngmikhwamsakhyxyangmaktxtwaesdngthangesrsthsastrthuktw prakxbdwykhnngan phubriophkh aela phlphlitaelarayid phlphlitprachachatikhuxphlrwmkhxngthukxyangthipraethsphlitidinchwngkhnahnung thukxyangthithukphlitkhunaelakhaysrangrayidinprimanthiethakn phlphlitrwmkhxngrabbesrsthkichnung thukiwodycidiphitxprachakr phlphlitaelarayidthukmxngwaethaknaelasamarthichaethnknid phlphlitepliynidepnrayid phlphlitthukwdkhunhruxsamarthmxngidcakfngkarphlitaelathukwdepnphlrwmkhxngsinkhaaelabrikarkhnsudthay hruxphlrwmkhxngmulkhaephiminrabbesrsthkic phlphlitthangesrsthkicmhphakhmkthukwdodyphlitphnthmwlrwmphayinpraeths cidiphi hruxsingidsinghnunginbychiprachachati esrsthkrphuthisnicinkarephimkhuninrayayawsuksakarecriyetibotthangesrsthkic khwamkawhnathangethkhonolyi karsasmekhruxngckraelathunxun aelakarmikarsuksaaelathunmnusythidikhunepnpccythithaihekidkarephimkhuninphlphlitthangesrsthkictlxdchwngewla xyangirkdi phlphlitimcaepncatxngephimkhunxyangkhnesnkhnwatlxdewla wtckrthurkicsamarthkxihekidkarldlnginrayasnthieraeriykwaphawaesrsthkicthdthxy esrsthkrmxnghanoybaythangesrsthsastrmhaphkhthipxngknesrsthkicimihekhasuphawathdthxyaelathaihkarecriyetibotinrayayawerwmakkhun karwangngan enginefxaelaenginfud karthiradbrakhathwipkhxngthngpraethsephimkhuneriykwaenginefx tharakhaldlng nnkhuxmi enginfud esrsthkrwdkarepliynaeplnginrakhaodyichdchnirakha enginefxsamarthekidkhunidemuxesrsthkicrxnaerngekinipaelaetibotmakekinip inthangediywkn phawaesrsthkicthdthxynaipsuenginfud thnakharklang phubriharprimanenginkhxngpraeths mkcahlikeliyngkarepliynaeplnginradbrakhaodyichnoybaykarengin karephimkhuninxtradxkebiyhruxkarldlnginprimanengininesrsthkicmkthanganenginefxldlng enginefxsamarthkxihekidkarephimkhuninkhwamimaennxnaelaphlesiythitammaxun enginfudthaihphlphlitthangesrsthkicldlng thnakharklangphyayamthicarksaesthiyrphaphthangrakhaephuxpxngknesrsthkiccakphlesiythitammaemuxrakhaekidkarepliynaeplngaebbcalxngthangesrsthsastrmhphakhxupsngkhmwlrwm xupthanmwlrwm aebbcalxngexdi exexs epnaebbcalxngphunthaninkarxthibayesrsthkicmhphakh ixexs aexlexm aebbcalxngixexs aexlexmaesdngthungkarprasanknkhxngxtradxkebiyaelaphlphlitthithaihekiddulyphaphintladsinkhaaelatladengin tladsinkhaidaesdngphandulyphaphinkarlngthunaelakarxxm ixexs swntladenginidaesdngdulyphaphinxupthanenginaelakhwamchunchxbinsphaphkhlxng esnixexsprakxbdwycudhlay cudthikarlngthun emuxxtradxkebiykhngthi ethakbkarxxm emuxphlphlitkhngthi esnokhngixexsmikhwamchnldlngephraaphlphlitaelaxtradxkebiymikhwamsmphnthaebbphkphnknintladsinkha aebbcalxngkarecriyetibot aebbcalxngkarecriyetibotaebbnioxkhlassikhkhxngorebirt osolw klayepnaebbcalxngmatrthaninkarxthibaykarecriyetibotthangesrsthkicinrayayaw aebbcalxngerimcakfngkchnkarphlitthirayidprachachatiepnphlphlitkhxngpccynaekhasxngxyang khuxthunaelaaerngngan aebbcalxngosolwsmmtiwathunaelaaerngnganthukichinxtrathikhngthiodythiimmikhwamphnphwnkhxngxtrawangngan aelakarichkalngkarphlitthimkcaphbidinwtckrthurkic karephimkhuninphlphlit hruxkaretibotthangesrsthkic samarthekidkhunidechphaahakekidkarephimkhunkhxngkarsasmthun