การจัดการทรัพยากรมนุษย์ หรือ การบริหารทรัพยากรมนุษย์ คือ การใช้กลยุทธ์เชิงรุกที่มีความสัมพันธ์กันอย่างต่อเนื่องในการบริหารจัดการทรัพยากรที่มีคุณค่ามากที่สุดในองค์กร นั่นคือบุคคลที่ทำงานทั้งกรณีที่ทำงานรวมกันและกรณีที่ทำงานคนเดียวเพื่อบรรลุเป้าหมายในการประกอบธุรกิจใดๆ กลยุทธ์ในการจัดการทรัพยากรมนุษย์นั้นจะเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วไปตามเวลาและสถานการณ์ จึงต้องมีการพัฒนาและปรับปรุงตลอดเวลา ด้วยเหตุนี้ในธุรกิจหลากหลายประเภทและขนาดจึงมีแผนกหรือหน่วยงานที่ทำหน้าที่ในการจัดการทรัพยากรมนุษย์โดยเฉพาะ ซึ่งขนาดของแผนกหรือหน่วยงานนั้น จะมากน้อยก็ขึ้นอยู่กับขนาดของธุรกิจเองรวมถึงความสำคัญของทรัพยากรมนุษย์ด้วยว่าสำคัญยิ่งยวดมากน้อยเพียงใด การจัดการทรัพยากรมนุษย์ถือเป็นทั้งทฤษฎีในเชิงวิชาการและแบบปฏิบัติในธุรกิจที่ศึกษาวิธีการบริหารทั้งในภาคทฤษฎีและปฏิบัติ
แนวคิด
ปัจจุบันการบริหารจัดการและบริหารทรัพยากรมนุษย์มีสำคัญเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ ต่อองค์กรต่างๆ ทั้งในภาคธุรกิจ หรือแม้กระทั่งในหน่วยงานภาคราชการเอง เพราะไม่ว่าองค์กรจะปรับปรุงเปลี่ยนแปลงไปในทางใด ย่อมต้องเกี่ยวข้องกับตัวบุคคลทั้งสิ้น จึงอาจกล่าวได้ว่า ตัวชี้วัดความสำเร็จอย่างยั่งยืนขององค์กรนั้นอยู่ที่ "คุณภาพของคน" ในองค์กรนั้นๆ
ก่อนที่องค์กรต่างๆ จะเริ่มเห็นความสำคัญของการจัดการทรัพยากรมนุษย์นั้น บุคคลเคยถูกมองเห็นว่าเป็นเพียงแค่ปัจจัยการผลิต หรือให้ความสำคัญเป็นแค่แรงงานหรือกำลังคน แต่ในปัจจุบัน บุคคลได้รับการนิยามใหม่พัฒนาความสำคัญเป็น "ทรัพยากรมนุษย์" ส่วนแผนกหน่วยงานที่รับผิดชอบเกี่ยวกับบุคคลในองค์กรก็กำลังเปลี่ยนบทบาทจาก "งานบริหารบุคคลและธุรการ" ไปเป็น "การจัดการทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์" ซึ่งเปลี่ยนจากการจัดการเฉพาะหน้า ไปเป็นการใช้กลยุทธ์เข้ารุกอย่างเต็มตัวและต่อเนื่องไปในระยะยาว
ปรากฏการณ์การเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนี้ แพร่หลายอย่างมากใน สาขาการจัดการทรัพยากรมนุษย์ภาคปฏิบัติ (HR Practice) อย่างไรก็ตามเรื่องราวต่างๆ เหล่านี้ย่อมมีฐานความคิดทางวิชาการเกื้อหนุนอยู่เบื้องหลัง การจะเข้าใจเรื่องเหล่านี้อย่างถ่องแท้ จึงจำเป็นต้องเข้าใจหลักทางความคิดด้วย จากการทบทวนเอกสารทางวิชาที่เกี่ยวข้อง กับการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ในเบื้องต้น พบว่ามีการพัฒนาตัวแบบ เกี่ยวกับเรื่องนี้จากนักคิดนักวิจัยใน 2 กลุ่มประเทศสำคัญ คือ กลุ่มนักคิดในประเทศสหรัฐอเมริกา และกลุ่มนักคิดในสหราชอาณาจักร โดยสามารถจำแนกกลุ่มทางความคิดได้ดังนี้
กลุ่มนักคิดในสหรัฐอเมริกา
สำหรับกลุ่มนี้มีตัวแบบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่สำคัญจาก 2 คือ
- ตัวแบบการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์กลุ่มฮาร์วาร์ด (The Harvard model) หรือเรียกว่ากลุ่มแนวคิดแบบ "เชิงพัฒนาการ" (Developmental humanism) เป็นแนวคิดกระแสหลักที่ทรงอิทธิพลและแพร่หลายที่สุด มีรากฐานทางความคิดมาจากสำนักคิด "มนุษยสัมพันธ์" ซึ่งมีจุดเน้นทางความคิดอยู่ที่เรื่องของการสื่อสารในองค์การ การสร้าง และการใช้ความสามารถของแต่ละบุคคล ให้เกิดสูงสุด กล่าวโดยสรุปสำหรับแนวคิดของสำนักนี้แล้ว การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์จะให้ความสำคัญกับเรื่องของการสร้างสัมพันธภาพของคนในองค์กร เพราะการที่จะทำให้องค์กรมีผลประกอบการที่ดีขึ้น องค์กรจะต้องสามารถตอบสนองความต้องการ ของบุคลากรในองค์กรให้เหมาะสม และเมื่อบุคลากรได้รับการตอบสนองที่ดี ก็จะเกิดแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ทำให้องค์การเกิดภาวะอยู่ดีมีสุขทางสังคมขึ้นภายในองค์การ อันจะนำไปสู่คุณภาพและปริมาณงานที่ดีขึ้น
- ตัวแบบการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์สำนักมิชิแกน (The Michigan School) หรือเรียกอีกนามหนึ่งว่าเป็นแนวคิดแบบ "" (Managerialism) กล่าวคือ เป็นกลุ่มที่เน้นเรื่องของ การบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ ที่มองการจัดการทรัพยากรมนุษย์ จากมุมมองของฝ่ายจัดการ ธรรมชาติของฝ่ายจัดการคือ การให้ความสำคัญอันดับแรกที่ผลประโยชน์ตอบแทนที่องค์กรจะได้รับ โดยที่เรื่องของคน และการบริหารจัดการคนเป็นเครื่องมือ ในการที่จะทำให้บรรลุสู่เป้าหมายเช่นนั้นขององค์การ ดังนั้นจึงมีผู้เรียกแนวคิดการบริหารจัดการ ทรัพยากรมนุษย์ของสำนักคิดนี้ว่า เป็นพวก "-" (Utilitarian-instrumentalism) คือมองผลประโยชน์หรือผลประกอบการขององค์กรเป็นหลัก โดยมีการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์เป็นกลไกสำคัญ ในการขับเคลื่อนองค์กรให้ไปสู่ผลประกอบการที่เป็นเลิศ
กลุ่มนักคิดในสหราชอาณาจักร
สำหรับแวดวงวิชาการด้านการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ของสหราชอาณาจักรก็คล้ายๆ กับสำนักคิดของสหรัฐอเมริกา คือ มีการนำเสนอแนวคิดของ 2 กลุ่มความคิดที่มีจุดย้ำเน้นที่แตกต่างกันระหว่าง "กลุ่มอ่อน" กับ "กลุ่มแข็ง" กล่าวคือ
- สำหรับกลุ่มที่มีมุมมองแบบอ่อน (soft) คือ กลุ่มนักคิดที่ทุ่มน้ำหนักความสำคัญไปที่ คนมากกว่าการบริหารจัดการ โดยเชื่อว่าบุคลากรทุกคนเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่าอยู่ในตนเอง ดังนั้นแนวทางของกลุ่มความคิดนี้ จึงมองการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ว่า จะเป็นวิธีการหนึ่งที่จะต้องช่วยปลดปล่อยพลังศักยภาพทั้งมวลของทรัพยากรมนุษย์ออกมา การจัดการทรัพยากรมนุษย์แนวนี้ จึงเน้นในเรื่องของการสร้างความไว้เนื้อเชื่อใจกัน การหาแนวทางที่จะสร้างความรู้สึกถึงการ มีพันธกิจผูกพัน (commitment) เกี่ยวข้อง (involvement) และการมีส่วนร่วม (participation) ให้เกิดขึ้นในหมู่มวลพนักงาน
- สำหรับกลุ่มที่มีมุมมองแบบแข็ง (hard) ก็คือ กลุ่มนักคิดที่ทุ่มน้ำหนักความสำคัญไปที่เรื่องของ การบริหารจัดการมากกว่าเรื่องของคน ดังนั้นแนวทางของกลุ่มความคิดนี้ จึงมองการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ว่า เป็นภาระงานด้านหนึ่งที่องค์กรจะสามารถเพิ่มพูนผลตอบแทนทางเศรษฐกิจให้ได้มากที่สุดจากการใช้ทรัพยากรบุคคลให้เกิดประโยชน์สูงสุด แนวทางที่สำคัญอย่างหนึ่งที่จะทำให้การบริหารจัดการองค์การให้เกิดประสิทธิภาพก็คือ ต้องมีการ (integrate) เรื่องของการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์เข้ากับกลยุทธ์ทางธุรกิจขององค์กร
มิติของการจัดการทรัพยากรมนุษย์
การจัดการทรัพยากรมนุษย์ไม่ว่าจะเป็นกลุ่ม "อ่อน" ที่ใช้ปรัชญาแบบ "มนุษย์นิยมเชิงพัฒนา" หรือกลุ่ม "แข็ง" ที่มีปรัชญาแบบ "บริหารจัดการนิยม" มีผู้สรุปแนวโน้มของการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ไว้ แม้ในทางความคิดจะเป็นแนวคิดที่ต่างกลุ่มต่างสำนัก แต่ในที่สุดแล้วในทางปฏิบัติทั้ง 2 แนวคิดนี้จะต้องถูกบริหารจัดการหรือบูรณาการเข้าด้วยกัน โดยมี 4 มิติมุมมองที่จะช่วยยึดโยงกับการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์มากยิ่งขึ้น ได้แก่
- การกำหนดนโยบายด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลขององค์กรจะต้องบูรณาการอย่างเป็นระบบมากขึ้น ทั้งในแง่ของการบูรณาการกันเองของงานย่อยด้านการบริหารจัดการทรัพยากรบุคคลภายในองค์กร และการบูรณาการนโยบายด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลเข้ากับแผนนโยบายและยุทธศาสตร์ขององค์กร
- ความรับผิดชอบในด้านการบริหารทรัพยากรบุคคลขององค์การจะไม่ได้อยู่กับผู้บริหารด้านทรัพยากรบุคคลอีกต่อไป แต่จะถูกกำหนดให้ เป็นเรื่องที่ผู้บริหารสายงานด้านต่างๆ จะต้องรับผิดชอบ
- เรื่องของแรงงานสัมพันธ์ ที่เคยเป็นการเผชิญหน้าระหว่างผู้บริหารกับสหภาพแรงงาน จะเปลี่ยนไปเป็นเรื่องพนักงานสัมพันธ์ ทำให้แนวคิดการบริหารจัดการคนในองค์การเปลี่ยนจากแบบ "" (collectivism) ไปเป็น "" (individualism)
- แนวคิดเรื่องของการสร้างความมีพันธกิจผูกพัน การทำให้พนักงานรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งขององค์กร การคิดสร้างสรรค์และเรียนรู้ร่วมกันเป็นทีม ทำให้ผู้บริหารจะต้องปรับเปลี่ยนไปสู่บทบาทผู้นำในรูปแบบใหม่ๆ เช่น เป็นผู้เอื้ออำนวย เพิ่มบทบาทอำนาจ และ สร้างขีดความสามารถให้กับบุคลากร
ความสำคัญ
ในแง่จุดประสงค์ของการจัดการทรัพยากรมนุษย์นั้นมีประเด็นที่น่าสนใจว่า การที่จะเข้าใจในจุดประสงค์ของการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ได้ จะต้องเข้าใจถึงเป้าประสงค์ขององค์กรเสียก่อน หากกล่าวในเชิงาก็อาจกล่าวได้ว่าการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ไม่ได้เป็นสิ่งที่ "" (absolute) ในตัวมันเอง แต่ทว่าเป็นสิ่งที่จะต้อง "" (relative) ไปกับนั่นคือ นโยบายการบริหารจัดการองค์กร กล่าวง่ายๆ ก็คือ เป้าประสงค์ขององค์กรจะเป็นตัวกำหนดเป้าประสงค์ของการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์
ในทางธุรกิจองค์กรเอกชนแบบจารีตดั้งเดิมมักจะมีเป้าหมายใหญ่ๆ สำคัญ 3 ประการ คือ
- ประการที่ 1: เป้าหมายของการที่จะต้องสร้างความมั่นใจว่าองค์กรจะอยู่รอดได้พร้อมไปกับความสามารถที่จะมีกำไรในการประกอบธุรกิจได้อย่างเพียงพอ ซึ่งจะเกี่ยวโยงไปถึงบรรดาผู้ถือหุ้น หรือทางธุรกิจที่จะรักษาความเป็นหุ้นส่วนไว้หรือไม่
- ประการที่ 2: องค์กรเอกชนอาจจะต้องแสวงหารูปแบบของการมีความได้เปรียบในการแข่งขันอย่างยั่งยืน เพื่อที่จะทำให้องค์กรอยู่รอดและมีกำไรที่ต่อเนื่อง อย่างไรก็ตามในโลกยุคสมัยใหม่ที่มนุษย์ และสังคมได้ผ่านวิวัฒนาการและการพัฒนาทางความคิดและวิถีการดำรงชีวิตมาถึงจุดหนึ่ง ทำให้ยังมีสิ่งที่องค์กรพึงต้องพิจารณาให้ความสำคัญเพิ่มเติม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเศรษฐกิจสังคมยุคปัจจุบัน ที่เกิดพลวัตผลักดันสังคมให้ก้าวสู่การเป็นระบบเศรษฐกิจสังคมบนฐานความรู้