prachakrthimakkhun aelakarepliynaeplnginethkhonolyithinaipsuphlitphaphthimakkhun phlitphaphkhxngpccyrwm karephimkhuninxtrakarxxmsngphltxkarephimkhunephiyngchwkhrawenuxngcakrabbesrsthkicphlitthunmakkhun sungnaipsukarephimphlphlit aetxyangirkdi naipsuthiwakhaesuxmcacakdkarkhyaytwkhxngthun thaihkarxxmcanamaichephuxchdechythunthiesuxmlngip aelaenginxxmcaimphxthicacayihekidkarkhyaytwkhxngthunxik aebbcalxngosolwyngaenanawakaretibotthangesrsthkicinrupkhxngphlphlittxhnwykhunxyukbaekhephiyngkhwamkawhnainethkhonolyithithaihphlitphaphephimkhun inthswrrs 1980 aela 1990 thvsdikarecriyetibotcakphayinidphthnakhunephuxthathaythvsdikaretibotaebbnioxkhlassikh chudaebbcalxngnixthibaykarecriyetibotthangesrsthkicphanpccyxunxathi phltxbaethnephimkhuncakkarkhyaykarphlit aelakareriynrucakkarthangan sungthukkahndmacakphayinaethnthicaichkarphthnaethkhonolyicakphaynxkemuxdngthiichinkarxthibaykaretibotinaebbcalxngosolwnoybaythangesrsthkicmhphakhnoybaykarengin thnakharklangichnoybaykarenginodykarkhwbkhumprimanenginphankliktang noybaykarkhlng noybaykarkhlngkhuxkarichrayidaelaraycayrthbalinkarepnekhruxngmuxephuxsrangphlkrathbtxesrsthkic xathiechn raycay phasi aelahni epriybethiyb esrsthkrmkcachunchxbnoybaykarenginmakkwakarkhlngephraawamnmikhxdisxngprakarphthnakarbthkhwamhlk prawtikhwamkhidthangesrsthsastrmhphakh thima esrsthsastrmhphakhepnlukhlankhxngaekhnngwichathiekhyaetkxxkcakknxyangthvsdiwtckrthurkicaelathvsdikarenginmhphakh thvsdiprimanenginmixiththiphlxyangmakinchwngkxnsngkhramolkkhrngthi 2 mnmihlayrupaebb rwmthngrupaebbthixingcakngankhxngexxrwing fichechxr M V P Q displaystyle M cdot V P cdot Q inmummxngebuxngtnkhxngthvsdiprimanenginni khwamerwkhxngengin V aelaprimansinkhathiphlitid Q khngthi dngnnkarephimkhuninprimanengin M casngphlodytrngtxkarephimkhuninradbrakha P thvsdiprimanenginepnhwicsakhykhxngthvsdithangesrsthkicaebbkhlassikhthiidrbkaryxmrbinchwngtnstwrrsthi 20 sankxxsetriy ngankhxngludwik wxn imss thichux Theory of Money and Credit tiphimphinpi 1912 epnhnunginhnngsuxsakhykhxngsankxxsetriythiichaekpyhaesrsthsastrmhphakh ekhnsaelasawk esrsthsastrmhphakh insmyihm rierimcaknganphimphkhxngcxhn emnard ekhnsthichux General Theory of Employment Interest and Money emuxekidphawaesrsthkictktakhrngihykhun esrsthkrkhlassikhimsamarthhaehtuphlidwathaimsinkhathungkhayimxxkaelakarphawawangngankhuninkhnngan inthvsdiaebbkhlassikh rakhaaelakhacangcaldcnkwatladcatrwcphan aelasinkhaaelaaerngnganthukchnidcakhayxxk ekhnsnaesnxthvsdiihmthangesrsthsastrthixthibaywathaimtladcaimtrwcphan sungthukphthna instwrrsthi 20 susankkhidthangesrsthsastrmhphakhthieriykwaesrsthsastraebbekhns hruxthieriykwa ekhnsniymhruxthvsdiekhns inthvsdiaebbekhns thvsdiprimanenginthukthalaylngephraawaprachachnaelathurkicmkcathungenginsdiwinyamthiesrsthkickalngyaklabak sungepnpraktkarnthiekhaeriykwaphawakarchunchxbinsphaphkhlxng ekhnsyngxthibayphltwthwiwacaepntwthwikarldlngkhxngkarbriophkhhruxkarlngthunephiyngelknxyihekidkarthdthxythwthngesrsthkic ekhnsyngihkhwamehnwabthbathkhxngkhwamimaennxnaelasychatyanstwmibthbathinrabbesrsthkic