- ประการที่ 3: การประกอบธุรกิจนั้นมิใช่จะมุ่งมองแต่เรื่องผลกำไร และความอยู่รอดทางธุรกิจ ตามแนวคิดแบบจารีตดั้งเดิมได้อีกต่อไป สำหรับกระแสนิยมในปัจจุบันมีแนวโน้มที่จะเรียกร้องให้เกิดแนวคิดที่ว่า การดำรงอยู่ขององค์กรก็จะต้องให้ความใส่ใจกับผลกระทบที่ตนเองจะก่อให้เกิดขึ้นกับสังคมโดยรวมด้วย ดังนั้นองค์กรธุรกิจเอกชนจะต้องมีเป้าหมายเรื่องความชอบธรรมทางสังคมขององค์กรด้วย
เมื่อองค์กรธุรกิจเอกชนมีเป้าประสงค์ 3 ประการข้างต้น ได้แก่ การอยู่รอดด้วยผลกำไรที่เพียงพอ การมีขีดความสามารถในการแข่งขันอย่างยั่งยืน และการมีความชอบธรรมทางสังคม เป้าประสงค์เหล่านี้ย่อมส่งผลต่อเป้าประสงค์ของการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งอาจจะสามารถแปลงเป้าประสงค์ใหญ่ระดับองค์กรมาสู่เป้าประสงค์ย่อยในระดับการจัดการทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งจะสามารถช่วยให้เราเห็นภาพเป้าประสงค์ของการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ได้ดังนี้
- ในแง่ของการที่จะต้องสร้างความมั่นใจว่าองค์กรจะสามารถอยู่รอดได้พร้อมไปกับความสามารถที่จะมีกำไรในการประกอบธุรกิจได้อย่างเพียงพอนั้น การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์จะต้องกำหนดเป้าประสงค์ในแง่ของการสร้างด้านแรงงานให้เกิดขึ้นภายในองค์กร นั่นย่อมหมายถึงการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์จะต้องทำให้องค์กรเกิดความคุ้มค่าในการลงทุนที่เกี่ยวกับทรัพยากรบุคคลในองค์กร
- ในแง่ของการที่องค์กรประสงค์ที่จะมีความได้เปรียบในการแข่งขันอย่างยั่งยืน การบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ก็คงจะต้องกำหนดเป้าประสงค์ในแง่ของการที่จะทำให้องค์กรพร้อมรับกับการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นการทำให้องค์กรมีความยืดหยุ่นพร้อมรับกับการเปลี่ยนแปลงและการแข่งขันอย่างยั่งยืนจึงเป็นเป้าประสงค์ที่สำคัญอีกประการของงานด้านการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์
- ในแง่ของการที่องค์กรประสงค์ที่จะมีความชอบธรรมทางสังคม ก็ถือเป็นภาระหน้าที่สำคัญของการบริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่จะต้องมีเป้าหมายที่มุ่งเน้นการสร้างความรู้สึกให้องค์กรให้มีโดยเฉพาะอย่างยิ่งความรับผิดชอบต่อบุคลากรภายในองค์กร และผลกระทบจากการบริหารทรัพยากรบุคคลของบริษัท ที่จะไปมีผลต่อสังคมภายนอก ซึ่งต่อมาได้ขยายนิยามความรับผิดชอบ ออกไปสู่ความรับผิดชอบต่อสังคม สิ่งแวดล้อม และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับกลุ่มต่างๆ
อ้างอิง
- สมบัติ กุสุมาวลี, บริหารจัดการทรัพยากรมนุษย์ ไปเพื่ออะไร ?, โครงการบัณฑิตศึกษา การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์, ประชาชาติธุรกิจ วันที่ 16 ธันวาคม 2547 ปีที่ 28 ฉบับที่ 3645, หน้า 6
- "ความหมายของการบริหารทรัพยากรมนุษย์". WRITER. Technology Promotion Association. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2017.
wikipedia, แบบไทย, วิกิพีเดีย, วิกิ หนังสือ, หนังสือ, ห้องสมุด, บทความ, อ่าน, ดาวน์โหลด, ฟรี, ดาวน์โหลดฟรี, mp3, วิดีโอ, mp4, 3gp, jpg, jpeg, gif, png, รูปภาพ, เพลง, เพลง, หนัง, หนังสือ, เกม, เกม, มือถือ, โทรศัพท์, Android, iOS, Apple, โทรศัพท์โมบิล, Samsung, iPhone, Xiomi, Xiaomi, Redmi, Honor, Oppo, Nokia, Sonya, MI, PC, พีซี, web, เว็บ, คอมพิวเตอร์
karcdkarthrphyakrmnusy hrux karbriharthrphyakrmnusy khux karichklyuththechingrukthimikhwamsmphnthknxyangtxenuxnginkarbriharcdkarthrphyakrthimikhunkhamakthisudinxngkhkr nnkhuxbukhkhlthithanganthngkrnithithanganrwmknaelakrnithithangankhnediywephuxbrrluepahmayinkarprakxbthurkicid klyuththinkarcdkarthrphyakrmnusynncaepliynaeplngxyangrwderwiptamewlaaelasthankarn cungtxngmikarphthnaaelaprbprungtlxdewla dwyehtuniinthurkichlakhlaypraephthaelakhnadcungmiaephnkhruxhnwynganthithahnathiinkarcdkarthrphyakrmnusyodyechphaa sungkhnadkhxngaephnkhruxhnwyngannn camaknxykkhunxyukbkhnadkhxngthurkicexngrwmthungkhwamsakhykhxngthrphyakrmnusydwywasakhyyingywdmaknxyephiyngid karcdkarthrphyakrmnusythuxepnthngthvsdiinechingwichakaraelaaebbptibtiinthurkicthisuksawithikarbriharthnginphakhthvsdiaelaptibtiaenwkhidpccubnkarbriharcdkaraelabriharthrphyakrmnusymisakhyephimmakkhuneruxy txxngkhkrtang thnginphakhthurkic hruxaemkrathnginhnwynganphakhrachkarexng ephraaimwaxngkhkrcaprbprungepliynaeplngipinthangid yxmtxngekiywkhxngkbtwbukhkhlthngsin cungxacklawidwa twchiwdkhwamsaercxyangyngyunkhxngxngkhkrnnxyuthi khunphaphkhxngkhn inxngkhkrnn kxnthixngkhkrtang caerimehnkhwamsakhykhxngkarcdkarthrphyakrmnusynn bukhkhlekhythukmxngehnwaepnephiyngaekhpccykarphlit hruxihkhwamsakhyepnaekhaerngnganhruxkalngkhn aetinpccubn bukhkhlidrbkarniyamihmphthnakhwamsakhyepn thrphyakrmnusy swnaephnkhnwynganthirbphidchxbekiywkbbukhkhlinxngkhkrkkalngepliynbthbathcak nganbriharbukhkhlaelathurkar ipepn karcdkarthrphyakrmnusyechingklyuthth sungepliyncakkarcdkarechphaahna ipepnkarichklyuththekharukxyangetmtwaelatxenuxngipinrayayaw praktkarnkarepliynaeplngthiekidkhunni aephrhlayxyangmakin sakhakarcdkarthrphyakrmnusyphakhptibti HR Practice xyangirktameruxngrawtang ehlaniyxmmithankhwamkhidthangwichakarekuxhnunxyuebuxnghlng karcaekhaiceruxngehlanixyangthxngaeth cungcaepntxngekhaichlkthangkhwamkhiddwy cakkarthbthwnexksarthangwichathiekiywkhxng kbkarbriharcdkarthrphyakrmnusyinebuxngtn phbwamikarphthnatwaebb ekiywkberuxngnicaknkkhidnkwicyin 2 klumpraethssakhy khux klumnkkhidinpraethsshrthxemrika aelaklumnkkhidinshrachxanackr odysamarthcaaenkklumthangkhwamkhididdngni klumnkkhidinshrthxemrika sahrbklumnimitwaebbkarcdkarthrphyakrmnusythisakhycak 