runtxmathdcakekhnsidrwmesrsthsastrmhphakhin thvsdithwip kbesrsthsastrculphakhaebbnioxkhlassikhephuxsrangkarsngekhraahnioxkhlassikh kxnthswrrs 1950 esrsthkrhlaykhnyxmrbinkarsngekhraahthangesrsthsastrmhphakhni esrsthkrxyang phxl aesmmwlsn frngok omdicani ecms othbin aelaorebirt osolw phthnaaebbcalxngrupnyaebbekhnskhunmaaelasrangthvsdirupnykhxngkarbriophkh karlngthun aelaxupsngkhtxenginthiaebbhwichlkkhxngkrxbkhwamkhidaebbekhns sankkarenginniym miltn fridaemn idprbprungthvsdiprimanenginihkhwbrwmbthbathkhxngxupsngkhenginekhaipdwy ekhaxangwabthbathkhxngenguninesrsthkicephiyngphxthicaxthibayphawaesrsthkictktakhrngihy aelakhaxthibaythiekiywkhxngkbxupsngkhmwlrwmimcaepnmaknk fridaemnyngxangwanoybaykarenginmiprasiththiphaphmakkwanoybaykarkhlng xyangirkdi fridaemnyngkhngsngsythungkhwamsamarthkhxngrthbalinkarrksaesthiyrphaphesrsthkicodyichnoybaykarengin ekhayngchunchxbnoybaythiwadwykaretibotkhxngprimanenginxyangkhngthiepnkarthwipaethnthikaraethrkaesngepnraya fridaemnyngthathaykhwamsmphnthkhxngesnokhngfillipsrahwangenginefxaelakarwangngan fridaemnaelaexdmnd eflps phuthiimichnkkarenginniym esnxesnokhngfillipsrupaebbephimetimthinakhwamepnipidthicaekidkaridxyangesiyxyanginrayayawxyangmiesthiyrphaphrahwangenginefxaelakarwangnganxxkip emuxchxkhnamninthswrrs 1970 srangkarwangnganthimakaelaenginefxthisung fridaemnaelaeflpsidrbkarsrresriyepnxyangmak sankkarenginniymmixiththiphlepnxyangmakinchwngtnthswrrsthi 1980 aelaesuxmkhwamniymemuxthnakharklangphbwamnyakthicaichepahmayprimanenginaethnthicaepnxtradxkebiyxyangthinkkarenginniymihkhaaenanaiw sankkarenginniymidrbkhwamniymldlnginechingkaremuxngxikkhrngemuxthnakharklangidsrangphawathdthxykhunephuxldphawaenginefx khlassikhihm esrsthsastrmhphakhkhlassikhihmyngkhngthathaysankekhns phthnakarhlk inaenwkhidaebbkhlassikhihmmaemux orebirt lukhs rierimkarkhadhmaythimiehtuphltxesrsthsastrmhphakh kxnhnalukhs esrsthkrniymichkarkhadhmayinxditthitwaethnmkcathuksmmtiwaihmxngklbipyngxditephuxkhadkarnxnakht phayitkarkhadhmaythimiehtuphl twaethnthukmxngwamikhwamsbsxnmakkhun phubriophkhimephiyngaetsmmtixtraenginefx 2 aekhephiyngephraawaepnkarhakhaechliyinchwngpithiphanma aetethxmxngipyngnoybaykarengininpccubnaelasphaphkarnthangesrsthkicaelwthungnamasrangkarphyakrn emuxesrsthkrkhlassikhihmnakarkhadhmaythimiehtuphlmaisinaebbcalxng phwkekhaaesdngwanoybaykarenginmiphlkrathbinwngcakd lukhsyngidsrangkarwiphaksthieluxngluxekiywkbaebbcalxngechingprackskhxngsankekhns ekhaxangwaaebbcalxngphyakrnthixingcakkhwamsmphnthechingpracksmkcasrangkarphyakrnaebbedimaemwakhxmulthinamasrangaebbcalxngnncaepliynaeplngip ekhaihkarsnbsnunaebbcalxngthithixingcakthvsdiesrsthsastrphunthan sunginhlkkarkhwrcamikhwamaemnyahaksphaphesrsthkicepliynaeplngip phayhlngkhxwiphakskhxnglukhs esrsthkrkhlassikhihmnaody exdewird si ephrskhxtt aela finn xi khidaelnd srangaebbcalxngwdckrthurkiccring xarbisi khxngesrsthkicmhphakh aebbcalxngxarbisithuksrangodyphnwksmkarphunthancakesrsthsastrculphakhnioxkhlassikh inkrnithicasrangkhwamphnphwninesrsthkicmhphakh