2 khux twaebbkarbriharcdkarthrphyakrmnusyklumharward The Harvard model hruxeriykwaklumaenwkhidaebb echingphthnakar Developmental humanism epnaenwkhidkraaeshlkthithrngxiththiphlaelaaephrhlaythisud mirakthanthangkhwamkhidmacaksankkhid mnusysmphnth sungmicudennthangkhwamkhidxyuthieruxngkhxngkarsuxsarinxngkhkar karsrang aelakarichkhwamsamarthkhxngaetlabukhkhl ihekidsungsud klawodysrupsahrbaenwkhidkhxngsankniaelw karbriharcdkarthrphyakrmnusycaihkhwamsakhykberuxngkhxngkarsrangsmphnthphaphkhxngkhninxngkhkr ephraakarthicathaihxngkhkrmiphlprakxbkarthidikhun xngkhkrcatxngsamarthtxbsnxngkhwamtxngkar khxngbukhlakrinxngkhkrihehmaasm aelaemuxbukhlakridrbkartxbsnxngthidi kcaekidaerngcungicifsmvththithaihxngkhkarekidphawaxyudimisukhthangsngkhmkhunphayinxngkhkar xncanaipsukhunphaphaelaprimannganthidikhun twaebbkarbriharcdkarthrphyakrmnusysankmichiaekn The Michigan School hruxeriykxiknamhnungwaepnaenwkhidaebb Managerialism klawkhux epnklumthienneruxngkhxng karbriharcdkarechingklyuthth thimxngkarcdkarthrphyakrmnusy cakmummxngkhxngfaycdkar thrrmchatikhxngfaycdkarkhux karihkhwamsakhyxndbaerkthiphlpraoychntxbaethnthixngkhkrcaidrb odythieruxngkhxngkhn aelakarbriharcdkarkhnepnekhruxngmux inkarthicathaihbrrlusuepahmayechnnnkhxngxngkhkar dngnncungmiphueriykaenwkhidkarbriharcdkar thrphyakrmnusykhxngsankkhidniwa epnphwk Utilitarian instrumentalism khuxmxngphlpraoychnhruxphlprakxbkarkhxngxngkhkrepnhlk odymikarbriharcdkarthrphyakrmnusyepnkliksakhy inkarkhbekhluxnxngkhkrihipsuphlprakxbkarthiepnelisklumnkkhidinshrachxanackr sahrbaewdwngwichakardankarbriharcdkarthrphyakrmnusykhxngshrachxanackrkkhlay kbsankkhidkhxngshrthxemrika khux mikarnaesnxaenwkhidkhxng 2 klumkhwamkhidthimicudyaennthiaetktangknrahwang klumxxn kb klumaekhng klawkhux sahrbklumthimimummxngaebbxxn soft khux klumnkkhidthithumnahnkkhwamsakhyipthi khnmakkwakarbriharcdkar odyechuxwabukhlakrthukkhnepnthrphyakrthimikhunkhaxyuintnexng dngnnaenwthangkhxngklumkhwamkhidni cungmxngkarbriharcdkarthrphyakrmnusywa caepnwithikarhnungthicatxngchwypldplxyphlngskyphaphthngmwlkhxngthrphyakrmnusyxxkma karcdkarthrphyakrmnusyaenwni cungennineruxngkhxngkarsrangkhwamiwenuxechuxickn karhaaenwthangthicasrangkhwamrusukthungkar miphnthkicphukphn commitment ekiywkhxng involvement aelakarmiswnrwm participation ihekidkhuninhmumwlphnkngan sahrbklumthimimummxngaebbaekhng hard kkhux klumnkkhidthithumnahnkkhwamsakhyipthieruxngkhxng karbriharcdkarmakkwaeruxngkhxngkhn dngnnaenwthangkhxngklumkhwamkhidni cungmxngkarbriharcdkarthrphyakrmnusywa epnpharangandanhnungthixngkhkrcasamarthephimphunphltxbaethnthangesrsthkicihidmakthisudcakkarichthrphyakrbukhkhlihekidpraoychnsungsud aenwthangthisakhyxyanghnungthicathaihkarbriharcdkarxngkhkarihekidprasiththiphaphkkhux txngmikar integrate eruxngkhxngkarbriharcdkarthrphyakrmnusyekhakbklyuthththangthurkickhxngxngkhkrmitikhxngkarcdkarthrphyakrmnusy karcdkarthrphyakrmnusyimwacaepnklum xxn thiichprchyaaebb mnusyniymechingphthna hruxklum aekhng thimiprchyaaebb briharcdkarniym miphusrupaenwonmkhxngkarbriharcdkarthrphyakrmnusyiw aeminthangkhwamkhidcaepnaenwkhidthitangklumtangsank aetinthisudaelwinthangptibtithng 2 aenwkhidnicatxngthukbriharcdkarhruxburnakarekhadwykn odymi 4 mitimummxngthicachwyyudoyngkbkarbriharcdkarthrphyakrmnusymakyingkhun idaek karkahndnoybaydankarbriharthrphyakrbukhkhlkhxngxngkhkrcatxngburnakarxyangepnrabbmakkhun thnginaengkhxngkarburnakarknexngkhxngnganyxydankarbriharcdkarthrphyakrbukhkhlphayinxngkhkr aelakarburnakarnoybaydankarbriharthrphyakrbukhkhlekhakbaephnnoybayaelayuththsastrkhxngxngkhkr khwamrbphidchxbindankarbriharthrphyakrbukhkhlkhxngxngkhkarcaimidxyukbphubrihardanthrphyakrbukhkhlxiktxip aetcathukkahndih epneruxngthiphubriharsayngandantang catxngrbphidchxb eruxngkhxngaerngngansmphnth thiekhyepnkarephchiyhnarahwangphubriharkbshphaphaerngngan caepliynipepneruxngphnkngansmphnth thaihaenwkhidkarbriharcdkarkhninxngkhkarepliyncakaebb collectivism ipepn individualism aenwkhideruxngkhxngkarsrangkhwammiphnthkicphukphn karthaihphnknganrusukepnswnhnungkhxngxngkhkr karkhidsrangsrrkhaelaeriynrurwmknepnthim thaihphubriharcatxngprbepliynipsubthbathphunainrupaebbihm echn epnphuexuxxanwy ephimbthbathxanac aela srangkhidkhwamsamarthihkbbukhlakrkhwamsakhyinaengcudprasngkhkhxngkarcdkarthrphyakrmnusynnmipraednthinasnicwa karthicaekhaicincudprasngkhkhxngkarbriharcdkarthrphyakrmnusyid catxngekhaicthungepaprasngkhkhxngxngkhkresiykxn hakklawinechingakxacklawidwakarbriharcdkarthrphyakrmnusyimidepnsingthi absolute intwmnexng aetthwaepnsingthicatxng relative ipkbnnkhux noybaykarbriharcdkarxngkhkr klawngay kkhux epaprasngkhkhxngxngkhkrcaepntwkahndepaprasngkhkhxngkarbriharcdkarthrphyakrmnusy inthangthurkicxngkhkrexkchnaebbcaritdngedimmkcamiepahmayihy sakhy 3 prakar khux prakarthi 1 epahmaykhxngkarthicatxngsrangkhwammnicwaxngkhkrcaxyurxdidphrxmipkbkhwamsamarththicamikairinkarprakxbthurkicidxyangephiyngphx sungcaekiywoyngipthungbrrdaphuthuxhun hruxthangthurkicthicarksakhwamepnhunswniwhruxim prakarthi 2 xngkhkrexkchnxaccatxngaeswngharupaebbkhxngkarmikhwamidepriybinkaraekhngkhnxyangyngyun ephuxthicathaihxngkhkrxyurxdaelamikairthitxenuxng