aebbcalxngxarbisixthibayphawathdthxyaelakarwangnganodyichkarepliynaeplnginethkhonolyiaethnthicaepnkarepliynaeplngintladsinkhahruxengin phuthicarnaebbcalxngxarbisixangwaenginmibthbathsakhyinrabbesrsthkicxyangehnidchd aelaaenwkhideruxngkarthdthxythangethkhonolyisamarthxthibaykarthdthxyinrayathiphanmaniepneruxngthiepnipimid xyangirkdi chxkhinthangethkhonolyiepnephiyngsingthiehnidchdthisudinbrrdachxkhtxrabbcanwnmakthiepnipidthisamarthnamasrangaebbcalxng thng thimikhathammakmayekiywkbthvsdiebuxnghlngaebbcalxngxarbisi aetmnkidrbkaryxmrbaelamixiththiphlmakinraebiybwithithangesrsthsastr kartxbotkhxngekhnsihm esrsthkrsankekhnsihmtxbotsankkhlassikhihmodykarphthnakarkhadkarnxyangmiehtuphlaelaennipthikarphthnaaebbcalxngthimirakthanmacakculphakhthiimidrbphlcakkhxwiphakskhxnglukhs aela srangnganinrayaaerkodykaraesdngihehnwanoybaykarenginyngkhngmiprasiththiphaphaemcaichinaebbcalxngthimikarkhadkarnxyangmiehtuphlemuxkhacangaerngnganthuksyyakakbiwimihepliyn esrsthkrsankekhnsihmkhnxunidaek oxliwieyr aeblnchard huliox oretmebirk ekrk aemnkhiw edwid oremxr aelaimekhil wudfxrd khyaynganchinniaelasuksakrnixun thirakhaaelakhacangkhybimidthinaipsukarthinoybaykarenginaelakarkhlngnaipsuphlkrathbthiaethcring echnediywkbaebbcalxngkhlassikh aebbcalxngkhlassikhihmtngsmmtithanwarakhasamarthprbidodysmburnaelanoybaykarengincasngphlihrakhaepliynaeplngethann aebbcalxngekhnsihmesaahathimakhxngkarthirakhaaelakhacangmikhwamhnudxnenuxngmacakkaraekhngkhnthiimsmburn sungthaihnoybaykarenginsngphlkrathbtxprimanaethnthicaepnrakha inchwngthaythswrrsthi 1990 esrsthkridkhxsrupxyanghyab odykarnakhwamhnudaekhngekrngtamtwenginkhxngthvsdiekhnsihmphnwkrwmkbkarkhadhmaythimiehtuphlaelaraebiybwithixarbisiinkarsrangaebbcalxngdulyphaphthwipechingphlwtaebbsum diexscixi karphnwkrwmkhxngkhunsmbtiehlanicaksankkhidthiaetktangknthaihekidkarsngekhraahnioxkhlassikh aebbcalxngehlaniinpccubnichinthnakharklanghlaythnakharaelaklayepnswnsakhykhxngesrsthsastrmhphakhrwmsmy esrsthsastrekhnsihm sungswnenuxngphthnaxnenuxngmakcakkhwamtxngkarthicatxbotaenwkhidesrsthsastrkhlassikhihm yngkhngyunhydthicaisrakthanthangesrsthsastrculphakhekhaipyngesrsthsastraebbekhnsephuxaesdngihehnwatladimsmburnsamarthcdkarxupsngkhidxyangirduephimkarphthnaesrsthkicxangxing Sheffrin Steven M 2003 Economics Principles in Action Upper Saddle River New Jersey 07458 Pearson Prentice Hall p 57 ISBN 978 0 13 063085 8 a href wiki E0 B9 81 E0 B8 A1 E0 B9 88 E0 B9 81 E0 B8 9A E0 B8 9A Citation title aemaebb Citation citation a CS1 maint location Steve Williamson Notes on Macroeconomic Theory 1999saranukrmBlanchard Olivier 2000 Macroeconomics ISBN 978 0 13 013306 9 Blanchard Olivier 2009 The State of Macro Annual Review of Economics 1 1 209 228 Blanchard Olivier 2011 Macroeconomics Updated 5th ed Englewood Cliffs Prentice Hall ISBN 978 0 13 215986 9 Blaug Mark 1986 Great Economists before Keynes Brighton Wheatsheaf Blaug Mark 2002 Endogenous growth theory in Snowdon Brian Vane Howard b k An Encyclopedia of Macroeconomics Northampton Massachusetts Edward Elgar Publishing ISBN 978 1 84542 180 9 Boettke Peter 2001 Calculation and Coordination Essays on Socialism and Transitional Political Economy ISBN 978 0 415 77109 2 Bouman John Principles of Macroeconomics free fully comprehensive Principles of Microeconomics and Macroeconomics texts Columbia Maryland 2011 Dimand Robert W 2008 Durlauf Steven N Blume Lawrence E b k Macroeconomics origins and history of The New Palgrave Dictionary of Economics Palgrave Macmillan UK pp 236 44 doi 10 1057 9780230226203 1009 ISBN 978 0 333 78676 5 Durlauf Steven N Hester Donald D 2008 IS LM in Durlauf Steven N Blume Lawrence E b k The New Palgrave Dictionary of Economics 2nd ed Palgrave Macmillan pp 585 91 doi 10 1057 9780230226203 0855 ISBN 978 0 333 78676 5 subkhnemux 5 June 2012 Dwivedi D N 2001 Macroeconomics theory and policy New Delhi Tata McGraw Hill ISBN 978 0 07 058841 7 Friedman Milton 1953 Essays in Positive Economics London ISBN 978 0 226 26403 5 Haberler Gottfried 1937 Prosperity and depression League of Nations Leijonhufvud Axel The Wicksell Connection Variation on a Theme UCLA November 1979 Healey Nigel M 2002 AD AS model in Snowdon Brian Vane Howard b k An Encyclopedia of Macroeconomics Northampton Massachusetts Edward Elgar Publishing pp 11 18 ISBN 978 1 84542 180 9 Heijdra Ben J van der Ploeg Frederick 2002 Foundations of Modern Macroeconomics ISBN 978 0 19 877617 8 Mankiw N Gregory 2014 Principles of Economics Cengage Learning ISBN 978 1 305 15604 3 Mises Ludwig Von 1912 Theory of Money and Credit Mayer Thomas 2002 Monetary policy role of in Snowdon Brian Vane Howard R b k An Encyclopedia of Macroeconomics Northampton Massachusetts Edward Elgar Publishing pp 495 99 ISBN 978 1 84542 180 9 Mishkin Frederic S 2004 The Economics of Money Banking and Financial Markets Boston p 517 ISBN 9780321122353 Nakamura Emi and Jon Steinsson 2018 Identification in Macroeconomics Journal of Economic Perspectives 32 3 59 86 Peston Maurice 2002 IS LM model closed economy in Snowdon Brian Vane Howard R b k An Encyclopedia of Macroeconomics Edward Elgar ISBN 9781840643879 Pokrovskii Vladimir 2018 Econodynamics The Theory of Social Production Springer Dordrecht Heidelberg London New York Reed Jacob 2016 AP Economics Review Macroeconomics Solow Robert 2002 Neoclassical growth model in Snowdon Brian Vane Howard b k An Encyclopedia of Macroeconomics Northampton Massachusetts Edward Elgar Publishing ISBN 1840643870 Snowdon Brian and Howard R Vane ed 2002 An Encyclopedia of Macroeconomics amp scroll to Contents preview links Snowdon Brian Vane Howard R 2005 Modern Macroeconomics Its Origins Development And Current State Edward Elgar Publishing ISBN 1845421809 Gartner Manfred 2006 Macroeconomics Pearson Education Limited ISBN 978 0 273 70460 7 Warsh David 2006 Knowledge and the Wealth of Nations Norton ISBN 978 0 393 05996 0 Levi Maurice 2014 The Macroeconomic Environment of Business Core Concepts and Curious Connections New Jersey World Scientific Publishing ISBN 978 981 4304 34 4