xyangirktaminolkyukhsmyihmthimnusy aelasngkhmidphanwiwthnakaraelakarphthnathangkhwamkhidaelawithikardarngchiwitmathungcudhnung thaihyngmisingthixngkhkrphungtxngphicarnaihkhwamsakhyephimetim odyechphaaxyangyinginesrsthkicsngkhmyukhpccubn thiekidphlwtphlkdnsngkhmihkawsukarepnrabbesrsthkicsngkhmbnthankhwamru prakarthi 3 karprakxbthurkicnnmiichcamungmxngaeteruxngphlkair aelakhwamxyurxdthangthurkic tamaenwkhidaebbcaritdngedimidxiktxip sahrbkraaesniyminpccubnmiaenwonmthicaeriykrxngihekidaenwkhidthiwa kardarngxyukhxngxngkhkrkcatxngihkhwamisickbphlkrathbthitnexngcakxihekidkhunkbsngkhmodyrwmdwy dngnnxngkhkrthurkicexkchncatxngmiepahmayeruxngkhwamchxbthrrmthangsngkhmkhxngxngkhkrdwy emuxxngkhkrthurkicexkchnmiepaprasngkh 3 prakarkhangtn idaek karxyurxddwyphlkairthiephiyngphx karmikhidkhwamsamarthinkaraekhngkhnxyangyngyun aelakarmikhwamchxbthrrmthangsngkhm epaprasngkhehlaniyxmsngphltxepaprasngkhkhxngkarbriharcdkarthrphyakrmnusy sungxaccasamarthaeplngepaprasngkhihyradbxngkhkrmasuepaprasngkhyxyinradbkarcdkarthrphyakrmnusy sungcasamarthchwyiheraehnphaphepaprasngkhkhxngkarbriharcdkarthrphyakrmnusyiddngni inaengkhxngkarthicatxngsrangkhwammnicwaxngkhkrcasamarthxyurxdidphrxmipkbkhwamsamarththicamikairinkarprakxbthurkicidxyangephiyngphxnn karbriharcdkarthrphyakrmnusycatxngkahndepaprasngkhinaengkhxngkarsrangdanaerngnganihekidkhunphayinxngkhkr nnyxmhmaythungkarbriharcdkarthrphyakrmnusycatxngthaihxngkhkrekidkhwamkhumkhainkarlngthunthiekiywkbthrphyakrbukhkhlinxngkhkr inaengkhxngkarthixngkhkrprasngkhthicamikhwamidepriybinkaraekhngkhnxyangyngyun karbriharcdkarthrphyakrmnusykkhngcatxngkahndepaprasngkhinaengkhxngkarthicathaihxngkhkrphrxmrbkbkarepliynaeplng dngnnkarthaihxngkhkrmikhwamyudhyunphrxmrbkbkarepliynaeplngaelakaraekhngkhnxyangyngyuncungepnepaprasngkhthisakhyxikprakarkhxngngandankarbriharcdkarthrphyakrmnusy inaengkhxngkarthixngkhkrprasngkhthicamikhwamchxbthrrmthangsngkhm kthuxepnpharahnathisakhykhxngkarbriharcdkarthrphyakrmnusythicatxngmiepahmaythimungennkarsrangkhwamrusukihxngkhkrihmiodyechphaaxyangyingkhwamrbphidchxbtxbukhlakrphayinxngkhkr aelaphlkrathbcakkarbriharthrphyakrbukhkhlkhxngbristh thicaipmiphltxsngkhmphaynxk sungtxmaidkhyayniyamkhwamrbphidchxb xxkipsukhwamrbphidchxbtxsngkhm singaewdlxm aelaphumiswnekiywkhxngkbklumtangxangxingsmbti kusumawli briharcdkarthrphyakrmnusy ipephuxxair okhrngkarbnthitsuksa karphthnathrphyakrmnusy sthabnbnthitphthnbriharsastr prachachatithurkic wnthi 16 thnwakhm 2547 pithi 28 chbbthi 3645 hna 6 khwamhmaykhxngkarbriharthrphyakrmnusy WRITER Technology Promotion Association subkhnemux 20 thnwakhm 2017